1 รายงานการประเมินตนเอง SELF ASSESSMENT REPORT: SAR โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 สงั กดั เทศบาล เทศบาลนครนนทบุรี กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย
ก คำนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีได้แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 9 (3) ได้กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาที่ยึดหลักที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ มี การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษา และจัดระบบประกนั คุณภาพการศึกษาทดุ ระดับและประเภทการศึกษาโดยมาตรา 31 ให้กระทรวงมีอำนาจห้าท่ีกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐาน การศึกษา และมาตรา 48 ให้หนว่ ยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดใหม้ ีระบบประกันคณุ ภาพในสถานศึกษา และ ให้ถือว่าการประดับคณุ ภาพภายในเป็นสว่ นหนึง่ ของการบริหารการศึกษาท่ตี ้องดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยมีการ จัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่ การพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา เพอื่ รองรับการประกันคณุ ภาพทง้ั ภายในและภายนอก ดังน้ัน การจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการ ดำเนนิ งานในรอบปีการศึกษาของสถานศึกษาในการเขียนรายงานต้องสะทอ้ นให้เห็นภาพความสำเรจ็ ทเ่ี กิดข้นึ ตาม บริบทของโรงเรียนตามมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 จึงได้ดำเนินการตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อท่ีจะได้นำผลการประเมินมาใช้ในการพิจารณา แกไ้ ข ปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนใหม้ คี ุณภาพต่อไป โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖
สารบัญ ข เร่ือง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทสรปุ ผบู้ ริหาร ค สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพ ๑ ตอนที่ ๑ข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา 2 2 ขอ้ มลู ท่ัวไป 3 ข้อมลู ผบู้ ริหาร 3 ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 8 ข้อมูลนักเรยี น 24 ข้อมลู อาคารสถานท่ี 24 ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม 25 โครงสร้างหลักสตู ร 26 แหลง่ เรยี นรแู้ ละภูมิปญั ญา 27 ผลงานดเี ด่นในรอบปีท่ผี า่ นมา 36 งานโครงการกิจกรรมที่ประสบผลสำเรจ็ 37 ผลการประเมินในปที ่ผี ่านมา 39 ผลการประเมินภายนอกรอบสาม 43 ตอนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 52 ตอนที่ ๓ แบบรายงาน วิธหี รอื แนวทางปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศของสถานศึกษา ภาคผนวก
ค บทสรปุ ผบู้ ริหาร โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๗/๑ ซอยสามัคคี ๕๘ ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี สังกัดเทศบาลนครนนทบุรี อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เปิดสอนต้งั แต่ระดับมธั ยม ศึกษาตอนต้น ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๑๒ ห้องเรยี น มบี ุคลากรสายบรหิ าร จำนวน 1 คน ข้าราชการครู จำนวน 11 คน ครูอัตราจ้าง จำนวน 16 คนและบุคลากรฝาสยสนับสนุน จำนวน 11 คน ได้การดำเนินงานการจัด การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและมีผลการดำเนินงานท่ารุป ได้ ดงั น้ี 1. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ผลการประเมินระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มาตตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน มีคุณภาพ อยใู่ นระดับดี มาตตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารการจดั การ มีคณุ ภาพ อยูใ่ นระดบั ดี มาตตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีเลิศ 2. ผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา 6 ไดจ้ ดั การศึกษาและจัดการเรียนการสอนใหเ้ ป็นไปตาม ศักยภาพของผู้เรยี น ตรงตามมาตรฐานเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัด หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ในดา้ น ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร สามารถ อ่านออกและ อ่านคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับช้ัน สามารถเขียนสื่อสารได้ดี ใช้เทคโนโลยีและสร้าง นวัตกรรมได้ มีความภูมใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย รู้จกั การวางแผนสามารถทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้ดีตามหลกั ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหา ความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้วา่ ส่งิ ไหนดี สำคญั จำเป็น รวมท้ังรู้เท่าทนั ส่ือ และสงั คมทเ่ี ปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ สถานศึกษาบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้ทรัพยากร และงบประมาณที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษาท้ังด้านงานวิชาการ งานบริหาร งานพัฒนาการกฬี า และงานกิจการนักเรยี น อนั มีผลสง่ ต่อให้คุณภาพ การเรียนรู้ของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษามีประสิทธิภาพ เป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดเน้น อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษากำหนด ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพตรงตาม มาตรฐานวิชาชีพ สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระวิชา มีระบบ การบรกิ ารสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสม ปลอดภยั และเป็นประโยชนก์ บั ผ้เู รียน สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มกี ารใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบการ ประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้วิธีการวัดและประเมินผลทีเ่ หมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการ เรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน นำผลมาพัฒนาผู้เรียน และมีชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพระหว่างครู มีการ แลกเปลย่ี นเรยี นรซู้ ่ึงกนั และกัน เพอ่ื นำมาปรับปรุงและพฒั นาการเรยี นการจดั การเรียนรู้ให้ดยี ิ่งขนึ้ ต่อไป
ง ๓. จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพฒั นาและแผนการพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สงู ขน้ึ ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน จดุ เดน่ มาตตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 ดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยการวางแผนอย่างเป็นระบบ โดย ค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีที่หลากหลายและหาแนวทางการแก้ปัญหาเพ่ือบรรลุเป้าหมายที่กำหนดแล้ว ดำเนินการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม ตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ครูและบุคลากร ทางการศึกษามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำในทุกข้ันตอนของการดำเนินงาน จึงส่งผลให้เป้าหมายที่โรงเรียนก าหนด เป็นไปตามเป้าหมายหรือใกล้เคียงเป้าหมายได้มาก ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีจิต สาธารณะ ในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม มีทักษะการทำงาน มีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร อ่านหนังสือออกและ อ่านคล่อง รวมท้ังสามารถเขียนเพื่อการส่ือสารได้ทุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พัฒนาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงข้ึน ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ คา่ นิยม ๑๒ ประการ ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิด และมีความสามารถด้าน โครงงานรายวชิ าทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ผู้เรียนมีความรู้ตามหลักสูตร ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรม สง่ เสริมการเรียนรู้ตาม ความสามารถและความแตกต่างอย่างหลากหลาย มีกิจกรรมชมรมที่หลากหลายตามความ สนใจของ ผเู้ รียน และตามความถนัด จนสามารถสร้างงานสร้างอาชีพให้กบั ผเู้ รยี นได้ มาตตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารการจัดการ เปน็ สถานศึกษาท่ใี ช้การบรหิ ารงานแบบมสี ่วนร่วม มีการบรหิ ารจัดการที่เป็นระบบทา่ มกลางข้อจำกัดของ สถานที่ มีการวางแผน การดำเนินงาน การติดตามตรวจสอบ และมีการพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้การดำเนินการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต้นสังกัด คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ้ปู กครอง และผู้เรียนในการดำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ อย่างสมำ่ เสมอ มีโครงสร้างการบริหารงานและแบง่ หน้าทคี่ วาม รบั ผดิ ชอบท่ชี ัดเจน มกี ารจดั สรรงบประมาณท่เี พยี งพอต่อความต้องการของสถานศึกษา มาตตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้สอนมีความมุ่งมั่น พยายาม อดทน เสียสละ ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และผู้เรียนนมีความมุ่งม่ัน พยายาม มานะ อดทน และรับผิดชอบต่อการเรียน และการดำเนินชีวิตในโรงเรียน เนื่องจากโรงเรียนมีลักษณะ เป็นโรงเรียนประจำ ผู้เรียนต้องช่วยเหลือตนเอง ต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเองในการจัดสรรเวลาท้ังการเรียน และการฝกึ ซอ้ มกีฬา จากความมุง่ มนั่ พยายาม ของท้ังผู้สอนและผูเ้ รยี น ทำให้ประสบความสำเรจ็ มีชือ่ เสียงเป็นท่ี ประจักษ์ ท้ังทางด้านวชิ าการ และกีฬาผสู้ อนจัดกจิ กรรมให้นักเรียนแสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยีอยา่ งต่อเน่ือง ผู้สอนจดั กิจกรรมดว้ ยวิธีการที่หลากหลายให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้โดยการคดิ ไดป้ ฏิบัติจริง จุดทค่ี วรพฒั นา มาตตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น โรงเรียนควรจัดสรรแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียนควรมีการเขียนรายงานการใช้ด้วย โดยการมีส่วนร่วมและ พฒั นา ใหเ้ ปน็ ทพ่ี อใจ มีแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ทำบญั ชีแหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรยี นเพ่ือให้มรี ่องรอย หลกั ฐาน การใช้ เช่น นักเรียนในโรงเรียนมีทั้งหมดเท่าไหร่ มีการใช้แหล่งข้อมูลจำนวนเท่าไหร่ แต่ละปี เปรียบเทียบให้มี ระดับสงู ขึ้นทุกปแี ละการประเมินความสามารถในการอ่านและรกั การอ่านของ นกั เรียนควรมีหนังสืออ่านนอกเวลา เพม่ิ เติม จัดกิจกรรมโครงการรกั ษ์การอ่าน และมีบนั ทกึ การอ่าน ของนักเรียนโรงเรียนควรมกี ารส่งเสริมและจัดเวที
จ ให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้จากห้องเรียนสู่การปฏิบัติให้มากข้ึน เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการคิด การ แก้ปัญหาให้มากข้ึน สามารถสร้างองค์ความรู้สู่การนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาให้นักเรียนมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การ ส่ือสาร การทำงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม การจัดกิจกรรมทม่ี ุง่ เนน้ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ยงั ขาดการปฏบิ ัติ ที่ต่อเน่ือง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธ์ิแต่ละกลุ่มสาระประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้อง ได้รับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมแี นวโน้มเปล่ยี นแปลงพัฒนาขึน้ โดยรวม แตไ่ ม่ผ่านเกณฑ์ ในบางกลุม่ สาระการเรียนรู้ จงึ ตอ้ งม่งุ เน้นพฒั นาต่อไป จดั กิจกรรมด้านการอ่าน การเขยี น คำนวณให้กับนักเรียนเรียนร่วม เปรยี บเทียบความก้าวหน้าและการพัฒนาของ นักเรียนเป็นรายบคุ คล มาตตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารการจดั การ จำนวน อาคารเรียน อาคารท่ีพักนักกีฬา ห้องปฏิบัติการต่างๆ ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาผู้เรียนเท่าที่ควร การเสริมสร้างแรงจูงใจ/ผลตอบแทนที่ควรได้รับของบุคลากรครูด้านการกีฬา ให้ปฏิบัติงานหรือปฏิบัติหน้าที่ให้ เต็มท่ี เต็มความรู้และเต็มความสามารถ มุ่งสู่ผลสัมฤทธ์ิด้านกีฬาสูงสุดท่ีเหมาะสมกับโรงเรียนสร้างนักกีฬา ส่ือ เทคโนโลยี ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบอินเตอรเ์ น็ต ท่ีมีคุณภาพและเพียงพอ มาตตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรจัดหาส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอน เพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน เพราะผ้เู รยี นไปทำการแขง่ ขันบอ่ ยครัง้ ทำใหบ้ างคนเรียนไม่ทัน แผนการพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานพฒั นาให้สูงขนึ้ 1. การส่งเสริมและพัฒนาทางดา้ นวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและผลการทดสอบต่างๆ ใหส้ งู ขึน้ 2. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู นักเรียนเพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน และระบบฐานขอ้ มลู สถานศกึ ษาให้ได้มาตรฐานและครอบคลมุ 3. แผนพฒั นาอัตรากำลงั ท่ีเพียงพอกบั การขยายตวั ของสถานศึกษา 4. สถานศึกษาควรมีสถานที่ท่ีสามารถทักษะด้านกีฬาที่ดี เพียงพอต่อความต้องการที่มีมากขึ้น เช่น แผนการสร้างโรงเรียนกีฬานครนนท์วทิ ยา 6 แห่งใหม่ ท่ีเพียบพรอ้ ม และครบวงจร ท้ังอาคารเรียน อาคารท่ี พกั สนามฝึกซ้อม ทกุ ชนิดกีฬา ทศิ ทาง/แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑ . ส่งเสริมและพัฒนาทางด้านวิชาการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการทดสอบต่างๆให้ สงู ขน้ึ ๒. