Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การงานอาชีพ ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการกับผลผลิตทางการเกษตร

การงานอาชีพ ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการกับผลผลิตทางการเกษตร

Description: การงานอาชีพ ม.6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดการกับผลผลิตทางการเกษตร

Search

Read the Text Version

การงานอาชพีการจัดการผลผลิตทางการเกษตร ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 THANK YOU โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖

4หน่วยการเรียนรู้ที่ การจดั การผลติ ทางการเกษตร ตวั ชี้วดั • สร้างผลงานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทกั ษะการทางานร่วมกนั (ง. ๑.๑ ม. ๔-๖/๒) • มีทกั ษะการจดั การในการทางาน (ง. ๑.๑ ม. ๔-๖/๓) • มีทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหาในการทางาน (ง. ๑.๑ ม.๔-๖/๔) • มีทกั ษะการแสวงหาความรู้เพอื่ การดารงชีวติ (ง. ๑.๑ ม.๔-๖/๕) • มีคุณธรรมและลกั ษณะนิสัยในการทางาน (ง. ๑.๑ ม.๔-๖/๖) • ใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร ในการทางานอยา่ งคุม้ คา่ และยงั่ ยนื เพ่ือการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม (ง. ๑.๑ ม.๔-๖/๗)

นวตั กรรมจะช่วยจดั การผลผลติ ทางการเกษตรไดอ้ ยา่ งไร

ววิ ฒั นาการด้านการเกษตร การเกษตรในอดีตจะเน้นใช้พืน้ ทีแ่ ละแรงงาน การเกษตรในปัจจุบันต้องอาศัยความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมต่าง ๆ มา พง่ึ พาธรรมชาตเิ ป็ นหลกั ขาดการจดบนั ทกึ ข้อมูลต่าง ๆ ใช้ในการผลติ ไปจนถึงการแปรรูป ลดต้นทุนการผลติ มาประมวลผลในการวางแผนการผลติ ประหยดั แรงงาน และเพม่ิ มูลค่าให้สินค้าให้ได้มาตรฐาน ทาให้มรี ายได้มากขนึ้ การจดั การผลผลติ การเกษตร สภาพภูมอิ ากาศ/ ระบบการตลาด ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ ปริมาณนา้ ปริมาณ รายได้ การกระจาย ผลผลติ ท่ขี ายได้ สินค้า พืน้ ทผ่ี ลติ รายได้ อานาจการ ต่อรอง

ระบบเกษตรกรรมยั่งยนื เกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรยี ์ เกษตรทฤษฎใี หม่ (Natural Farming) (Organic Farming) (New Theory Farming) เกษตรผสมผสาน วนเกษตร (Integrate Farming) (Agroforestry Farming)

วนเกษตร (Agroforestry Farming)

เกษตรอนิ ทรีย์ การทาการเกษตรดว้ ยกรรมวธิ ีทางธรรมชาติ โดยท่ีพ้นื ที่ท่ีทาเกษตรน้นั ตอ้ งไม่มีสารพษิ หรือ สารเคมีตกคา้ งและหลีกเล่ียงจากการปนเป้ื อนของสารเคมีท้งั ทางดิน ทางน้า และทางอากาศ เพ่ือ ความสมบูรณ์ทางชีวภาพในระบบนิเวศนแ์ ละฟ้ื นฟสู ิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ป็นไปตามสมดุลของ ธรรมชาติใหม้ ากที่สุด โดยไม่ใชส้ ารเคมีสงั เคราะห์ หรือส่ิงท่ีไดม้ าจากการตดั ต่อพนั ธุกรรม และ มุ่งเนน้ การใชป้ ัจจยั การผลิตท่ีมีแผนการจดั การอยา่ งเป็นระบบในการผลิตภายใตม้ าตรฐานการ ผลิตเกษตรอินทรียใ์ หไ้ ดผ้ ลผลิตสูง อดุ มดว้ ยคุณคา่ ทางอาหารและปลอดสารพิษ ท้งั ยงั ช่วยลด ตน้ ทุนการผลิต และสามารถประยกุ ตใ์ ชว้ ตั ถุดิบจากธรรมชาติเพ่ือคุณภาพชีวติ และสนบั สนุน แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