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู นักเรียน เพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน และ ระบบฐานขอ้ มลู สถานศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐานและครอบคลมุ ๓. พัฒนาอตั รากำลงั ทเ่ี พียงพอกบั การขยายตัวของสถานศกึ ษา ๔. พัฒนาแหลง่ เรยี นรูใ้ นสถานศึกษา เช่น อาคารเรียน สนามฝึกซ้อมกีฬา อาคารท่ีพกั แหลง่ เรยี นรู้อ่ืนๆ ให้เหมาะสมตอ่ การจัดการเรียนรู้ การฝกึ ซ้อมกีฬา ปลอดภัยและมีความเหมาะสมต่อการทำกิจกรรมของนกั เรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 1 สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ตามท่ีโรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปี การศึกษา ๒๕๖4 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดย จัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและเสนอต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ การประเมิน คุณภาพภายนอก บัดน้ีการ ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรียบร้อยแล้วจึงขอเสนอผลการ ประเมินคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา แสดงในตารางสรุปผลได้ดงั นี้ ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดีเลิศ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 2 ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4 สว่ นที่ ๑ ขอ้ มลู พนื้ ฐาน ๑. ข้อมูลทัว่ ไป โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ ตง้ั อยู่เลขท่ี ๑๗/๑ ซอยสามัคคี ๕๘ ตำบลทา่ ทราย อำเภอเมือง จังหวดั นนทบุรี รหัสไปรษณีย์ ๑๑๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๕๗๓๙๗๒๓ โทรสาร ๐๒-๕๗๓๙๗๒๓ สังกัดเทศบาล นครนนทบุรี อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เปิดสอนต้ังแต่ระดับมัธยม ศึกษาตอนต้นถึงระดับมัธยมศึกษาตอน ปลาย จำนวน ๑๒ ห้องเรียน โรงเรียนมีเนอ้ื ทีใ่ ชส้ อยประมาณ ๔,๑๐๐ ตารางเมตร ประวตั คิ วามเปน็ มาโรงเรียน ปี ๒๕๕๓ เทศบาลนครนนทบุรีได้เล็งเห็นถึงการพัฒนาเยาวชนให้เต็มตามศักยภาพจึงได้ริเร่ิมให้ มี โครงการกีฬาสู่ความเป็นเลิศ จัดให้มีการเก็บตัวฝึกซ้อมนักเรียนเพ่ือเป็นนักกีฬาตามโครงการตลอดท้ังปีโดย ความรับผิดชอบของศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ หลังจากโครงการประสบผลสำเร็จ มีชื่อเสียงจากกีฬา วอลเลย์บอลหญิง และฟุตซอล จำนวนนกั กีฬาก็ไดเ้ พิม่ มากข้ึน เทศบาลนครนนทบุรโี ดยนายสมนกึ ธนเดชากุล ได้อนุมัติ ให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นในปี ๒๕๕๔ โดยใช้พ้ืนท่ีของศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ๖ ช้ัน มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ ๔,๑๐๐ ตารางเมตร สร้างจากเงินงบประมาณทั้งส้ิน ๔๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ มี นกั เรียนทั้งสิ้น ๒๕๐ คน เปิดสอน ๗ ชนิดกีฬาได้แก่ ฟุตบอล ฟุตซอล วอลเลย์บอลชาย วอลเลย์บอลหญิง เซปักตะกร้อ เรือพายและ กรีฑา โรงเรียนจัดการเรียนการสอนในวิชาสามัญโดยส่งนักเรียนเข้าเรียนร่วมกับ โรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 วัดบางแพรกเหนือ และในปี ๒๕๕๖ โรงเรียนได้เปิดเพ่ิม กีฬาเปตอง อีกหน่ึงชนิด กีฬา แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 3 ๒. ข้อมูลผู้บรหิ าร 1) นายสมพล เที่ยงธรรม ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา 6 วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาโท สาขาบริหารการศึกษา ตั้งแตว่ ันที่ 7 มกราคม 2564 จนถึงปัจจบุ นั 2) นางสาวประนัดดา วนวาล ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียนนครนนท์วิทยา ๔ วัดบางแพรก เหนือ วุฒิการศึกษาสูงสุดปริญญาโท สาขาบริหารการศึกษา ช่วยปฎิบัติการในตำแหน่งรองผู้อำนวยการ โรงเรยี นกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ ตั้งแตว่ ันท่ี 7 มกราคม พ.ศ.๒๕64 จนถึง 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 ๓. ขอ้ มูลครูและบุคลากรสนับสนุนการสอน ๓.๑ ขา้ ราชการครู/พนกั งานครู ตำแหน่ ภาระ จำนวน งาน ครั้งและ ที่ ชอื่ – ช่อื สกลุ อายุ อายุ ง/ วฒุ ิ วิชาเอก สอนกลุม่ สาระ สอน ชั่วโมง ท่ี ราชการ วทิ ย การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง / เข้า ฐานะ สัปดาห์ รับการ ) พฒั นา/ปี 1 นางปิยะอนงค์ นศิ าวฒั นานนั ท์ ๔9 17 ปี คศ.๓ กศ.ม. การมธั ยมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ 20 60 ชม. 2 วา่ ที่รอ้ ยตรธี นกฤต อินเลีย้ ง 43 15 ปี คศ.2 วทบ. วทิ ยาศาสตร์ สขุ ศกึ ษาและพล ๑6 ศกึ ษา 3 น.ส.กษมา ขนั ทอง 58 7 ปี คศ.๑ คบ. พลศึกษา สุขศกึ ษาและพล 6 ศกึ ษา 4 น.ส.อมั พร พินวงษ์ ๔4 ๑6 ปี คศ.๒ คม. การบริหาร คณิตศาสตร์ 20 20 ชม. สุวรรณ การศกึ ษา 5 น.ส.ศศมพรรณ มยาเศส ๔4 4 ปี คศ.๑ ศศ.ม การจัดการ วิทยาศาสตร์ ๑8 23 ชม. โครงการ 6 นางสิรกิ ร มณโี ชติ 42 4 ปี คศ.๑ ศศ.บ ภาษาอังกฤษ ภาษาตา่ งประเทศ 18 23 ชม. 7 น.ส.กัญญาณี แสนตรี 31 4 ปี คศ.๑ กศ.บ เทคโนโลยีและ วิทยาศาตร์และ 21 40 ชม. สอื่ สาร เทคโนโลยีและการงาน อาชพี การศกึ ษา 8 นายพงศกร พันธ์เุ จรญิ ๒7 4 ปี คศ.๑ กศ.บ สุขศกึ ษาและ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 21 20 ชม. พล 9 นายปฐวี เลก็ เปยี ๒9 4 ปี คศ.๑ กศ.บ พลศกึ ษา สุขศึกษาและพลศึกษา 17 20 ชม. 1๐ นายฐติ ิกร ทพิ ย์สุวรรณ 26 2 ปี คศ.๑ คบ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ 19 20 ชม. 1๑ นายนฤมิต สทิ ธศิ กั ดิ์ 29 1 ปี ครผู ู้ช่วย วท.บ. ภมู ิศาสตร์และ สงั คมศกึ ษา 18 78 ชม. ภมู ิสารสนเทศ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 4 ๓.๒ พนกั งานจ้าง(ปฏบิ ัติหน้าท่สี อน) จำนวน อายุ สอนกล่มุ สาระ จ้างด้วย ภาระ ชั่วโมง งาน การเรียนรู้ เงนิ ท่ี ชอื่ – ชื่อสกลุ อายุ วฒุ ิ สาขาวชิ า งานสอน ที่เขา้ (ช่วั โมง/ รบั การ สัปดาห์) พฒั นา/ ปี ๑ นายกฤตเิ ดช อาวิชัย 42 ๑๐ กศ.บ. พลศึกษา สุขศกึ ษาและ เงินรายได้ ๑8 - ปี พลศึกษา อปท. ๒ นายประสทิ ธ์ นพรตั น์ 43 ๙ ปี วท.บ. วทิ ยาศาสตร์ สุขศึกษาและ เงินรายได้ 21 - การกีฬา พลศกึ ษา อปท. ๓ นายชนนั ท์ สวุ รรณปราโมทย์ 54 10 คศ.บ. วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เงนิ รายได้ ๑3 - ปี ท่ัวไป อปท. 4 น.ส.จินตนา ปลื้มเนตร 43 ๙ ปี คศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย เงนิ รายได้ ๑6 - อปท. 5 น.ส.พรทิพย์ มผี ิว 40 9 ปี นศ.บ นิเทศศาสตร์ สขุ ศึกษาและ เงินรายได้ ๑6 - . พลศึกษา อปท. 6 น.ส.สาคร แผนสูง ๔6 8 ปี คบ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เงินรายได้ 18 - อปท. 7 นายชัยวุฒิ วงษ์จนั ทร์ ๓6 8 ปี ศศ.บ. รฐั ประศาสน สงั คมศึกษา เงินรายได้ ๑7 - ศาสตร์ อปท. 8 นายชรินทร์ โยธาทลู ๔9 ๑๐ คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย เงนิ รายได้ 12 48 ปี อปท. 9 น.ส.หยาดนภา ทากลม 31 5 ปี คบ. ฟิสิกส์ วทิ ยาศาสตร์ เงินรายได้ 20 - อปท. ๑๐ นายกฤษกร บตุ รวงั 31 ๕ ปี ศษ.บ พลศกึ ษา สขุ ศึกษาและ เงนิ รายได้ 15 - พลศึกษา อปท. 11 น.ส.พนิดา น้อยจนั ทร์ 27 ๓ ปี คบ. ภาษา ภาษาตา่ ง เงนิ รายได้ 18 16 องั กฤษ ประเทศ อปท. 12 น.ส.เปย่ี มกมล พว่ งกลนั่ 26 ๓ ปี คบ. ครศุ าสตร์ ศลิ ปะ เงนิ รายได้ 17 - ออกแบบ อปท. 13 นายอดิศักด์ิ มาตเสนา 27 ๓ ปี ศษ.บ พลศกึ ษา สุขศกึ ษาและ เงินรายได้ 18 12 . พลศกึ ษา อปท. 14 นายชาลี อนิ มอญ 27 3 กศ.บ พลศกึ ษา สขุ ศึกษาและ เงินรายได้ 10 - เดือน พลศกึ ษา อปท. 15 นางสาวหนงึ่ ธดิ า ชิดชม 27 3 คบ. ชวี วิทยา วทิ ยาศาสตร์ เงนิ รายได้ 17 - เดอื น อปท. 16 นายธนาธิป เซียะเซ้ง 26 3 คบ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เงินรายได้ 18 - เดอื น อปท.
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 5 ๓.๓ พนักงานจา้ ง/ลกู จา้ ง (สนบั สนุนการสอน) ท่ี ชื่อ – ช่ือสกุล อายุ ตำแหนง่ วุฒิ สาขา ปฏิบัติ จา้ งดว้ ย หน้าที่ เงนิ ๑ นายมธุรธาดา หมดั วานิช 43 พนักงานจา้ งตามภารกิจ ปวส. บัญชี งบประมาณ อดุ หนนุ ๒ นางสาวนันทวรรณ ฉมิ พฒั น์ ๓9 พนกั งานจ้างตามภารกิจ ปวช. บัญชี งบประมาณ อดุ หนนุ 3 นางสาวสวุ มิ ล ภสู ามาต 25 พนักงานจา้ งตามภารกจิ ป.ตรี การ งบประมาณ อดุ หนุน จัดการ ทรพั ยา กรมนุษย์ ๓.๔ สรุปจำนวนบุคลากร ประเภท/ตำแหน่ง ตำ่ กว่า จำนวนบคุ ลากร (คน) ปรญิ ญาเอก รวม ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ๑. ผ้บู ริหารสถานศึกษา ๑ - ผูอ้ ำนวยการ ๒ ๑ 1 - รองผู้อำนวยการ 8 1 ๑1 รวม 10 83 ๑6 10 ๑2 4 ๒7 ๒.ครูผู้สอน 20 7 3 - ข้าราชการ/พนักงานครู 1 8 - พนกั งานจา้ ง(สอน) - อ่นื ๆ (ระบ)ุ 1 11 รวม ๒1 8 39 ๓.บุคลากรสนับสนนุ - พนักงานจ้างตามภารกจิ - พนักงานจา้ งทัว่ ไป - ลกู จ้างประจำ - อ่ืนๆ (ระบ)ุ รวม รวมทั้งสนิ้
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 6 แผนภูมแิ สดงจานวนร้อยละวฒุ ทิ างการศกึ ษาของบุคลากร ๒ .๕๑0% ๒๕.๖ ๕๓.๕ ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก แผนภูมแิ สดงจานวนรอ้ ยละของบคุ ลากรจาแนกตามประเภทตาแหน่งงาน ๒.๕๖ ๒๘.๒๑ ๖๙.๒๓ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สายงานการสอน สายงานสนบั สนุนการสอน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 7 ๓. จำนวนครจู ำแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน คดิ เปน็ ร้อยละ จำนวนชั่วโมงสอนเฉล่ีย ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ภาษาไทย ๒ 7.41 คณิตศาสตร์ 3 11.11 ของครูภายในกล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโลยี 5 18.52 ๑๘ ชั่วโมง สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนะธรรม 2 7.41 ๑๘ ชั่วโมง สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 9 ๓3.33 ๑๘ ชว่ั โมง ศิลปะ ๑ 3.70 ๑๘ ชัว่ โมง การงานอาชีพ ๒ 7.41 ๑๘ ชว่ั โมง ภาษาตา่ งประเทศ ๓ 11.11 ๑๘ ชั่วโมง รวมครผู สู้ อนทุกกลุม่ สาระ ๒7 ๑๐๐ ๑๘ ชว่ั โมง ๑๘ ชัว่ โมง แผนภูมแิ สดงจานวนครแู บง่ ตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 8 . ข้อมูลนกั เรียน (ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖4) ๔.๑ จำนวนนักเรยี นในโรงเรยี นทั้งส้นิ 424 คน จำแนกตามระดับชั้นท่ีเปดิ สอน ระดับช้นั เรยี น จำนวนหอ้ ง เพศ รวม จำนวนเฉล่ยี ชาย หญิง ตอ่ ห้อง ม.๑ 1 33 12 45 45 ม.๒ 1 28 20 48 48 ม.๓ ๒ 63 16 79 40 ม.๔ 3 67 27 96 32 ม.๕ 3 58 35 93 31 ม.๖ ๒ 40 23 63 32 รวมทั้งส้ิน ๑2 424 289 135 จำนวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรียน จำนวน..........-...........คน อัตราส่วนนกั เรยี น : ครรู ะดบั มธั ยมศกึ ษา = ……๑๕…….. : …๑..… √ เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตาม เกณฑ์ การเปรยี บเทยี บจานวนนกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖ 100 80 60 40 20 0 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 2562 2563 2564
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 9 การเปรยี บเทยี บจานวนนักเรยี นระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ - ๒๕๖ 120 100 80 60 40 20 0 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ 2562 2563 2564 ๕. ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดบั สถานศึกษา ๕.๑. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทกุ สาระการเรียนรู้ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.๑-ม.3) ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ภาคเรยี นที่ ๑ กลมุ่ สาระการ ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน เรยี นรู้ จำนวนนกั เรียนท่มี ผี ลการเรียนรู้ รายวชิ า นักเรียน รอ้ ยละของ จำนวน ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทไ่ี ด้ผลการ นักเรียนท่ี นักเรยี นท่ี เขา้ สอบ เรยี นเฉลี่ย ไดร้ ะดบั ๓ ระดบั ๓ ขึ้นไป ขน้ึ ไป ๑. ภาษาไทย 45 25 10 1 4 12 2 0 4 8.88 ๒. คณติ ศาสตร์ 45 19 13 2 4 40 2 ๓. วทิ ยาศาสตร์ 45 35 2 0 3 12 0 1 3 6.67 ๔. เทคโนโลยี 45 (วทิ ยาการคำนวน) 33 2 5 1 21 1 2 4 8.89 5. สงั คมศกึ ษา ฯ 45 6. ประวตั ิศาสตร์ 45 19 0 5 2 14 3 2 - 2 4.44 7. สขุ ศกึ ษาและ 45 3 13 6 11 3 5 4 พลศกึ ษา - 5 11.11 8. ศิลปะ 45 13 10 5 3 46 4 - 9 20.00 9. การงานอาชีพฯ 45 10. ภาษาอังกฤษ 45 22 6 1 3 32 3 - 10 22.22 11 16 3 6 17 0 20 2 1 4 51 5 5 10 22.22 1 8 17.78 7 13 28.89
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 10 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน จำนวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นรู้ นักเรยี น รอ้ ยละของ กลมุ่ สาระการ จำนวน ทไ่ี ด้ผลการ นกั เรียนท่ี เรยี นรู้ นักเรียนที่ 0 1 1.5 2 2.5 3 รายวชิ า เข้าสอบ 3.5 4 เรียนเฉลีย่ ไดร้ ะดบั ๓ ระดบั ๓ ขึ้นไป ขึ้นไป รวม ร้อยละ 11.ภาษาอังกฤษ 45 27 5 4 4 4 1 0 01 2.22 เพ่ิมเตมิ 30 38 84.44 12.กฬี าเพื่อความ 45 50 0 2 035 107 เป็นเลิศ 19.81 รวม(คน) ร้อยละ กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน เรยี นรู้ นักเรยี นท่ี จำนวนนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนรู้ รายวิชา เข้าสอบ นกั เรียน ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ท่ีไดผ้ ลการ นกั เรียนที่ เรียนเฉล่ยี ไดร้ ะดบั ๓ ๑. ภาษาไทย 47 24 8 0 1 121 ระดบั ๓ ขึ้นไป ๒. คณติ ศาสตร์ 47 11 10 5 3 553 ๓. วทิ ยาศาสตร์ 47 31 6 4321 - ขน้ึ ไป ๔. เทคโนโลยี 47 36 4 1 1 113 (วทิ ยาการคำนวน) 32 1 3 1 100 10 13 27.66 5. สังคมศึกษา ฯ 47 27 4 0 0 210 5 13 27.66 6. ประวตั ศิ าสตร์ 47 46 5 8 562 - 1 2.13 7. สขุ ศกึ ษาและ 47 38 2 2122 - พลศึกษา 12 5 1 15 3 9 1 - 4 8.51 8. ศิลปะ 47 24 3 4 2 032 9. การงานอาชีพฯ 47 99 19.15 47 28 5 0 7 212 13 14 29.79 10. ภาษาอังกฤษ 00 0 0 10 19 18 47 50 0 0 039 11 19 40.43 รวม 47 ร้อยละ 47 - 2 4.26 11.ภาษาอังกฤษ 1 11 23.40 เพมิ่ เตมิ 9 14 48.28 12.หน้าทพ่ี ลเมือง 13.กฬี าเพอ่ื ความ 25 10.64 เป็นเลิศ 0 37 รวม(คน) 30 42 78.72 รอ้ ยละ 89.36 184 30.11
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 11 กลุ่มสาระการ จำนวน ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน เรียนรู้ นักเรยี นที่ จำนวนนักเรยี นท่ีมผี ลการเรียนรู้ รายวชิ า เข้าสอบ นกั เรียน ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ท่ไี ด้ผลการ นักเรยี นท่ี เรยี นเฉลีย่ ไดร้ ะดับ ๓ ๑. ภาษาไทย 79 32 16 1 10 1 8 5 ระดบั ๓ ข้นึ ไป ๒. คณติ ศาสตร์ 79 28 19 7 8 553 ๓. วิทยาศาสตร์ 79 20 2 3 7 8 11 11 ขน้ึ ไป ๔. เทคโนโลยี 79 21 1 7 4 10 13 13 (วิทยาการคำนวน) 79 34 9 5 7 5 17 2 6 19 24.05 5. สงั คมศึกษา ฯ 79 35 6 8 7 973 4 12 15.19 6. ประวตั ิศาสตร์ 79 32 8 0 2 0 10 0 17 39 60.94 7. สขุ ศึกษาและ 79 58 4 1 1 233 พลศกึ ษา 79 41 9 4 2 135 10 36 57.14 8. ศลิ ปะ 79 31 3 5 5 14 6 9 9. การงานอาชพี ฯ - 19 24.05 10. ภาษาอังกฤษ 79 38 23 3 2 344 4 14 17.72 79 25 2 0 0 000 รวม 79 40 1 3 1 8 16 27 37 46.84 รอ้ ยละ 11.ภาษาองั กฤษ 7 13 16.46 เพิม่ เตมิ 14 22 42.31 12.หน้าทพ่ี ลเมอื ง 6 21 32.31 13.กีฬาเพ่ือความ เปน็ เลิศ 2 10 12.66 รวม(คน) 52 52 ร้อยละ 46 70 65.82 88.61 364 35.44 รอ้ ยละของนกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี ๑ ทไี่ ด้ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเฉลยี่ ระดบั 3 ข้นึ ไป 40 30.11 35.44 35 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 30 25 20 17.81 15 10 5 0 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 12 ๕.2. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ๘ กลุม่ สาระการเรียนรทู้ ุกสาระการเรยี นรูร้ ะดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย (ม.4-ม.6) ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ภาคเรียนท่ี ๑ กลุ่มสาระการ จำนวน ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน เรยี นรู้ นักเรยี นที่ จำนวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการเรยี นรู้ รายวชิ า เข้าสอบ นักเรยี น รอ้ ยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทีไ่ ดผ้ ลการ นักเรียนท่ี เรยี นเฉลยี่ ไดร้ ะดบั ๓ ๑. ภาษาไทย 96 36 15 1 13 5 11 7 ระดบั ๓ ขน้ึ ไป ๒. คณติ ศาสตร์ 96 44 8 5 4 448 ๓. วทิ ยาศาสตร์ 96 26 1 6 3 12 16 12 ขนึ้ ไป ชีวภาพ 96 49 3 3 6 8 5 10 8 26 27.08 ๔. เทคโนโลยี 36 5 4 7 4 9 15 19 31 32.29 (วทิ ยาการคำนวณ) 96 31 5 8 11 5 9 15 5. สงั คมศกึ ษา ฯ 96 47 4 6 3 553 20 48 50.00 6. ประวตั ศิ าสตร์ 96 49 12 3 5 673 7. สุขศกึ ษาและ 50 0 0 3 899 12 27 28.13 พลศกึ ษา 96 32 9 3 4 11 7 4 8. ศิลปะ 96 16 40 41.67 9. การงานอาชพี ฯ 96 43 7 4 5 12 7 7 12 36 37.50 10. ภาษาองั กฤษ 96 40 11 5 8 12 9 5 23 31 32.29 รวม 31 11 8 10 15 4 10 ร้อยละ 96 49 3 2 3 373 11 21 21.88 11. คณิตศาสตร์ 96 26 6 6 10 9 11 17 17 35 36.46 เพ่ิมเตมิ 96 11 0 0 0 255 26 37 38.54 12.ภาษาองั กฤษ 96 เพ่ิมเตมิ 96 11 25 26.04 13. ฟสิ ิกส์ 14. เคมี 6 20 20.83 15. ชีววิทยา 16.กีฬาเพอื่ ความ 7 21 21.88 เป็นเลิศ 26 36 37.50 รวม(คน) 11 39 40.63 รอ้ ยละ 73 83 86.46 556 36.20 กลุ่มสาระการ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน เรียนรู้ จำนวนนกั เรียนทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ รายวิชา นกั เรียน รอ้ ยละของ จำนวน ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทีไ่ ด้ผลการ นักเรยี นท่ี นกั เรียนที่ เข้าสอบ เรียนเฉล่ยี ไดร้ ะดับ ๓ ระดับ ๓ ขน้ึ ไป ขน้ึ ไป ๑. ภาษาไทย 93 27 8 4 11 7 6 10 20 36 38.71 ๒. คณติ ศาสตร์ 93 14 10 5 9 7 19 8 21 48 51.61 ๓. วิทยาศาสตร์กายภาพ 93 33 4 7 4 6 10 4 25 39 41.94
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 13 กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน รอ้ ยละของ เรียนรู้ นักเรียนที่ จำนวนนกั เรียนที่มผี ลการเรียนรู้ นักเรยี น นกั เรียนที่ รายวิชา เข้าสอบ ท่ไี ด้ผลการ ไดร้ ะดับ ๓ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ เรียนเฉลีย่ ระดบั ๓ ข้ึนไป ข้นึ ไป ๔. เทคโนโลยี 93 39 3 4 6 2 11 7 21 39 72.22 (วิทยาการคำนวณ) 5. สังคมศกึ ษา ฯ 93 28 7 5 7 5 10 8 23 41 63.08 6. ประวตั ศิ าสตร์ 93 36 6 3 9 554 25 34 43.59 7. สขุ ศกึ ษาและ 93 พลศึกษา 15 2 3 5 5 8 14 41 63 67.74 8. ศลิ ปะ 93 9. การงานอาชีพฯ 93 35 10 8 9 11 7 2 11 20 21.51 10. ภาษาองั กฤษ 93 39 3 4 7 457 24 36 66.67 18 4 6 7 7 11 9 31 51 66.23 รวม 93 ร้อยละ 16 11 10 15 9 12 9 11 32 34.41 11. คณติ ศาสตร์ 93 เพม่ิ เตมิ 39 18 8 13 3 6 1 5 12 12.90 12.ภาษาองั กฤษ 93 เพิ่มเตมิ 93 27 15 18 7 8 5 10 3 18 19.35 13. ฟสิ กิ ส์ 93 33 4 7 4 6 10 4 25 39 41.94 14. เคมี 11 9 21 15 20 12 4 1 17 18.28 15. ชีววทิ ยา 93 00 0 0 000 93 93 100.00 16.หน้าทพ่ี ลเมือง 93 17.กีฬาเพอ่ื ความ 72 1 0 394 67 83 89.25 เปน็ เลิศ รวม(คน) 701 รอ้ ยละ 44.34 กลมุ่ สาระการ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน รอ้ ยละของ เรียนรู้ จำนวนนักเรยี นทม่ี ผี ลการเรยี นรู้ นักเรียน รายวชิ า จำนวน ทีไ่ ด้ผลการ นกั เรยี นที่ นกั เรยี นท่ี ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ เขา้ สอบ เรยี นเฉลยี่ ได้ระดับ ๓ 0 18 3 6 8 8 4 ระดับ ๓ ข้นึ ไป 0 17 5 3 8 8 6 0 21 2 2 3 5 5 ขึน้ ไป 1 11 6 6 5 8 1 ๑. ภาษาไทย 63 0 12 3 10 3 10 4 16 28 44.44 ๒. คณติ ศาสตร์ 63 1 23 2 2 2 11 11 3. เทคโนโลยี 63 0 20 3 3 1 6 8 16 30 47.62 (วทิ ยาการคำนวณ) 4. สังคมศึกษา ฯ 63 25 35 55.56 5. สุขศึกษาและ 63 พลศึกษา 25 34 53.97 6. ศิลปะ 63 7. การงานอาชพี ฯ 63 21 35 55.56 11 33 52.38 22 36 57.14
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 14 กลมุ่ สาระการ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ร้อยละของ เรยี นรู้ จำนวนนักเรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ นักเรียน รายวชิ า จำนวน ที่ไดผ้ ลการ นักเรยี นที่ นักเรยี นที่ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ เขา้ สอบ เรียนเฉลย่ี ไดร้ ะดับ ๓ 0 14 6 4 5 8 9 ระดับ ๓ ขึน้ ไป ขน้ึ ไป 8. ภาษาองั กฤษ 63 17 34 53.97 รวม 63 0 15 4 6 685 19 32 50.79 รอ้ ยละ 9. คณติ ศาสตร์ 63 0 27 2 2 5 11 5 11 27 42.86 เพ่ิมเตมิ 10.ภาษาอังกฤษ 63 0 19 2 9 10 8 5 10 23 36.51 เพิ่มเตมิ 63 0 13 0 4 265 33 44 69.84 11. ฟสิ ิกส์ 63 0 14 0 3 1 19 12 14 45 71.43 12. เคมี 63 13. ชวี วทิ ยา 01 0 2 117 51 59 93.65 14.กฬี าเพ่ือความ เป็นเลศิ 495 รวม(คน) 56.12 รอ้ ยละ ร้อยละของนักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๑ ท่ไี ดผ้ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเฉลีย่ ระดบั 3 ขึน้ ไป 60 44.34 56.12 50 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 40 36.2 30 20 10 0 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 15 ๕.3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกสาระการเรยี นรูร้ ะดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.๑-ม.3) ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ภาคเรียนท่ี 2 กลุ่มสาระการ จำนวน ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน เรยี นรู้ นกั เรียนท่ี จำนวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นรู้ รายวชิ า เข้าสอบ นกั เรยี น ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ท่ีได้ผลการ นกั เรยี นที่ เรียนเฉลีย่ ไดร้ ะดบั ๓ ๑. ภาษาไทย 45 22 12 0 3 2 4 1 ระดับ ๓ ขน้ึ ไป ๒. คณติ ศาสตร์ 45 21 5 4 4 8 0 1 ขึน้ ไป ๓. วิทยาศาสตร์ 45 0 7 2 6 5 15 7 1 6 13.33 2 3 6.67 3 25 55.56 ๔. เทคโนโลยี 45 07 2 3 9 6 10 8 24 53.33 (วทิ ยาการคำนวน) 5. สงั คมศกึ ษา ฯ 45 16 2 3 4 7 5 8 0 13 28.89 20 29 64.44 6. ประวตั ศิ าสตร์ 45 7 2 1 3 3 2 7 7. สุขศกึ ษาและ 45 15 1 3 6 6 8 4 2 14 31.11 พลศึกษา 8. ศลิ ปะ 45 22 6 4 5 2 3 2 16 13.33 15 27 60.00 9. การงานอาชพี ฯ 45 17 0 0 1 0 0 12 34 8.89 10. ภาษาอังกฤษ 45 26 5 3 5 2 1 0 รวม(คน) รอ้ ยละ 11.ภาษาองั กฤษ 45 25 11 4 0 4 0 1 01 2.22 เพม่ิ เตมิ 40 43 95.56 12.กฬี าเพอ่ื ความ 45 10 0 0 103 195 เปน็ เลศิ 36.11 รวม ร้อยละ กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน เรยี นรู้ นกั เรยี นท่ี จำนวนนักเรยี นทีม่ ผี ลการเรยี นรู้ รายวชิ า เข้าสอบ นักเรยี น ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ท่ไี ด้ผลการ นักเรยี นท่ี เรยี นเฉล่ยี ไดร้ ะดบั ๓ ๑. ภาษาไทย 47 18 7 2 3 0 2 0 ระดบั ๓ ขึ้นไป ๒. คณติ ศาสตร์ 47 24 3 2 3 6 4 3 ขึน้ ไป ๓. วิทยาศาสตร์ 47 1 19 1 4 4 4 5 10 17 36.17 2 9 19.15 ๔. เทคโนโลยี 47 1 20 3 5 583 9 18 38.30 (วิทยาการคำนวน) 2 13 27.66 5. สังคมศกึ ษา ฯ 47 21 0 2 6 7 2 1 8 11 23.40 4 13 27.66 6. ประวตั ิศาสตร์ 47 24 2 4 1 3 5 4 22 26 55.32 7. สุขศกึ ษาและ 47 81 6 2 422 พลศกึ ษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 16 กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน เรียนรู้ นักเรียนที่ จำนวนนักเรียนทม่ี ผี ลการเรยี นรู้ รายวชิ า เขา้ สอบ นักเรยี น ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ที่ไดผ้ ลการ นักเรยี นท่ี เรยี นเฉลีย่ ได้ระดบั ๓ 8. ศิลปะ 47 25 4 6 2 1 4 4 ระดับ ๓ ขนึ้ ไป 9. การงานอาชพี ฯ 47 10 0 0 1 1 0 6 ข้นึ ไป 10. ภาษาอังกฤษ 47 29 3 4 1 0 0 0 1 9 19.15 29 35 74.47 รวม 10 10 21.28 ร้อยละ 4 13 27.66 0 47 100.00 11.ภาษาอังกฤษ 47 23 0 9 0 2 4 5 39 44 93.62 เพิม่ เตมิ 265 12.หน้าทีพ่ ลเมือง 47 0 0 0 0 14 17 16 43.37 13.กีฬาเพอ่ื ความ 47 20 0 0 105 เป็นเลิศ รวม(คน) รอ้ ยละ กลุ่มสาระการ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน ร้อยละของ เรยี นรู้ จำนวนนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรยี นรู้ นักเรียน รายวิชา จำนวน ทไี่ ด้ผลการ นักเรยี นที่ นกั เรียนที่ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ เข้าสอบ ๓.๕ เรยี นเฉลยี่ ไดร้ ะดบั ๓ 37 15 5 4 1 6 ระดบั ๓ ข้นึ ไป 39 17 5 8 5 4 1 22 7 7 12 12 11 1 ขึ้นไป 5 34 3 6 3 7 6 ๑. ภาษาไทย 79 50 10 6 2 4 5 6 10 17 21.52 ๒. คณติ ศาสตร์ 79 31 11 7 18 5 5 0 ๓. วิทยาศาสตร์ 79 11 19 3 8 1 15 1 0 5 6.33 79 50 10 4 5 3 5 3 ๔. เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวน) 79 33 3 7 8 2 8 2 2 19 24.05 79 44 2 2 5 4 6 4 5. สงั คมศึกษา ฯ 79 6 15 28 35.44 6. ประวตั ศิ าสตร์ 0 45 0 10 4 9 7. สุขศึกษาและ 79 3 12 2 2 6 5 0 2 7 8.86 พลศึกษา 79 10 0 0 01 3 8. ศิลปะ 79 13 1 7 8.86 9. การงานอาชีพฯ 10. ภาษาองั กฤษ 79 19 37 46.83 รวม 79 07 8.86 รอ้ ยละ 79 14 26 32.91 11.ภาษาอังกฤษ 10 22 27.85 เพ่มิ เตมิ 12.หน้าทีพ่ ลเมือง 11 20 25.32 13.กีฬาเพ่ือความ 46 54 เป็นเลศิ 64 78 68.35 รวม(คน) ร้อยละ 98.73 327 31.84
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 17 รอ้ ยละของนักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนที่ ๒ ทีไ่ ดผ้ ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเฉลยี่ ระดบั 3 ขน้ึ ไป 50 47.37 40 36.11 30 31.84 20 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ 10 0 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๕.4. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ุกสาระการเรียนรู้ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอน ปลาย (ม.4-ม.6) ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 ภาคเรยี นที่ 2 กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน เรียนรู้ นักเรียนที่ จำนวนนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ รายวิชา เขา้ สอบ นกั เรยี น ร้อยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทไ่ี ด้ผลการ นักเรยี นที่ เรียนเฉลยี่ ได้ระดับ ๓ ๑. ภาษาไทย 96 34 4 7 9 9 13 6 ระดบั ๓ ข้นึ ไป ๒. คณติ ศาสตร์ 96 34 11 8 3 1 11 7 ขึน้ ไป ๓. โลกดาราศาสตร์ 96 16 5 0 6 9 13 14 14 33 34.38 21 39 40.63 33 60 62.50 ๔. เทคโนโลยี 96 19 0 6 7 13 9 18 20 51 53.13 (วิทยาการคำนวณ) 5. สงั คมศกึ ษา ฯ 96 30 0 3 7 3 7 7 37 53 55.21 24 37 38.54 6. ประวตั ิศาสตร์ 96 33 8 2 7 9 2 6 64 66 68.75 17 37 38.54 7. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 96 30 0 0 0 0 7 0 33 56 58.33 38 53 55.21 8. ศิลปะ 96 45 2 3 6 3 10 13 9. การงานอาชพี ฯ 96 20 1 1 6 12 9 13 10. ภาษาองั กฤษ 96 28 5 4 6 0 9 6 รวม ร้อยละ 11. คณติ ศาสตร์ 96 36 12 7 8 3 9 5 16 30 31.25 เพ่ิมเตมิ 15 42 43.75 12.ภาษาองั กฤษ 96 0 42 0 12 0 26 1 เพม่ิ เตมิ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 18 กลุ่มสาระการ จำนวน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน เรยี นรู้ นกั เรียนท่ี จำนวนนักเรียนที่มผี ลการเรยี นรู้ รายวิชา เขา้ สอบ นกั เรียน รอ้ ยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทีไ่ ด้ผลการ นักเรียนที่ เรยี นเฉลี่ย ไดร้ ะดับ ๓ 13. ฟสิ ิกส์ 96 37 2 0 7 9 12 23 ระดบั ๓ ขึน้ ไป 14. เคมี 96 0 57 1 2 0 15 0 ข้ึนไป 15. ชีววทิ ยา 96 52 2 1 2 4 1 7 6 41 42.71 21 36 37.50 16.กีฬาเพอ่ื ความ 96 50 0 1 048 27 35 36.46 เป็นเลศิ 78 90 93.75 รวม(คน) 759 รอ้ ยละ 49.41 กลมุ่ สาระการ จำนวน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน เรียนรู้ นักเรยี นท่ี จำนวนนักเรยี นทม่ี ผี ลการเรียนรู้ รายวิชา เขา้ สอบ นักเรียน รอ้ ยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ทไ่ี ด้ผลการ นักเรยี นท่ี เรียนเฉล่ยี ได้ระดบั ๓ ๑. ภาษาไทย 92 32 19 10 10 3 4 2 ระดบั ๓ ขนึ้ ไป ๒. คณติ ศาสตร์ 92 16 10 4 13 8 6 5 92 24 0 2 25 11 18 12 ขน้ึ ไป ๓. วิทยาศาสตร์กายภาพ 92 30 0 2 7 2 2 7 20 4 1 5 11 8 10 12 18 19.57 ๔. เทคโนโลยี (วทิ ยาการ 92 20 0 0 0 4 2 13 30 41 44.57 คำนวณ) 92 0 30 32.61 92 24 2 4 5 8 8 10 5. สงั คมศกึ ษา ฯ 42 51 55.43 6. ประวตั ิศาสตร์ 92 42 0 1 2 7 3 16 7. สขุ ศึกษาและ 92 30 1 10 9 11 13 9 33 51 55.43 พลศึกษา 92 23 7 6 12 5 5 5 53 68 73.91 8. ศิลปะ 9. การงานอาชพี ฯ 92 19 16 6 9 9 1 4 31 49 53.26 10. ภาษาอังกฤษ 92 0 66 0 9 0 3 0 21 40 43.48 รวม 22 0 4 28 17 13 2 9 31 33.70 รอ้ ยละ 92 0 63 0 6 1 5 1 29 39 42.39 92 54 4 2 4 7 4 2 11. คณติ ศาสตร์ 92 00 0 0 000 28 33 35.87 เพิม่ เตมิ 92 12.