หลักการเกษตรอนิ ทรีย์ ของสหพันธเ์ กษตรอนิ ทรยี ์ นานาชาติ สุขภาพ ระบบนิเวศ ความเป็นธรรม จติ สานึกทดี่ ี ปฏเิ สธการใชส้ ารเคมี เน้นการพง่ึ พา ผลผลติ ทางการเกษตรท่ี ตอ้ งระวงั ผลเสยี ต่อสขุ ภาพ เพราะอันตรายตอ่ สขุ ภาพ ตามกระบวนการธรรมชาติ เพยี งพอและมคี ุณภาพ และส่งิ แวดล้อม เกษตรอนิ ทรีย์

ข้นั ตอนในการทาเกษตรอนิ ทรีย์ การปรับปรุงดนิ การเลือกพนั ธ์ุปลูก • ใส่ป๋ ุยคอกและป๋ ุยหมกั • ปลูกพืชตระกูลถวั่ และไถกลบ การวางแผน • ใช้เมลด็ พืชแบบอนิ ทรีย์ • ต้านทานโรค แมลงและวชั พืช การเลือกพืน้ ที่ • ป้องกนั สารพษิ • เลือกพืชทเี่ หมาะสม • ไกลโรงงาน ใกล้แหล่งนา้ • ศึกษาพืน้ ที่

ระบบการปลกู พชื ไร้ดนิ การปลูกใหร้ ากลอยกลางอากาศ การปลูกในวัสดุปลูก การปลกู ในสารละลายธาตอุ าหารพชื

คุณภาพของนา้ ทใ่ี ช้ หลกั การเตรียมสารละลายธาตุอาหาร การเตรียมสารละลายธาตุอาหาร ชนิดของป๋ ุยหรือสารเคมที ใ่ี ช้ การจดั การสารละลายธาตุอาหาร ในระบบปิ ด สูตรของสารละลายธาตุอาหาร

การปลูกพืชร่วมกบั การเลยี้ งปลา การปลกู พืชร่วมกบั การเลยี้ งปลา เรียกว่า “Aquaponics” คือนา้ ทใี่ ช้เลยี้ งปลาเป็ นแหล่งนา้ และธาตุอาหารของพืช ป้ัม นานา้ ทจี่ ะทงิ้ มาเพาะปลูกพืช ต้องเลือก พืชทไี่ ม่ต้องการธาตุอาหารสูงมากนัก ภาชนะทมี่ นี า้ ปริมาตร 200 – 300 ลติ ร ปลากนิ อาหารจะขบั ของเสียออก มาทุกสัปดาห์ จึงถ่ายนา้ ทงิ้ และเติม เครื่องเตมิ อากาศ นา้ ใหม่ประมาณครึ่งหนึ่ง นา้ ทใ่ี ช้เลยี้ งปลา ปริมาณนา้ 1 ลติ ร : ปลา 1 กโิ ลกรัม ส่ิงทต่ี ้องคานึง 1. อตั ราส่วนระหว่างปริมาตรนา้ ทใี่ ช้เลยี้ ง และสัดส่วนจานวนปลาทเี่ ลยี้ ง 2. เลือกพืชทตี่ ้องการแร่ธาตุไม่สูงมากนักเพื่อเหมาะแก่การเจริญเตบิ โตของพืช ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกใช้พืชผกั สวนครัวเป็ นหลกั

การผลติ พืชในโรงเรือนอจั ฉริยะ มกี ารตดิ ต้ังเคร่ืองมือวดั ความแม่นยาทเี่ กย่ี วข้องกบั ความต้องการของพืช แสดงผลและปรับค่าต่าง ๆ ผ่านแอปพลเิ คชัน

ขั้นตอนการปฏบิ ัติหลังการเก็บเกย่ี วผลผลิตพชื ชนดิ ของพชื อายุของพืช รปู ร่าง สสี นั ขนาดของพชื สภาพดนิ ฟ้า อากาศ เครอื่ งมือในการเกบ็ เกย่ี ว