ภาษาอังกฤษ 92 1 0 0 0 2 3 11 14 17 18.48 เพม่ิ เติม 6 21 22.83 13. ฟสิ กิ ส์ 16 22 23.91 14. เคมี 15 21 22.83 15. ชวี วิทยา 0 92 100.00 16.หนา้ ทพี่ ลเมือง 17.กฬี าเพื่อความ 75 89 96.74 เปน็ เลิศ 713 รวม(คน) 45.59 ร้อยละ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 19 กล่มุ สาระการ จำนวน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน เรยี นรู้ นักเรียนท่ี จำนวนนกั เรยี นท่มี ีผลการเรยี นรู้ รายวชิ า เข้าสอบ นักเรียน รอ้ ยละของ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ท่ไี ดผ้ ลการ นักเรียนที่ เรยี นเฉลย่ี ไดร้ ะดับ ๓ ๑. ภาษาไทย 63 0 8 7 7 7 12 7 ระดบั ๓ ขึ้นไป ๒. คณติ ศาสตร์ 63 0 18 6 3 6 7 7 3. เทคโนโลยี 63 ขึ้นไป (วิทยาการคำนวณ) 0 0 0 0 0 21 21 4. สงั คมศึกษา ฯ 63 15 34 53.97 63 0 21 6 5 11 7 6 16 30 47.62 5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 63 63 0 11 3 11 3 11 9 21 63 100.00 6. ศิลปะ 63 7. การงานอาชพี ฯ 0 14 0 2 1 5 6 7 20 31.75 8. ภาษาองั กฤษ 63 15 35 55.56 63 00 0 0 0 0 35 46 73.02 รวม 63 63 63 100.00 ร้อยละ 63 0 17 2 2 7 5 6 24 35 55.56 63 9. คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ 63 0 14 5 8 98 2 17 27 42.86 0 23 0 12 6 9 3 10 22 34.92 10.ภาษาอังกฤษ เพมิ่ เติม 0 18 0 3 25 7 1 9 17 18.48 0 30 1 11 5 4 1 11 16 25.40 11. ฟสิ กิ ส์ 0 28 4 6 86 2 9 17 26.98 12. เคมี 01 1 0 01 5 55 61 96.83 13. ชีววิทยา 486 55.10 14.กีฬาเพ่ือความเปน็ เลศิ รวม(คน) รอ้ ยละ ร้อยละของนักเรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ๒ ท่ีไดผ้ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเฉล่ียระดบั 3 ขึ้นไป 60 45.59 55.1 50 49.41 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 40 30 20 10 0 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๔
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 20 ๖. ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ๖.1 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที ๖ ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ๖.1.๑ คะแนนร้อยละจำแนกตามระดับ ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ระดับโรงเรียน 36.44 16.02 22.56 19.03 33.61 ระดับจังหวดั 51.16 27.02 31.39 33.84 39.17 ระดับสังกดั (รร.สังกัด อปท.) 43.03 18.03 27.09 21.70 35.13 ระดบั ประเทศ ๔6.40 21.28 28.65 25.56 36.87 กรา แสดงขอ้ มูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖ 60 51.16 50 43.03 46.4 40 36.44 33.61 39.17 35.13 36.87 31.3933.84 28.6525.56 30 16.0222.5619.03 27.02 27.09 21.28 20 21.7 18.03 10 0 ระดบั จงั หวดั ระดับสังกดั (รร.สงั กดั อปท.) ระดับประเทศ ระดับโรงเรียน ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ๖.๒.๒ การเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีที ๖ ระหว่างปกี ารศึกษา ๒๕๖3-๒๕๖4 รายวิชา/ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ร้อยละของผลตา่ ง ๒๕๖3 ๒๕๖4 ระหวา่ งปกี ารศึกษา ภาษาไทย 28.20 36.44 คณิตศาสตร์ ๑8.28 16.02 +8.24 วิทยาศาสตร์ ๒6.13 22.56 -2.26 ภาษาองั กฤษ ๒0.90 19.03 -3.57 28.38 33.61 -1.87 สงั คมฯ +5.23
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 21 กรา แสดงข้อมลู ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖ 40 36.44 33.61 35 30 28.2 26.13 28.38 25 22.56 20 20.9 19.03 15 18.28 16.02 10 5 0 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สังคมศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564 ๖.๒.๓ ข้อมูลนักเรยี นดา้ นอ่ืนๆ ท่ี รายการ จำนวน คิดเป็น (คน) ร้อยละ* ๑. จำนวนนักเรียนมีนำ้ หนัก สว่ นสูง และสมรรถภาพ ทางกาย ตามเกณฑ์ รวมทง้ั รูจ้ ักดแู ลตนเองให้มคี วามปลอดภยั 424 100 ๒. จำนวนนักเรยี นทป่ี ลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และสงิ่ มอมเมา เชน่ 410 96.70 สุรา บหุ รี่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ - 0 ๓. จำนวนนกั เรียนที่มคี วามบกพร่องทางรา่ งกาย/เรยี นร่วม - 0 จำนวน คดิ เปน็ ๔. จำนวนนกั เรียนท่ีมภี าวะทุพโภชนา (คน) ร้อยละ* - 0 ท่ี รายการ - 0 - 0 ๕ จำนวนนักเรียนที่มีปัญญาเลศิ - 0 ๖. จำนวนนักเรียนทต่ี ้องการความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ - 0 ๗. จำนวนนักเรยี นทอ่ี อกกลางคัน (ปีการศึกษาปจั จุบนั ) ๘. จำนวนนักเรยี นท่ีมเี วลาเรียนไมถ่ ึงร้อยละ ๘๐ 100 100.00 ๙. จำนวนนกั เรยี นที่เรียนซ้ำชั้น 61 96.83 ๑๐. จำนวนนักเรียนทจ่ี บหลักสูตร มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย หมายเหตุ: ร้อยละของนักเรียนทัง้ หมด
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 22 ๗. ข้อมูลอาคารสถานที่ ที่ รายการ จำนวน ๑. อาคารเรียน (อาคารเรียน นว.๔) ๑ หลงั ๒. อาคารท่ีพักนกั กีฬา ๖ ชัน้ ๑ หลัง ๓. สนามกฬี า ไดแ้ ก่สนามฟุตบอล สนามฟุตซอล สนามวอลเลย์ ๓ หลงั (ใช้รว่ มกบั ศนู ยเ์ ยาวชนเฉลมิ พระเกียรต)ิ . ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๘.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะชุมชนกึ่งเมือง มีประชากรประมาณ ๗๒,๗๓๓ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, โรงเรียนประชาอุปถัมภ์ อาชีพหลักของ ชมุ ชน คือ ข้าราชการบำนาญ ธรุ กจิ ครอบครัว สว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพุทธ และบางส่วนนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม ๘.๒ ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี อาชีพหลัก คือ ธุรกิจส่วนตัว สว่ นใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ยี ตอ่ ครอบครวั ต่อปี ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๘.๓ โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรียน โอกาสสถานศึกษา ได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจากเทศบาลนครนนทบุรี ผู้นำชุมชน และชุมชนมีส่วนร่วมในกจิ กรรมท่สี ถานศกึ ษาจัด มีองค์กรเอกชน มหาวิทยาลยั ให้การสนบั สนนุ ข้อจำกัดสถานศึกษา ไม่มีพ้ืนท่ีเป็นของตนเอง ใช้อาคารเรยี นร่วมกับโรงเรียนนครนนท์วิทยา ๔ วัดบางแพรกเหนอื จำนวนนกั เรียนเพ่ิมมากขึ้นแตพ่ ้ืนทใ่ี ชส้ อยเทา่ เดิม ไม่มีหอ้ งพเิ ศษในการจัดการเรียนการ สอน สภาพการจราจรหนาแน่นทำให้เสียเวลาในการการเดินทางจากอาคารท่ีพักของศูนย์เยาวชนเฉลิมพระ เกียรติไปโรงเรียนนครนนท์วิทยา 4 วัดบางแพรกเหนือ บริเวณรอบอาคารท่ีพักมีร้านค้า ร้านเกมส์ และแหล่ง บนั เทงิ พอสมควร อาคารท่พี กั มีพ้นื ที่เทา่ เดมิ ไมส่ ามารถขยายเพิ่มข้นึ ได้ ๙. โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรียนได้จดั สัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรียนดังแสดง ใน ตารางดงั นี้ ๙.๑ ระดับมัธยมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนชวั่ โมง/ภาคเรยี น* ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ม.๕ ม.๖ ภาษาไทย ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณติ ศาสตร์ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ วิทยาศาสตร์ ๖๐ ๖๐ ๖๐ - - - - เทคโนยี 20 20 20 40 40 40 - ฟิสิกส์ - - - ๖๐ ๖๐ ๖๐ - เคมี - - - ๖๐ ๖๐ ๖๐
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 23 กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนช่ัวโมง/ภาคเรยี น* ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม. ม.๕ ม.๖ - ชีววิทยา - - - ๖๐ ๖๐ ๖๐ - วิทยาศาสตร์กายภาพฟิสิกส์ - - - - 60 - - วิทยาศาสตร์กายภาพเคมี - - - - 60 - - วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ - - - 60 - - - โลก ดาราศาสตร์ - - - 60 - - สังคมศึกษา ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ประวตั ศิ าสตร์ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ - - หนา้ ท่ีพลเมือง - ๒๐ ๒๐ - ๒๐ - สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ 4๐ 4๐ 4๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กฬี าเพอ่ื ความเป็นเลิศ ๑20 ๑20 ๑20 ๑20 ๑20 ๑20 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ รวมช่ัวโมง ๑,๒ ๑,32 ๑,32 ๑,56 1,600 ๑,๒ • จำนวนชวั่ โมงที่จดั ให้กับนักเรียน เรยี นทั้งปี ช้นั ม.๑ เทา่ กับ ๑,๒๘๐ ช่ัวโมง และชน้ั ม.2 – ม.3 เทา่ กบั 1,320 ช่วั โมง ช้นั ม.๔ เทา่ กบั 1,5๖๐ ชว่ั โมง ชนั้ ม.5 เท่ากบั 1,600 ช่ัวโมง และช้ัน ม.6 เทา่ กบั ๑,๒๘๐ ชว่ั โมง • แผนการเรียน/จุดเนน้ การพฒั นาผู้เรยี นที่โรงเรียนเน้นพัฒนากีฬาสคู่ วามเปน็ เลศิ หมายเหตุ : * การจดั โครงสร้างรายวชิ า ใหใ้ ชร้ ูปแบบตารางตามรูปแบบในโครงสรา้ งหลักสตู รของ สถานศกึ ษา ๑ . แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ๑๐.๑ หอ้ งสมุดมพี นื้ ที่ขนาด ๔,๑๐๐ ตารางเมตร หนงั สือในห้องสมดุ มีจำนวนประมาณ ๖,๐๐๐ เลม่ มวี ารสาร/ หนังสือพิมพใ์ หบ้ ริการ การสบื ค้นหนงั สอื และการยมื -คืน ใช้ระบบ ทศนยิ มดิวอี้ (ใช้ ห้องสมุดของโรงเรยี นนครนนทว์ ทิ ยา ๔ วัดบางแพรกเหนอื ) มเี ครอื่ งคอมพิวเตอร์ใหบ้ ริการสืบคน้ เทคโนโลยี สารสนเทศ (อาคารที่พักนักกีฬา) จำนวน ๕ เคร่ือง มีจำนวนนกั เรียนท่ใี ช้ห้องสมุด (ในปีการศกึ ษาท่ีรายงาน) เฉลีย่ - คน ต่อวัน คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ของนกั เรยี นท้ังหมด ๑๐.๒ ห้องปฏิบตั กิ ารทัง้ หมด ๖ หอ้ ง จำแนกเป็น ( ห้องพิเศษทุกห้องใชเ้ ปน็ ห้องเรยี น ประจำ) ๑) หอ้ งปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร์ จำนวน ๓ ห้อง ๒) หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน ๑ ห้อง ๓) หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา จำนวน ๑ หอ้ ง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 24 ๔) ห้องนาฏศลิ ป์ จำนวน ๑ ห้อง ๑๐.๓ เครื่องคอมพิวเตอรท์ ้งั หมด จำนวน ๖5 เคร่ืองจำแนกเป็น ๑) ใชเ้ พ่อื การเรียนการสอน จำนวน ๔๐ เครือ่ ง ๒) ใชเ้ พ่ือใหบ้ ริการสบื คน้ ข้อมลู ทางอินเทอรเ์ น็ต จำนวน ๑๐ เครื่อง โดยมจี ำนวนนักเรียนท่ใี ชบ้ รกิ ารสบื ค้นขอ้ มลู ทางอนิ เตอร์เน็ต (ในปกี ารศึกษาที่รายงาน) เฉลยี่ ๒๐ คน ต่อวัน คดิ เป็นร้อยละ ๕.๐๕ ของนักเรยี นทั้งหมด ๓) ใชเ้ พอื่ สนบั สนนุ การบริหารสถานศกึ ษา (สำนกั งาน) จำนวน ๑5 เครอ่ื ง ๑๐.๔ แหล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรยี น ท่ี ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ สถติ ิการใช้ จำนวนคร้ัง/ปี ๑. หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ๒. ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา ห้องปฏบิ ตั ิการ ๓. หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ ใชเ้ ป็นห้องเรียน ๔. โรงอาหาร ๕. หอ้ งฟิตเนต็ ประจำ ๖. สนามวอลเลย์บอล 120 ๗. สนามวอลเลยบ์ อลชายหาด 129 ๘. สนามฟตุ ซอล 232 ๙. สนามกรฑี า 228 ๑๐. ห้องแหลง่ เรียนรู้ 246 268 106 ๑๐.๕ แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ จำนวนคร้ัง/ปี ที่ ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ 1 ๑. พิพิธภณั ฑป์ ระจำจังหวดั 1 ๒. เกาะเกร็ด 15 ๓. วดั บางแพรกใต้ 5 ๔. วัดบวั ขวัญ 220 ๕. บา้ นสวนคลองอ้อม (ซอ้ มเรือพาย) 1 ๖. บอ่ บำบดั น้ำเสีย 2 ๗. แขวงท่าทราย ๑๐.๖ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ปราชญ์ชาวบ้าน ผทู้ รงคุณวุฒิ วทิ ยากร ทีส่ ถานศึกษาเชญิ มาให้ความรู้ แก่ครู นักเรียน (ในปีการศกึ ษาทร่ี ายงาน) ที่ ชอ่ื -สกุล ให้ความรเู้ รอื่ ง จำนวนครั้ง/ปี ๑. นายปยิ พงศ์ นพเก้า การทำบายศรี รอ้ ยมาลยั จัดดอกไม้ ๒
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 25 ๑๑. ผลงานดีเด่นในรอบปีท่ีผา่ นมา ๑๑.๑ ผลงานดเี ด่น ประเภท ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ที่ได้รับ หนว่ ยงานที่ให้ สถานศกึ ษา กฬี าวอลเลย์บอลในร่มหญงิ สมาคมวอลเลยบ์ อล แหง่ ประเทศไทย (ดา้ นกีฬา) ๑.ชนะเลิศ (แชมปส์ มัยท่ี ๗) การกีฬาแห่งประเทศไทย การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล “ซีเล็ค” เยาวชนชาย - กรมพลศกึ ษา หญงิ ชงิ ชนะเลิศแหง่ ประเทศไทยประจำปี ๒๕๖๔ กรมพลศกึ ษา ชิ งถ้ ว ย พ ระราช ท าน ส ม เด็ จ พ ระก นิ ษ ฐ าธิราช เจ้ าก ร ม สมาคมวอลเลยบ์ อล แหง่ ประเทศไทย สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สมาคมวอลเลย์บอล วันท่ี ๕–๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนเทศบาล ๑ แหง่ ประเทศไทย (เยยี่ มเกษสวุ รรณ) จงั หวดั สมุทรปราการ ๒.รองชนะเลิศ อนั ดบั ๑ การแข่งขันวอลเลย์บอล SAT Thailand Volleyball Invitation Sisaket ๒๐๒๑ วันที่ ๑๙ – ๒๑ พฤศิกายน ๒๕๖๔ ณ อาคารวสี มหมาย จังหวัดศรสี ะเกษ ๓.ชนะเลิศ รุ่นอายุไม่เกนิ ๑๖ ปี การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล กีฬาระหว่างโรงเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ วันที่ ๒๗ มกราคม – ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ สนามกฬี านมิ ิบุตร สนามกีฬาแห่งชาติ ๔.ชนะเลิศ รุ่นอายุไมเ่ กิน ๑๘ ปี การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล กีฬาระหว่างโรงเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ วันท่ี ๑๖- ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ ณ สนามกีฬานมิ บิ ตุ ร สนามกีฬาแห่งชาติ ๕.รองชนะเลศิ อันดับ ๑ การแข่งขันวอลเลย์บอลยุวชน “เอสโคล่า\" ชงิ ชนะเลิศ แหง่ ประเทศไทยร่นุ อายุไม่เกิน ๑๖ ปี คร้งั ท่ี ๙ (ปที ี่ ๓๒) ประจำปี ๒๕๖๔ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐา ธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรม ราชกุมารี วนั ท่ี ๒๒ – ๒๙ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ณ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ๖.รองชนะเลิศ การแขง่ ขันวอลเลยบ์ อลยวุ ชน “เอสโคล่า”รนุ่ อายุไม่เกนิ ๑๔ ปี ครงั้ ท่ี ๑ (ปีที่ ๓๑)ชงิ ถ้วยประทานทูลกระหมอ่ มหญิง อุบลรัตนราชกญั ญาสิริวัฒนาพรรณวดี ประจำปี๒๕๖๔ รอบคัดเลือกตวั แทนภาคนครหลวง วนั ที่ ๓๑ มกราคม – ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ โรงเรียนเทศบาล ๑ (เยี่ยมเกษสุวรรณ) จงั หวดั สมุทรปราการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 26 ประเภท ระดบั รางวลั ทไ่ี ดร้ ับ/ทรี่ างวัลที่ได้รับ หน่วยงานทใ่ี ห้ สถานศกึ ษา กีฬาวอลเลยบ์ อลในรม่ ชาย สมาคมวอลเลย์บอล แห่งประเทศไทย (ด้านกฬี า) ๑. รองชนะเลิศ อันดบั ๓ สมาคมวอลเลย์บอล ก ารแ ข่ งขั น กี ฬ าวอ ล เล ย์ บ อ ล “ซี เล็ ค ” เย าวช น แหง่ ประเทศไทย ชาย - หญงิ ชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทยประจำปี ๒๕๖๔ สมาคมวอลเลย์บอล แหง่ ประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรม กรมพลศึกษา สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี กรมพลศึกษา หนว่ ยงานท่ีให้ วนั ที่ ๕–๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนเทศบาล ๑ การกีฬาแหง่ ประเทศไทย (เยย่ี มเกษสวุ รรณ) จังหวัดสมุทรปราการ ๒.ชนะเลิศ การแขง่ ขันวอลเลยบ์ อล PEA ร่นุ อายไุ มเ่ กิน ๑๘ ปี รุ่นอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ครั้งท่ี ๑๗ (ปีที่ ๓๗) ประจำปี ๒๕๖๔ ชงิ ถว้ ยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี รอบชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย วันที่ ๑๗ – ๒๑ มกราคม ๒๕๖๕ รอบคดั เลือกภาคนครหลวง ณ ศูนย์กีฬาเฉลมพระเกียรติ ฯ เทศบาลนครนนทบุรี จังหวดั นนทบรุ ี ๓.รองชนะเลิศ อันดบั ๑ การแขง่ ขันวอลเลยบ์ อลยุวชน “เอสโคล่า”รุ่นอายุไม่เกนิ ๑๔ ปี คร้ังท่ี ๑ (ปีที่ ๓๑)ชิงถว้ ยประทานทูลกระหม่อมหญงิ อุบลรตั นราชกัญญาสริ ิวฒั นาพรรณวดี ประจำปี ๒๕๖๔ รอบคัดเลอื กตวั แทนภาคนครหลวง วันที่ ๓๑ มกราคม – ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ โรงเรียนเทศบาล ๑ (เยย่ี มเกษสวุ รรณ) จ.สมุทรปราการ ๔.รองชนะเลิศ อนั ดบั ๒ รุน่ อายไุ ม่เกนิ ๑๔ ปี การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล กีฬาระหว่างโรงเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ วันที่ ๑๐ – ๒๖ มกราคม ๒๕๖๕ ณ สนามกีฬานมิ บิ ตุ ร สนามกีฬาแหง่ ชาติ ๕.รองชนะเลศิ อันดบั ๑ รุน่ อายุไมเ่ กนิ ๑๖ ปี การแข่งขันกีฬาวอลเลย์บอล กีฬาระหว่างโรงเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ วันท่ี ๒๖ มกราคม – ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ สนามกีฬานมิ บิ ตุ ร สนามกีฬาแห่งชาติ ประเภท ระดบั รางวลั ทีไ่ ด้รบั /ทีร่ างวัลทไ่ี ดร้ ับ สถานศกึ ษา กฬี าเปตองชาย-หญงิ (ดา้ นกฬี า) 1.รางวัลรองชนะเลิศ ประเภททมี ชาย การแข่งขนั กีฬา แหง่ ชาตคิ รั้งท่ี 47 ระหว่างวันท่ี 18-23 ธนั วาคม 2564 ณ จงั หวดั ปราจีนบุรี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 27 ประเภท ระดับรางวัลที่ไดร้ ับ/ทรี่ างวัลทไ่ี ด้รบั หนว่ ยงานท่ใี ห้ กรมพลศึกษา สถานศึกษา กฬี า ุตซอล กรมพลศกึ ษา (ด้านกฬี า) 1.ชนะเลศิ อันดับท่ี 1 การแข่งขันกีฬาฟุตซอลกีฬา ระหวา่ งโรงเรียน (กรมพลศกึ ษา) ประเภท ก ประจำปี การศึกษา ๒๕๖4 รุ่นอายไุ ม่เกิน 16 ปี 2.รองชนะเลศิ อนั ดับที่ 1 การแข่งขนั กีฬาฟตุ ซอลกีฬา ระหว่างโรงเรียน (กรมพลศกึ ษา) ประเภท ก ประจำปี การศกึ ษา ๒๕๖4 รุ่นอายุไมเ่ กนิ 18 ปี ประเภท ระดบั รางวลั ที่ไดร้ ับ/ที่รางวัลทไ่ี ด้รับ หนว่ ยงานที่ให้ สถานศกึ ษา กีฬาเรอื พาย สมาคมกีฬาเรือพายแห่งประเทศ ไทย (ดา้ นกฬี า) 1.รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ประเภทเรือแคนู 2 คน ชาย การแข่งขนั กีฬาเรอื พายชงิ ชนะเลิศแห่งประเทศไทย ชิงถว้ ยพระราชทาน ประจำปี 2564 จ.น่าน ประเภท ระดับรางวัลทไ่ี ดร้ บั /ที่รางวัลทีไ่ ด้รบั หนว่ ยงานทีใ่ ห้ การกีฬาแห่งประเทศไทย สถานศึกษา กฬี ากรีฑา การกีฬาแห่งประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย (ด้านกีฬา) 1.นายณัชพล ศรีจนั ทร์ 2 เหรยี ญทอง กีฬาแห่งชาติ การกีฬาแหง่ ประเทศไทย รอบคดั เลือกภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ การกีฬาแห่งประเทศไทย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย 2.นายจลุ จกั ร ดษิ ฐบรรจง 1 เหรียญทอง 1 เหรยี ญเงิน โรงเรียนกฬี าจังหวดั ขอนแกน่ โรงเรยี นกีฬาจังหวัดขอนแก่น กีฬาแห่งชาติ รอบคัดเลอื กภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ การกีฬาห่งประเทศไทย การกีฬาห่งประเทศไทย 3.นางสาวก่ิงแกว้ สบื เพชร 1 เหรียญทอง 1 เหรยี ญ ทองแดง กฬี าแห่งชาติ รอบคดั เลอื กภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ 4.เดก็ หญงิ เอริ ์น พวงแตง 1 เหรียญเงนิ กฬี าแหง่ ชาติ รอบคดั เลือกภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ 5.นายภูริญัฐ จินาสาย 1 เหรยี ญทองแดง กีฬาแห่งชาติ รอบคัดเลือกภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ 6.นางสาวทกั ษพร สมัยกลาง 1 เหรียญทองแดง กีฬา แหง่ ชาติ รอบคัดเลือกภาค 1 “มกรเกมส์” ๒๕๖๕ 7.นายณชั พล ศรจี นั ทร์ 1 เหรยี ญเงนิ กรีฑาชิงแชมป์มุ่ง เอเชี่ยนเกมส์ 2565 8.นางสาวทกั ษพร สมัยกลาง 1 เหรยี ญทองแดง กรฑี าชงิ แชมป์มุ่งเอเชย่ี นเกมส์ 2565 ๙..นายณชั พล ศรีจนั ทร์ 1 เหรยี ญทองแดง กรีฑากีฬา แห่งชาติ ครั้งท่ี ๔๗ “ศรีสะเกษเกมส์” 2565 ๑๐.ด.ญ.เอริ น์ พวงแตง ๑ เหรยี ญทองแดง กรีฑากีฬา แหง่ ชาติ ครั้งที่ ๔๗ “ศรสี ะเกษเกมส์” 2565
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 28 ประเภท ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลท่ไี ดร้ ับ/วันทไ่ี ด้รับ หน่วยงานที่ให้ ครู 1.นางสาวกัญญาณี แสนตรี ไดร้ บั คัดเลือกให้เป็นครดู เี ดน่ ของ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาล ระดบั ดีเยย่ี ม ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4 2.ว่าที่ร้อยตรธี นกฤต อนิ เลี้ยง ไดร้ บั รางวัลผฝู้ ึกสอนยอด สมาคมวอลเลยบ์ อล เย่ียม แห่งประเทศไทย ประเภท ระดบั รางวัล/ชื่อรางวัลทไี่ ด้รับ/วนั ที่ไดร้ ับ หนว่ ยงานทีใ่ ห้ นักเรียน สมาคมวอลเลยบ์ อล 1. นางสาวอำพา สนสุรัตน์ แหง่ ประเทศไทย รางวัลนักกีฬายอดเยย่ี ม 2. นางสาวอำพา สนสุรตั น์ การกีฬาแหง่ ประเทศไทย รางวัล BEST OUTSIDE HITTER ๑๑.๒ งาน/โครงการ/กจิ กรรม ที่ประสบผลสำเรจ็ (การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน) ท่ี ช่ือ วัตถุประสงค์/ วธิ ีดำเนินการ ตัวบง่ ช้ีความสำเรจ็ งาน/โครงการ/กิจกรรม (จำนวน/ร้อยละ) เป้าหมาย (โดยย่อ) รอ้ ยละ 90 ของ ๑. โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะ รางวลั จากการ ส่งนักเรยี นเขา้ ร่วมการ นักเรียนไดร้ ับรางวัล (ทางดา้ นกฬี า) แข่งขันแขง่ ขนั แขง่ ขนั รอ้ ยละ ๙๕ ของ นกั เรียนเขา้ ร่วม ๒. โครงการสง่ เสริมพัฒนาทกั ษะ ยกระดับผลการ ดำเนนิ การจัดติวโอเน็ต กิจกรรม กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ทดสอบระดับชาติขนั้ ร้อยละ ๙๕ ของ นกั เรียนเขา้ รว่ ม พน้ื ฐาน O-NET กิจกรรม ๓. โครงการสง่ เสริมพัฒนาทักษะ ยกระดับผลการ ดำเนนิ การจัดตวิ โอเนต็ ร้อยละ ๙๕ ของ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย นกั เรียนเขา้ ร่วม ทดสอบระดบั ชาตขิ ั้น กิจกรรม พน้ื ฐาน O-NET 4 โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะ ยกระดับผลการ ดำเนินการจัดตวิ โอเนต็ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศาสนา และวัฒนธรรม ทดสอบระดบั ชาติขั้น พ้ืนฐาน O-NET ๑๑.๓ โครงการ/กิจกรรมพิเศษ ท่ีดำเนินการตามนโยบายชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิกา ร กระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จดุ เน้น แนวทางการปฏริ ูป การศึกษาฯลฯ ไดแ้ ก่ ๑. โครงการรณรงคเ์ พื่อป้องกันยาเสพติด ๒. โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย ๓. โรงเรียนคุณธรรม ๔. โรงเรียนปลอดขยะ ๕. โรงเรยี นพอเพียงท้องถน่ิ ๑๒. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาในปีที่ผ่านมา ปกี ารศึกษา ๒๕๖3
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 29 ๑๒.๑ ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ระดับคุณภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น จุดเด่น โรงเรียนกีฬานครนนท์วทิ ยา 6 ดำเนินการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นด้วยการวางแผนอย่างเป็นระบบ โดย ค้นหาปัญหาท่ีเกิดข้ึนด้วยวิธีที่หลากหลายและหาแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อบรรลุเป้าหมายท่ีกำหนดแล้ว ดำเนินการปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง มีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม ตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ครูและบุคลากร ทางการศึกษามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำในทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน จึงส่งผลให้เป้าหมายที่โรงเรียนก าหนด เป็นไปตามเป้าหมายหรือใกล้เคียงเป้าหมายได้มาก ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มี จติ สาธารณะ ในการอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม มีทักษะการทำงาน มีสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร อา่ นหนังสอื ออก และ อา่ นคลอ่ ง รวมทง้ั สามารถเขยี นเพื่อการส่อื สารไดท้ ุกคนสามารถใช้เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรูไ้ ดด้ ว้ ย ตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พัฒนาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน สูงขึ้น ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ค่านยิ ม ๑๒ ประการ ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิด และมีความสามารถด้าน โครงงานรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความรู้ตามหลักสูตร ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ตาม ความสามารถและความแตกต่างอย่างหลากหลาย มีกิจกรรมชมรมที่หลากหลายตามความ สนใจของ ผู้เรียน และตามความถนดั จนสามารถสรา้ งงานสร้างอาชพี ให้กับผเู้ รยี นได้ จุดทค่ี วรพัฒนา 1.พฒั นาให้นักเรยี นมีทกั ษะในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณเป็นไปตามเกณฑท์ ี่ โรงเรยี นกำหนดในแต่ระดับชั้น 2. พฒั นาให้นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใครค่ รวญไตรต่ รอง พิจารณาอยา่ ง รอบคอบโดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ มีการอภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแก้ปัญหาอย่างมี เหตุผล 3. พฒั นาให้นกั เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ท้ังดว้ ยตนเองและการทำงานเปน็ ทีม เชือ่ มโยงองคค์ วามรู้ และประสบการณม์ าใชใ้ นการสร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ 4. พัฒนาให้นกั เรยี น มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพ่อื พฒั นาตนเอง และ สังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม 5. พฒั นาให้นกั เรยี น มคี วามกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศึกษาจากพืน้ ฐานเดมิ ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการตา่ ง ๆ รวมทง้ั 6. พัฒนาให้นกั เรียนมีความกา้ วหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานในการจดั การเจต คติทีด่ ีพรอ้ มทีจ่ ะศกึ ษาต่อในระดับช้นั ท่สี งู ข้นึ มีพฤตกิ รรมเป็นผ้ทู มี่ ีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 30 7. พัฒนาให้นักเรียนมคี ่านยิ มและจิตสำนึกตามที่สถานศกึ ษามคี วามภมู ิใจในท้องถนิ่ เหน็ คณุ ค่าของความ เปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณีไทยรวมทงั้ ภูมิปญั ญาไทย 8. พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมใน แต่ละชว่ งวัย ข้อเสนอแนะ 1. จดั ทำโครงการเพื่อช่วยเหลอื นกั เรยี นบางสว่ นท่ขี าดทักษะในการคิดคำนวณอย่างจรงิ จัง และตอ่ เนือ่ ง 2. จัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรยี น โครงการประกวดโครงงานนกั เรยี นมกี ารแลกเปล่ียน เรียนรู้ และนำเสนอผลงานกลุ่มตนเองดว้ ยความภาคภมู ิใจ 3. จดั โครงการสง่ เสรมิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้ครบทุก กล่มุ สาระ 4. จัดหาสือ่ การเรียนการสอนทท่ี นั สมยั เพือ่ นำมาปรบั ใชก้ บั นักเรียนในหอ้ งเรยี น ๕. จัดโครงการคุณธรรมจรยิ ธรรมอย่างต่อเน่อื งเพื่อปลูกฝงั ใหผ้ ูเ้ รยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรมมากข้ึน มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ จุดเด่น เป็นสถานศึกษาท่ีใช้การบริหารงานแบบมีส่วนรว่ ม มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบท่ามกลางข้อจำกัด ของสถานที่ มีการวางแผน การดำเนินงาน การติดตามตรวจสอบ และมีการพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้การ ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต้นสังกัด คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง และผู้เรียนในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ มีโครงสร้างการ บริหารงานและแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบที่ชัดเจน มีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของ สถานศกึ ษา จุดทคี่ วรพัฒนา 1. จำนวน อาคารเรียน อาคารที่พักนักกีฬา ห้องปฏิบัติการต่างๆ ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาผู้เรียน เท่าท่คี วร 2. การเสริมสร้างแรงจูงใจ/ผลตอบแทนที่ควรได้รับของบุคลากรครูด้านการกีฬา ให้ปฏิบัติงานหรือ ปฏิบัติหน้าที่ให้เต็มท่ี เต็มความรู้และเต็มความสามารถ มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ด้านกีฬาสูงสุดที่เหมาะสมกับโรงเรียน สร้างนักกฬี า 3. สื่อเทคโนโลยี ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ที่มีคุณภาพและเพยี งพอ 4. ครคู วรพฒั นาการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพอยา่ งต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีคู่มือครูด้านการกีฬา ที่กำหนดคุณสมบัติ บทบาท หน้าท่ี กฎเกณฑ์การปฏิบัติงานต่าง ๆ ผลตอบแทน/รางวัลเม่ือบรรลุความสำเร็จในระดับต่าง ๆ หรือกำหนดเป็นระดับร้อยละของการพัฒนา และ รวมถึงการลงโทษหากละเลยการปฏิบัติหนา้ ทไี่ ว้อย่างชดั เจน เพ่ือสรา้ งแรงจงู ใจให้ใฝผ่ ลสัมฤทธิ์ดา้ นกฬี าสคู่ วาม เปน็ เลศิ