หลกั การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พืช การรักษาคุณภาพของ ผลผลผลติ การแปรรูป ปัญหาเกย่ี วกบั การตลาด และการจาหน่าย การบรรจุภณั ฑ์ หรือ การบรรจุหีบห่อ

ข้นั ตอนการปฏบิ ตั หิ ลงั การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ พืช การคดั ขนาด การขนส่ งสู่ ตลาด การตดั แต่ง การเคลือบผวิ การคดั เลือก การทาความสะอาด การบ่ม การบรรจุภณั ฑ์

หลกั การแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร จุลนิ ทรีย์ กายภาพ เคมี รังสี นาเชื้อจุลนิ ทรีย์มาช่วย ทาให้แห้งโดยการนา ใช้เคมีเพื่อยบั ย้งั การ ใช้รังสีเพื่อให้เกบ็ รักษา ในกระบวนการแปรรูป ผลผลติ ได้นานขึน้ ความชื้นออก เจริญเตบิ โตของจุลนิ ทรีย์

ส่ วนผสม ตวั อย่างการแปรรูป ผลผลติ ทางการเกษตร มะม่วงแช่อม่ิ อบแห้ง นา้ ตาลทรายขาว 375 กรัม นา้ สะอาด 1 ลติ ร มะม่วงดองเคม็ 1 กโิ ลกรัม KMS (โปรแตสเซียมเมตะไบซัลไฟด์) 1 กรัม กรดมะนาว (กรดซิตริค) 0.003 กรัม นา้ ปนู ใส

ตวั อย่างการแปรรูป ผลผลติ ทางการเกษตร (ต่อ) มะม่วงแช่อมิ่ อบแห้ง (ต่อ) วธิ ีทา นามะม่วงทผ่ี ่านการดอง นามาแช่นา้ เปล่า 30 นาที แช่นา้ ปูนใส 2 – 3 ชั่วโมง เตมิ สาร KMS 1 กรัม เพ่ือล้างความเคม็ ออก แล้วล้างนา้ สะเดด็ นา้ ออก มาปอกเปลือก ต่อ นา้ 1 ลติ ร นาน 20 นาที ห่ันเป็ นชิ้น ให้สวยงาม สะเดด็ นา้ ออก

ตวั อย่างการแปรรูป ผลผลติ ทางการเกษตร (ต่อ) มะม่วงแช่อมิ่ อบแห้ง (ต่อ) วธิ ีทา เติมนา้ ตาล 375 กรัม ต่อ กรดมะนาว ล้างนา้ อุ่น 70 องศาเซลเซียส เปิ ดเตาอบทอ่ี ุณหภูมิ 130 – 160 องศา แล้วนาออกมา นาน 30 วนิ าที แล้วนาไปอบแห้ง (กรดซิตริค) 0.03 กรัม ต่อมะม่วง 1 กโิ ลกรัม วางเกลยี่ ให้กระจายบนถาดซิลโิ คน คลุกให้ทวั่ แช่ตู้เยน็ 1 คืน ปูแผ่นกระดาษรองอบไว้แล้ว นาเข้าเตาอบกลบั ด้าน ทุก 2 ช่ัวโมง หากมสี ีคลา้ ขนึ้ ให้นาออกจากเตา

นวตั กรรมจะช่วยจดั การผลผลติ ทางการเกษตรได้อย่างไร • ช่วยในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในการจัดการผลผลติ ทางการ เกษตร • ช่วยให้การจัดการผลผลติ เป็ นไปตามข้นั ตอนทีก่ าหนด • ประหยดั เวลาในการจัดการผลผลติ • ช่วยให้ได้ผลผลติ ทม่ี คี ุณภาพมากขนึ้ • ช่วยให้มีกาไรจากผลผลติ ทางการเกษตรมากขึน้

VDO

การงานอาชพีการจัดการผลผลิตทางการเกษตร ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 THANK YOU โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