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 31 2. สถานศึกษาควรมีอาคารสถานที่ที่ใช้ในการจดั การเรยี นรู้อย่างเพียงพอต่อการจัดการเรยี นการสอน และการฝกึ ซ้อมกีฬาซึ่งจะสง่ ผลใหค้ ุณภาพการจดั การศึกษาสูงยง่ิ ขึ้น มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ จุดเด่น 1.ผูส้ อนมีความมุ่งมนั่ พยายาม อดทน เสยี สละ ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ 2.ผู้เรียนมีความมงุ่ มั่น พยายาม มานะ อดทน และรับผิดชอบต่อการเรียน และการดำเนนิ ชวี ติ ในโรงเรียน เนื่องจากโรงเรียนมีลักษณะเป็นโรงเรียนประจำ ผู้เรียนตอ้ งช่วยเหลอื ตนเอง ตอ้ งมีความรบั ผิดชอบ ตอ่ ตนเองในการจัดสรรเวลาท้ังการเรยี นและการฝึกซ้อมกฬี า 3.จากความมงุ่ ม่นั พยายาม ของท้ังผู้สอนและผูเ้ รยี น ทำให้ประสบความสำเร็จ มชี อ่ื เสียงเป็น ท่ปี ระจกั ษ์ ทง้ั ทางด้านวชิ าการ และกีฬา 4.ผ้สู อนจัดกิจกรรมใหน้ กั เรียนแสวงหาความรจู้ ากส่ือเทคโนโลยีอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5.ผสู้ อนจดั กิจกรรมด้วยวิธกี ารที่หลากหลายใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้โดยการคดิ ได้ปฏิบตั ิจริง จุดทค่ี วรพัฒนา 1. ควรจัดการเรยี นการสอนผ่านระบบ online ให้มคี วามทันสมยั มากขน้ึ ข้อเสนอแนะ 1. ควรจัดหาสือ่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศที่อำนวยความสะดวกในการจดั การเรียนการสอน เพือ่ เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการเรยี นการสอน เพราะผู้เรียนไปทำการแขง่ ขนั บ่อยครั้ง ทำใหบ้ างคนเรียนไม่ทัน ๑๓. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี ๑๓.๑ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑. ข้อมูลทว่ั ไปของสถานศึกษา ประเภท จำนวน หมายเหตุ ๑.๑ ข้อมลู ผเู้ รยี น จำนวนผูเ้ รยี น 430 ๑.๒ ข้อมูลบคุ ลากร ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 1 ครมู ัธยมศึกษา 26 บุคลากรสนบั สนนุ 11 อ่นื ๆ โปรดระบุ............. - ๑.๓ จำนวนหอ้ ง หอ้ งเรียนมัธยมศึกษา 12 ห้องปฏบิ ัติการ 6 ห้องพยาบาล - อ่ืนๆ โปรดระบ.ุ ............ -
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หนา้ 32 ๒. สรปุ ขอ้ มูลสำคญั ของสถานศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ ประเภท ๑ : 15 รร. เทียบรอ้ ย ๒.๑ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๑ : 35.83 ละ นร. อัตราสว่ น ครู ตอ่ ผู้เรียน ครบช้ัน ทงั้ หมด อตั ราส่วน หอ้ ง ต่อ ผ้เู รียน ❑ ไม่ครบชั้น ใน ระดับชน้ั ...... จำนวนครู ครบช้นั 19.05 ๒.๒ ร้อยละของผู้สำเรจ็ การศึกษา 14.76 มัธยมศึกษาปีที่ ๓ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ - - ๒.๓ จำนวนวันท่ีสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนจริง ในปีการศึกษาทปี่ ระเมิน ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ระดับมธั ยมศึกษา ตอนท่ี ๒ ผลการประเมิน SAR รายมาตรฐาน และขอ้ เสนอแนะ การพิจารณา ใหท้ ำเครื่องหมาย √ หนา้ ข้อทพ่ี บข้อมลู ใน SAR ใหท้ ำเคร่ืองหมาย X หนา้ ข้อทีไ่ ม่พบข้อมูลใน SAR ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น จดุ เน้น นักเรยี นมุ่งพฒั นากฬี าสู่ความเปน็ เลิศด้านกีฬา มีมาตรฐานดา้ นวชิ าการ ผลการพิจารณา ตัวชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ ✓ ๑. มีการระบุเป้าหมายคุณภาพของผู้เรยี น o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ) ✓ ๒. มกี ารระบุวธิ ีพฒั นาคุณภาพของผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบตาม พอใช้ (๔ ข้อ) เป้าหมายการพฒั นาผู้เรยี น o ดี (๕ ขอ้ ) ✓ ๓. มผี ลสัมฤทธขิ์ องผู้เรยี นตามเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรียน ๔. มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของผู้เรยี นมาพัฒนาผเู้ รยี นด้าน ผลสมั ฤทธิ์ให้สงู ขนึ้ ✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของผ้เู รยี นต่อผู้ที่ เกีย่ วขอ้ ง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 33 ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรระบุข้อมลู ลงใน SAR อย่างชดั เจน โดยระบุให้เห็นถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการและกีฬา ของผู้เรยี น ที่ได้จากการพัฒนาอยา่ งเป็นระบบว่าเป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากำหนดไว้ หรอื ไม่ อยา่ งไร ท้ังในเร่ืองความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสาร การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นต้น โดยมี การเปรียบเทียบผลกับเป้าหมาย เพ่ือให้เห็นถึงพัฒนาการผู้เรียนที่สูงขึ้น รวมถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สะท้อนให้เห็นด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เด่นชัดขึ้น และควรมีการเปรียบเทียบผลการดำเนินการ ในรอบ 1-3 ปี เพ่อื เปรยี บเทียบพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านวชิ าการ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของสถานศึกษา และกีฬาในรปู แบบต่างๆ เช่น กราฟ ตัวเลข พร้อมการอธบิ ายผลการดำเนินการอยา่ งชดั เจนและต่อเน่ือง มาตรฐานที่ ๒ กระบวนบริหารและการจัดการ จดุ เนน้ บรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมีส่วนรว่ ม ผลการพจิ ารณา ตวั ชว้ี ัด สรปุ ผลประเมิน ✓ ๑. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปีการศึกษา o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๒. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใชด้ ำเนินการ o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ๓. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนนิ การตามแผน ดี (๕ ข้อ) ✓ ๔. มีการนำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรุงแกไ้ ขในปี การศึกษาต่อไป ✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการบริหารจดั การของสถานศึกษาให้ผมู้ ีสว่ น ได้สว่ นเสยี ได้รับทราบ ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สูงข้ึน สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR เพ่ิมเติมในประเด็นความชัดเจนของการมสี ่วนรว่ มในการบรหิ าร ของบุคลากร มีการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาระยะส้ัน และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี อยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษา โดยระบถุ ึงวธิ กี ารดำเนินงาน วธิ กี ารประเมินผล และผลการดำเนินงานไว้ ชัดเจน ว่าใคร ทำอะไร ท่ีไหน อย่างไร มีการกำกับติดตาม การรายงานผลตามแผนการดำเนินงานและมี การเผยแพร่ขอ้ มลู อย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๓ การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั จดุ เนน้ การจดั การเรยี นการสอนที่เน้นให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง ผลการพจิ ารณา ตัวช้ีวัด สรปุ ผลประเมิน ๑. ครมู ีการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ครบทุกรายวชิ า ทกุ ช้ันปี o ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ) ๒. ครทู กุ คนมีการนำแผนการจดั การเรียนร้ไู ปใชใ้ นการจัดการ พอใช้ (๔ ขอ้ ) ✓ เรยี นการสอนโดยใชส้ ่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่ง o ดี (๕ ข้อ) เรยี นรทู้ ่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 34 ผลการพิจารณา ตวั ชว้ี ัด สรปุ ผลประเมิน อย่างเปน็ ระบบ ๔. มีการนำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ✓ ของครอู ยา่ งเปน็ ระบบ ✓ ๕. มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลป้อนกลบั เพอ่ื พัฒนา ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนการสอน ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงข้ึน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญลงใน SAR อย่าง ชัดเจน โดยระบุวิธีการจัดทำแผนการเรียนรู้ ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ ทุกช้ันปี ทุกรายวิชา นอกจากน้ี สถานศึกษาควรระบวุ ิธกี าร การกำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบนเิ ทศการสอนจากผู้เกี่ยวขอ้ งในทกุ รายวิชา คำรับรอง คณะผู้ประเมินขอรับรองว่าได้ทำการประเมิน SAR ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งตัดสินผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกบนฐานความโปร่งใส และยตุ ิธรรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผปู้ ระเมนิ ดังนี้ ตำแหนง่ ชื่อ - นามสกุล ลายมือชื่อ ประธาน นายยทุ ธนา มยะกลุ วันท่ี 7 มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 กรรมการ นายปตี ภิ ัทร กิจบำรุง กรรมการและเลขานุการ นางชตุ กิ าญจน์ จนั ทะพา
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 35 การลงนามรบั รอง สถานศึกษาได้ตรวจสอบ (รา่ ง) รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมนิ SAR ภายใต้ สถานการณ์ COVID – 19 ของคณะผปู้ ระเมินเม่ือวันที่ 7 เดอื นมิถุนายน พ.ศ. 2564 และมผี ลการพิจารณา ดังน้ี ✓ เหน็ ชอบ (ร่าง) รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามทีค่ ณะผปู้ ระเมนิ เสนอ เหน็ ชอบ (รา่ ง) รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการประเมนิ SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามที่คณะผู้ประเมินเสนอ และขอให้ คณะผปู้ ระเมินลงพ้ืนทต่ี รวจเย่ยี ม ลงนาม.............................................................................. (นายสมพล เท่ยี งธรรม) ผ้มู อี ำนาจลงนาม ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา วันท่ี 14 เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ๑ .การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีของสถานศึกษา ๑ .๑ การบริหารจดั การศกึ ษา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ได้จัดแบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ฝ่าย โดยแบ่งเปน็ - ฝา่ ยวชิ าการ หวั หน้าฝา่ ย คือ นางปิยะอนงค์ นิศาวฒั นานนั ท์ - ฝ่ายบรหิ าร หัวหนา้ ฝา่ ย คือ นางสาวอัมพร พินวงษ์สุวรรณ - ฝา่ ยพัฒนาการกีฬา หัวหน้าฝ่าย คือ วา่ ทีร่ ้อยตรธี นกฤต อินเลย้ี ง - ฝา่ ยกิจการนักเรียน หัวหนา้ ฝ่าย คือ นางสาวกษมา ขันทอง ผู้บริหารยึดหลักการบริหาร/เทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA คือ มี การวางแผน ปฏิบัติ ตรวจสอบ และปรับปรงุ เพ่ือนำมาพฒั นาให้ดียง่ิ ข้ึน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) หน้า 36 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรียนกฬี านครนนท์วิทยา ๖ ผบู้ ริหำรองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำนกำรศึกษำ คณะกรรมกำรบริหำรหลกั สูตร ผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ กรรมกำรสถำนศึกษำข้นั พ้นื ฐำน และวชิ ำกำร รองผอู้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ หวั หนำ้ ฝ่ ำยบริหำร หวั หนำ้ ฝ่ ำยวชิ ำกำร หวั หนำ้ ฝ่ ำยพฒั นำกีฬำ หวั หนำ้ ฝ่ ำยกิจกำรนกั เรียน ๑ .๒ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนา จดุ มุ่งหมายเพ่ือการพฒั นา อัตลักษณ์ และ เอกลักษณ์ ของสถานศึกษา วสิ ยั ทัศน์ มุง่ พัฒนากฬี าสู่ความเปน็ เลิศด้านกฬี า มมี าตรฐานดา้ นวชิ าการ บริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนรว่ ม ดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พนั ธกจิ ๑. พัฒนาคุณภาพผ้เู รียนสู่ความเป็นเลศิ ๒. พฒั นาคณุ ภาพครู ๓. สง่ เสริมนักเรียนมีคณุ ธรรมจริยธรรม ๔. สง่ เสริมใหช้ ุมชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา ๕. ส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา ๖. พฒั นาการจดั การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 37 ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ หนว่ ยงานที่ รบั ผิดชอบ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ ๑.๑ สง่ เสรมิ สนับสนุนการบริหารจดั การและบำรุงรกั ษา ทุกฝ่าย การพฒั นาการบรหิ ารจดั การ ทรพั ยากรในการนำมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการ ทกุ ฝา่ ย ภายในองค์กรเพ่ือเพม่ิ พฒั นาการเรยี นการสอน ทุกฝ่าย ทกุ ฝา่ ย ประสิทธภิ าพ ๑.๒ ส่งเสรมิ สนบั สนุน การมสี ว่ นร่วมของประชาชนใน ทกุ ฝ่าย การพฒั นาการจดั การศึกษา ทุกฝ่าย ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ๒.๑ ส่งเสรมิ สนบั สนุน สือ่ นวตั กรรมการเรยี นการสอน ทุกฝา่ ย การพฒั นาสง่ เสริมศักยภาพ ๒.๒ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การเพ่มิ ประสิทธิภาพการจัดการ ทุกฝา่ ย บุคลากรในการปฏบิ ตั ิงาน เรียนการสอน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ ๓.๑ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การศึกษาและคุณภาพชวี ติ ของ การพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลักษณะ ผูเ้ รียน อันพึงประสงค์ เปน็ คนดี คนเกง่ ๓.๒ สง่ เสริม สนับสนนุ ศิลปวฒั นธรรม จารีตประเพณีและ และมคี วามสขุ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ๔.๑ พฒั นา ความเป็นเลศิ ตามอัจฉริยภาพของนักเรยี น การส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้าน ๔.๒ ส่งเสรมิ ทักษะ ศักยภาพสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางดา้ นกีฬา กีฬา จุดมุง่ หมายเพ่ือการพฒั นา ๑. นักเรยี นทุกคนมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานวัตถปุ ระสงค์ พิเศษ ประเภทโรงเรียนสง่ เสริมความสามารถพเิ ศษดา้ นกีฬา 2. นกั เรียนทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อม ด้านความรู้ ทกั ษะ และการดำเนิน ชวี ติ ในการเป็นพลเมือง 3. นักเรยี นทุกคนได้รับการพัฒนาทกั ษะด้านกีฬาตามเกณฑม์ าตรฐาน ๔. นักเรียนทุกคนมีคุณธรรม และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบสานความเป็นไทย ภูมิปัญญาไทยและ ดำเนนิ ชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๕. ครู และบุคลากรทางการศึกษามคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี ๖. เปิดโอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นมีส่วนร่วมในการบรหิ ารงาน อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา เกง่ กีฬา มานะ อดทน เอกลักษณ์ของสถานศึกษา พฒั นาทกั ษะทางด้านกีฬาสอู่ ัตลกั ษณ์
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 38 สว่ นที่ ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๑. ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานเพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๑.๑ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดับคณุ ภาพ ดี กระบวนการพัฒนา 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียนสถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่ หลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ครูได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตาม องค์ประกอบท่สี ถานศึกษากำหนด โดยศกึ ษาและวเิ คราะห์หลักสูตร วเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ศึกษาสาระ การเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เลือกใช้กระบวนการปฏบิ ัติ จัดทำโครงสร้างการสอน ออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้ กำหนดสื่อ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ และภูมปิ ัญญาท้องถิ่น จัดทำและพัฒนาเครอื่ งมือวัดผล นำไปใช้ ในการจัดการเรียนรู้ตามท่ีวางแผนไว้ ประเมินผลการเรียนรู้ครอบคลุมทุกจุดประสงค์การเรียนรู้ ทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลจากการดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ส่งผลให้ นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขึ้น นอกจากน้ีครูยังได้ดำเนินการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายและน ำผลไปใช้ ในการพัฒนาผู้เรียน โดยได้ดำเนินการจัดทำและพัฒนาเครื่องมือวัดผลให้ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ กำหนด โดยการวัดผลก่อนเรยี นและหลังเรียนใช้แบบทดสอบแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก มีแบบตรวจผลงาน กำหนดเกณฑ์การประเมินอย่างชัดเจน และเน้นการประเมินการพฒั นาการของนักเรียนเป็นสำคญั ผลจากการ ดำเนินการดังกล่าว ทำให้ทราบถึงความก้าวหน้าของนักเรียน สามารถพัฒนาและส่งเสริมนักเรียนเป็ น รายบุคคลได้อย่างเหมาะสมและต่อเน่ือง ซ่ึงพบว่านักเรียนมีความกระตือรือร้น อยากเรียนรู้ มุ่งม่ันพัฒนางาน ให้มีคุณภาพสูง ภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง อยากเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันความเป็นเลิศทางวิชาการ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิสูงขน้ึ ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การ คิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มคี วามสามารถในการวิเคราะห์ คิด อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และการมี ความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความ ภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มีการพัฒนา ครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้ส่ือเทคโนโลยีในการจัดการ เรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและ ภายนอกโรงเรียน และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด และ ประเมินผลแบบบูรณาการด้วยวิธหี ลากหลายตามสภาพจริง ครูเน้น การใช้คำถามเพ่อื พัฒนาทักษะการคิดของ ผู้เรยี น โดยมีกระบวนการดังน้ี ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตาม เกณฑ์ ของแต่ละระดับช้ัน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะ การอ่าน เขียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ด้วย ตนเอง กิจกรรมวันสำคัญ ต่าง ๆ ที่กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจัดขึ้น เช่น กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวัน ภาษาไทย การแข่งขันทักษะ ภาษาไทย ทักษะด้านการอ่านและการเขียน โดยจัดให้นักเรียนได้เข้าร่วม การ แข่งขันทักษะภาษาไทยตาม ความสามารถ และตามศักยภาพของนักเรียนและคัดเลือกนัก เรียนที่มี
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หน้า 39 ความสามารถเข้า ร่วมการแข่งขันทักษะ ภาษาไทยกับหน่วยงานภายนอก นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันงาน โครงการทางวิชาการท้องถ่ิน เช่น การแข่งขันท่อง บทอาขยาน ทำนองเสนาะ ตอบคำถามสารานุกรมไทย สำหรับเยาวชน การประกวดการคัดลายมือ พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในด้าน การส่ือสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษเหมาะสมตามการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือ ปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการใช้ปัญหา เน้นการ สื่อสารด้วยการใช้ ภาษาอังกฤษ เช่น การจดั กิจกรรมมัคคเุ ทศกน์ อ้ ย กิจกรรมคา่ ย English Camp ผเู้ รยี นมีความสามารถในด้านการคิดคำนวณเหมาะสมใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบเพิ่มเติมหลังเลกิ เรียน ฝึกทักษะในการคิดคำนวณ การท่องสูตรคูณ ฝึกให้นักเรียนคิดในใจ ฝึกคิดเลขเร็วโดยใช้ แบบฝึกส่งเสริมให้ นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันความสามารถทางคณิตศาสตร์ ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่าง มีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และ จดั ทำโครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 8 กลุ่ม สาระ เช่น กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพ ผู้เรียนทางด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ กิจกรรมแข่งขันทักษะทางภาษา จัดทำโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศ เช่น กิจกรรมค่ายกลุ่มสาระ ภาษาต่างประเทศ กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ จัดทำโครงการติวเข้มวิชาการ ม.3 และ ม.6 เตรยี มความพร้อมสู่ O–NET ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม สามารถกำหนด ออกแบบ สร้าง นวัตกรรมโดยอาศัยองค์ความรู้ใน การแก้ปัญหาด้วยทักษะกระบวนการคิดตามที่ตนเองสนใจ เช่น สื่อ Crossword ทั้งแบบภาษาไทยและแบบภาษาอังกฤษ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ใช้สื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ได้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพการอัพเดทข้อมูล เว็บไซต์ของโรงเรียน เช่น กิจกรรมของโรงเรียน ข่าว ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลเอกสารสำคัญต่าง ๆ สื่อการเรียน การสอน ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศกึ ษา การจัดกิจกรรมแนะแนว เพื่อช่วยให้นักเรียนมีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับการศึกษาตอ่ สายสามัญ และสายอาชีพ การสอบตรง การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา (Admissions) ซ่ึงจะส่งผลให้ นักเรยี นตดั สนิ ใจเลือกศกึ ษาต่อได้ตามความสนใจความสามารถ และความถนัดของตนเอง 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรยี นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตรผ่านโครงการพัฒนาการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และโครงการระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพนักเรียน กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในและภายนอก กิจกรรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย กิจกรรมวัน สำคัญทางศาสนา กิจกรรมวันสำคัญแห่งชาติ กิจกรรมพัฒนางานดนตรี นาฏศิลป์สู่ชุมชน กิจกรรมส่งเสริม ประชาธิปไตยในโรงเรียน กิจกรรมปฐมนิเทศนักเรียน ม.1 ม.4 กิจกรรมค่ายคุณธรรม โครงการพัฒนางาน โภชนาการ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามยั โรงเรียน การจดั ประชุมผู้ปกครองนักเรยี น และคัดเลอื กเครือข่าย ผู้ปกครอง การจัดพิธีถวายพระพรชัยมงคล วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวมหาวชิราลง กรณบดินทรเทพยวรางกูร กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมพิธีไหว้ครู ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ไทย การจัดกิจกรรมวันสุนทรภู่ การจัดกิจกรรมวันภาษาไทย การจัดกิจกรรมย้อนรอยออเจ้า กิจกรรมลอย กระทงสืบสานประเพณีไทย การยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย การจัดโครงการ อบรม PLC ให้กับครู เพ่ือครูจะได้ร่วมมือกันสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือต่อยอด นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ เต็มศักยภาพ การจัดโครงการ พัฒนาผู้เรียน ผ่านกิจกรรมนักเรยี นต่าง ๆ เช่น กิจกรรมกฬี าสี กิจกรรมสัปดาห์ วิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ท ากิจกรรมร่วมกัน มีมนุษยสัมพันธ์ในการท างาน ร่วมกันให้ประสบ ความสำเร็จ การมีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม การจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี การจดั โครงการพัฒนาสมรรถนะและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียน การจัดกจิ กรรม สาระน่ารู้ สุขภาพ เพศ เอดส์ งดสูบบุหร่โี ลก และตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ การจัดกจิ กรรมวนั เอดสโ์ ลก
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 40 ผลการดำเนนิ งาน ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน จากการจัดทำโครงการ/กิจกรรม ที่หลากหลายเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ปรากฏผลการดำเนินงาน ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร สามารถ อ่านออกและอ่านคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละ ระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ดี ใช้เทคโนโลยีและสร้าง นวัตกรรมได้ มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็น ไทย รู้จักการวางแผนสามารถทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดีตามหลัก ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความ คิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหา ความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้ังสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าส่ิงไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมท้ังรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารท่ี สะอาด และมีประโยชน์ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ มีมนุษย์สัมพันธ์มีทัศนคติท่ีดีต่อ อาชีพสุจริต รวมถึงมี ความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย มีการพัฒนาตนเอง ศึกษา ค้นคว้าทดลองจาก แหล่งการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอก รู้จักฝึกคิด ฝึกท า ฝึกแก้ปัญหา เช่น โครงการพัฒนา ผู้เรียนให้มี ทักษะในการค้นคว้าและคิดอย่างเป็นระบบ กิจกรรมเรียนรู้ด้วยโครงงาน กิจกรรมนิทรรศการผลงาน การ เรียนรู้ กิจกรรมใช้ห้องสมุด โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กิจกรรม แข่งขันทักษะทางวิชาการ กิจกรรมศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก เช่น พระราชวังบางปะอิน วัดนิเวศธรรม ประวัติ กิจกรรม ติว O-NET กิจกรรมค่ายวิชาการตามกลุ่มสาระการเรียนเรียนรู้ ส่งเสริมความสามารถด้าน ดนตรีกีฬา นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่มของ สถานศึกษา ของสังคม ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O – NET) - ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น - เอกสารหลกั ฐานการวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ - ผลงานนักเรยี น - โครงการต่างๆ จุดเด่น โรงเรียนกีฬานครนนท์วทิ ยา 6 ดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนด้วยการวางแผนอย่างเป็นระบบ โดย ค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีท่ีหลากหลายและหาแนวทางการแก้ปัญหาเพ่ือบรรลุเป้าหมายที่ก ำหนดแล้ว ดำเนินการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม ตามวงจรคุณภาพ (PDCA) ครูและบุคลากร ทางการศึกษามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำในทุกข้ันตอนของการดำเนินงาน จึงส่งผลให้เป้าหมายท่ีโรงเรียนก าหนด เป็นไปตามเป้าหมายหรือใกล้เคียงเป้าหมายได้มาก ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มี จิต สาธารณะ ในการอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มที ักษะการทำงาน มีสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร อ่านหนังสือออก และ อ่านคลอ่ ง รวมท้งั สามารถเขียนเพอื่ การสอื่ สารไดท้ ุกคนสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วย ตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พัฒนาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน สูงข้ึน ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คา่ นิยม ๑๒ ประการ ผู้เรียนมีทักษะด้านการคิด และมีความสามารถด้าน โครงงานรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้เรียนมีความรู้ตามหลักสูตร ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ตาม ความสามารถและความแตกต่างอย่างหลากหลาย มีกิจกรรมชมรมที่หลากหลายตามความ สนใจของ ผเู้ รียน และตามความถนดั จนสามารถสร้างงานสรา้ งอาชีพให้กับผู้เรยี นได้
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 41 จดุ ที่ควรพฒั นา โรงเรียนควรจัดสรรแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียนควรมีการเขียนรายงานการใช้ด้วย โดยการมีส่วนร่วม และพัฒนา ให้เป็นที่พอใจ มีแบบประเมินความพึงพอใจ ทำบัญชีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนเพ่ือให้มีร่องรอย หลักฐานการใช้ เช่น นักเรียนในโรงเรียนมีท้ังหมดเท่าไหร่ มีการใช้แหล่งข้อมูลจำนวนเท่าไหร่ แต่ละปี เปรียบเทียบให้มีระดับสูงขึ้นทุกปีและการประเมินความสามารถในการอ่านและรักการอ่านของ นักเรียนควรมี หนังสืออ่านนอกเวลาเพ่ิมเติม จัดกิจกรรมโครงการรักษ์การอ่าน และมีบันทึกการอ่าน ของนักเรียนโรงเรียน ควรมีการส่งเสริมและจัดเวทีให้นักเรียนได้ประยุกต์ใช้ความรู้จากห้องเรียนสู่การปฏิบัติให้มากข้ึน เพื่อให้ นักเรียนได้พัฒนาทักษะการคิด การแก้ปัญหาให้มากขึ้น สามารถสร้างองค์ความรู้สู่การนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ อย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาให้นักเรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือพัฒนา ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม การจัดกิจกรรมท่ี มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติท่ีต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธ์ิแต่ละกลุ่มสาระประสบ ผลสำเร็จในระดับหน่ึง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติของนักเรียนมี แนวโน้มเปลย่ี นแปลงพัฒนาขึน้ โดยรวม แตไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์ในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงต้องมงุ่ เน้นพัฒนาตอ่ ไป จัดกิจกรรมด้านการอ่าน การเขียน คำนวณให้กับนักเรียนเรียนรว่ ม เปรียบเทียบความก้าวหน้าและการพัฒนา ของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล 1) พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และการคิดคำนวณเปน็ ไปตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดในแต่ระดบั ชน้ั 2) พฒั นาให้นักเรียนมีความสามารถในการคดิ จำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พจิ ารณา อยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มกี ารอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาอยา่ งมี เหตผุ ล 3) พัฒนาให้นกั เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความร้ไู ดท้ ง้ั ดว้ ยตนเองและการทำงานเป็น ทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใชใ้ นการสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ 4) พัฒนาให้นักเรยี น มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพื่อพฒั นา ตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม 5) พฒั นาให้นักเรยี น มคี วามก้าวหนา้ ในการเรยี นร้ตู ามหลักสูตรสถานศึกษาจากพน้ื ฐานเดิมใน ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้งั 6) พฒั นาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานในการ จดั การเจตคติท่ดี พี ร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชัน้ ที่สูงขน้ึ มีพฤติกรรมเป็นผ้ทู มี่ ีคณุ ธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ กตกิ า 7) พัฒนาให้นักเรยี นมคี ่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศกึ ษามคี วามภูมใิ จในท้องถนิ่ เห็นคุณค่า ของความเป็นไทย มสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทงั้ ภูมปิ ัญญาไทย 8) พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่าง เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั นวัตกรรม/แบบอย่างทีด่ ี โครงงานทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ โครงการโรงเรียนคุณธรรม การได้รับรางวัลการแขง่ ขนั กีฬาประเภทต่างๆ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 42 ขอ้ เสนอแนะ 1. จดั ทำโครงการเพอ่ื ช่วยเหลอื นกั เรียนบางสว่ นท่ขี าดทักษะในการคิดคำนวณอยา่ งจริงจัง และต่อเนื่อง 2. จัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรยี น โครงการประกวดโครงงานนกั เรยี นมีการแลกเปล่ียน เรียนรู้ และนำเสนอผลงานกลุ่มตนเองด้วยความภาคภมู ใิ จ 3. จัดโครงการสง่ เสรมิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารให้ครบทุก กลุม่ สาระ 4. จดั หาสือ่ การเรยี นการสอนท่ีทนั สมัยเพ่ือนำมาปรับใชก้ ับนกั เรยี นในหอ้ งเรียน ๕. จดั โครงการคณุ ธรรมจริยธรรมอยา่ งต่อเน่อื งเพือ่ ปลูกฝังใหผ้ ้เู รียนมีคณุ ธรรมจริยธรรมมากขนึ้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคุณภาพ ดี กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาบริหารงานด้วยวงจรคุณภาพ (PDCA) เริ่มจากการวิเคราะห์สภาพปัญหา จากผลการจัด การศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตาม นโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกัน ในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจของสถานศึกษาให้มีความชัดเจน สอดคล้อง และสนองตอบต่อ วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐ และของต้นสังกัด จากน้ันสถานศึกษาดำเนินการตาม แผนการพัฒนาที่กำหนดไว้ได้อย่างจริงจงั และชัดเจน ซงึ่ สถานศึกษาได้รับความรว่ มมือจากผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทุก ฝ่าย ได้แก่ หน่วยงานต้นสังกัด คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครอง และผู้เรียน รวมท้ังมีการ ติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนาให้ดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ สถานศึกษามีการพัฒนา ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับความรู้และความเข้าใจในเรื่องที่ตนสนใจ และเกี่ยวข้องกับหน้าที่ความ รบั ผดิ ชอบของแต่ละบคุ คล เพ่อื ให้เป็นผู้ทม่ี ีความรู้ ความเชย่ี วชาญในวิชาชพี ของตน มีการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม แนะนำ ช่วยเหลือ เพื่อให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง สถานศึกษามีการบริหาร หลักสูตร พัฒนาหลักสูตร สร้างกิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีเน้นการพัฒนาทักษะและกระบวนการเรียนรู้ของ ผู้เรียนแบบรอบด้าน ตรงจุดมุ่งหมาย สามารถนำมาปรับใช้ไดใ้ นชีวิตจรงิ มีการจัดสภาพแวดล้อมให้เออื้ ต่อการ จัดการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระวิชาตามสภาพบริบทของสถานศึกษาท่ีค่อนข้างมีข้อจำกัดให้เป็นไปอย่างมี คุณภาพ สถานศึกษาได้จัดหาและพัฒนาระบบการบริการสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงความ เหมาะสม ปลอดภัย และเป็นประโยชน์กับผเู้ รยี น ผลการดำเนนิ งาน สถานศึกษาบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ทรัพยากร และงบประมาณท่ีมีอยู่อย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาท้ังด้านงานวิชาการ งานบริหาร งานพัฒนาการกีฬา และงานกิจการนักเรียน อันมีผลส่งต่อให้ คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษามีประสิทธิภาพ เป็นไปตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดเน้น อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษากำหนด ครูและบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ สถานศึกษามีสภาพแวดล้อมแวดล้อมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระ วิชา มีระบบการบริการสารสนเทศเพื่อการเรียนร้ทู ่ีเหมาะสม ปลอดภัย และเปน็ ประโยชน์กับผู้เรยี น อย่างเห็น ได้ชัดเจนว่าในปีการศึกษา 2564 เจอวิกฤติโควิด-19 การจัดการศึกษาของโรงเรียนเป็นไปด้วยความลำบาก
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 43 แต่โรงเรียนได้พยามจัดการศึกษาให้แก่นักเรียนท้ังทางด้านวิชาการและทางด้านกีฬาให้เป็น รูปธรรมเหมาะสม ตามสภาวการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงอยา่ งต่อเนื่อง เชน่ โรงเรียนไดน้ ำนักเรียนท่มี ีความสามารถโดดเด่นทางด้านกีฬา ของแต่ละประเภทกลับเข้ามาเรียนออนไซต์(onsite)ในโรงเรียน ตามแผนการบริหารจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ควบคู่ไปกับการจัดการเรยี นการสอน ออนไลน์(online)สำหรับนกั เรียนทอ่ี ยทู่ างบ้าน จนผเู้ รียนมีผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนและผลการแข่งขันกฬี า ประเภทต่างๆ ประสบความสำเรจ็ เปน็ ทน่ี า่ พอใจ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ที่สนบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง - ภาพถ่าย และบันทึกการประชมุ ครู/คณะกรรมการสถานศกึ ษา - แผนพฒั นาการศึกษา ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) - แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ 2565 - แผนปฏิบัตกิ ารประจำปกี ารศกึ ษา 2564 - แผนการบริหารจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019(COVID-19) - รายงานการบริหารจัดการเรียนการสอนในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) - หลกั สตู รสถานศึกษา - รายงานโครงการตา่ ง ๆ - รายงานผลการแขง่ ขนั กีฬาทุกประเภท - ถว้ ยและเหรียญรางวัลท่ไี ดร้ ับ - รายงานสรุปผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนรายวชิ า (ปถ.๕) - ผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) - รายงานผลการเขา้ รว่ มอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร - ภาพถ่ายการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้ - โครงการนิเทศการสอนภายในสถานศกึ ษา - รายงานการศกึ ษาต่อของนักเรยี นทจ่ี บการศึกษา - โครงการรบั สมคั รและคัดเลือกนักเรียนใหม่ - แฟ้มสะสมผลงานครู - แฟม้ สะสมผลงานเด็ก - ระบบขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาท้องถิน่ (SIS) - ระบบการวัดผลประเมนิ ผล ด้วยโปรแกรม Local School V5.3 - เพจ facebook ของสถานศกึ ษา จดุ เดน่ เป็นสถานศกึ ษาท่ีใช้การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบท่ามกลางข้อจำกัด ของสถานท่ี มีการวางแผน การดำเนินงาน การติดตามตรวจสอบ และมีการพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้การ ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต้นสังกัด คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครอง และผู้เรียนในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ มีโครงสร้างการ บริหารงานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน มีการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของ สถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) หนา้ 44 จดุ ที่ควรพัฒนา - จำนวนอาคารเรียน อาคารที่พักนักกีฬา ห้องปฏิบัติการต่างๆ ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาผู้เรียน เท่าท่คี วร - การเสริมสร้างแรงจูงใจ/ผลตอบแทนท่ีควรได้รับของบุคลากรทางด้านการกีฬา ให้ปฏิบัติงานหรือ ปฏิบตั ิหน้าทีใ่ หเ้ ต็มศักยภาพ มุง่ สูผ่ ลสัมฤทธิด์ ้านกฬี าให้เกดิ ผลสูงสดุ - สือ่ เทคโนโลยี ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ และระบบอินเตอรเ์ นต็ ทีม่ ีคณุ ภาพและเพียงพอ - พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของครูให้มีระบบ และเกิดประสิทธิภาพอย่าง ต่อเนอื่ ง นวัตกรรม/แบบอยา่ งทีด่ ี การบริหารงานของสถานศกึ ษาเร่ิมต้นดว้ ยการจัดวางคนให้ตรงกับงาน ( Put the right man on the right job ) โดยยึดหลักการกระจายอำนาจ หน้าท่ี ภาระและความรับผิดชอบลงสู่ตามสายงานด้านตา่ ง ๆ ของ สถานศึกษา มีการระดมความคิดเห็นร่วมกันก่อนการดำเนินงานทุกงาน แล้วปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบตาม แผนท่ีกำหนดไว้ มีการตรวจสอบถึงความสำเร็จ ปัญหา และอุปสรรคของการดำเนินงานในทุกข้ันตอน เพ่ือหา แนวทางแก้ไข ปรับปรุง และพฒั นางานอย่างตอ่ เน่อื ง ข้อเสนอแนะ 1.ควรมีคู่มือครูด้านการกีฬา ท่ีกำหนดคุณสมบัติ บทบาท หน้าท่ี กฎเกณฑ์การปฏิบัติงานต่าง ๆ ผลตอบแทน/รางวัลเม่ือบรรลุความสำเร็จในระดับต่าง ๆ หรือกำหนดเป็นระดับร้อยละของการพัฒนา และ รวมถึงการลงโทษหากละเลยการปฏบิ ัติหน้าทไ่ี ว้อยา่ งชัดเจน เพอ่ื สรา้ งแรงจงู ใจให้ใฝผ่ ลสัมฤทธ์ิดา้ นกีฬาสูค่ วาม เป็นเลิศ 2.สถานศึกษาควรมีอาคารสถานท่ีที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน และการฝึกซอ้ มกีฬาซ่ึงจะสง่ ผลให้คุณภาพการจัดการศึกษาสงู ย่ิงข้นึ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ กระบวนการพฒั นา สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามตัวชี้วัดของหลักสูตรที่เน้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ โรงเรียน ผู้สอนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซ่ึงวิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมี มากมาย เช่น การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบทดลอง การสอนแบบแบ่งกลุ่มการทำงาน การสอนแบบ อภิปราย ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนต่าง ๆ เหล่าน้ี ได้สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการ เรียนรู้ ได้รบั การฝึกทักษะ กล้าที่จะแสดงออก กล้าแสดงความคิด สรุปความรู้ และนำเสนอความรู้ รวมถงึ การ ที่จะสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างทันสมัย ใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรยี นร้ทู ่ีสามารถเปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้แสวงหาความร้ไู ด้ด้วยตนเอง ผู้สอนมีการบรหิ าร จัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับเด็ก ระหว่างครูกับผู้ปกครอง ใช้ เทคนิคการเสริมแรง โดยการชมเชยผู้เรียน การให้รางวัล ซึ่งจะทำให้เกิดความไว้วางใจสามารถเรียนรู้ และอยู่ร่วมกันได้อย่างมี ความสุข ทำให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ผู้สอนมีการจัดทำวิจัยในช้ันเรียนเพื่อ พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ท้ังรูปแบบการสอนของตนเอง และพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียน เพ่ือช่วยในการ
Search