วจิ ยั ในชั้นเรียน การพัฒนาทักษะการเยบ็ ผ้าพืน้ ฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 คุณครกู ัญญาณี แสนตรี ตำแหน่ง ครู กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ สำนักการศึกษา เทศบาลนครนนทบุรี กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
ก รายงานผลการการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ประจำภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ครูผู้ออกแบบงานวิจยั ในช้นั เรยี น ชอื่ -สกุล นางสาวกัญญาณี แสนตรี วทิ ยฐานะ - หวั ข้อในการวิจยั ในชัน้ เรยี น การพฒั นาทักษะการเย็บผา้ พ้ืนฐาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ความเหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา 1. ครผู ูว้ ิจัยได้ดำเนนิ การแก้ปัญหาและพฒั นาผ้เู รียนตามกระบวนการท่ีได้วางแผนไว้ ดำเนินการแก้ปญั หาและพฒั นาผ้เู รียนแลว้ ไมไ่ ด้ดำเนินการแก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรยี น เนื่องจาก...................................................................... 2. ผลการแก้ไขประเด็นปญั หาหรือการพฒั นาผเู้ รยี นในการวิจัยนก้ี ำหนดไว้ ประสบความสำเรจ็ ไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจาก......................................................................................................... ลงชื่อ (นางสาวประนดั ดา วนวาล) รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา รกั ษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ิทยา 6
ข ช่ืองานวิจัยในชนั้ เรยี น การพฒั นาทักษะการเย็บผ้าพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ช่ือครูผู้วจิ ัย นางสาวกัญญาณี แสนตรี หัวหนา้ งานวิชาการ นางปิยะอนงค์ นิศาวฒั นานนั ท์ ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา นางสาวประนัดดา วนวาล บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการเย็บผ้าพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที ี่ 3 โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ ได้มาโดยการสุ่มประชากรกลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 42 คน เครอ่ื งมือ ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยเปน็ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล และแบบประเมินผลงานนักเรียน สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล (2) แบบประเมินผลงานนกั เรียน ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล นักเรียนที่ได้ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จำนวน 3 คน นักเรียนได้ระดับผ่านเกณฑ์การตัดสินคุณภาพระดับพอใช้ จำนวน 17 คน นกั เรยี นไดร้ ะดับผ่านเกณฑ์การตัดสินคุณภาพระดับดี จำนวน 22 คน (2) แบบประเมินผลงานนักเรียน ระดบั คณุ ภาพพอใช้ 27 คน นักเรียนไดร้ ะดบั ผา่ นเกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพระดับดี จำนวน 15 คน
ค กติ ติกรรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาอย่างสูงจาก นางสาวประนดั ดา วนวาล รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา รกั ษาการในตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ท่ีปรึกษางานวิจัยในชั้นเรียนที่กรุณาให้คำแนะนำปรึกษา ตลอดจน ปรบั ปรงุ แก้ไขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ ด้วยความเอาใจใสอ่ ยา่ งดยี งิ่ ผู้วิจัยตระหนักถึงความต้งั ใจจริงและความ ทมุ่ เทของอาจารย์และขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ ที่น้ี ขอขอบพระคุณ นางปิยะอนงค์ นิศาวัฒนานันท์ หัวงานงานฝ่ายวิชาการ และหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ ความอนุเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยในชั้นเรียน ที่ให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการทำงานวิจัย ตลอดจนนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ทุกคนทใ่ี ห้ความร่วมมือในการทำกจิ กรรมในช้ันเรียน และ ตัง้ ใจทำงานท่คี รูมอบหมายหมายจนทำให้งานวิจัยนส้ี ำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี อนึง่ ผู้วิจยั หวงั ว่า งานวิจยั ในช้ันเรยี นฉบบั นี้จะมีประโยชน์ในการพฒั นาผเู้ รียนอยู่ไมน่ ้อย จึงขอ มอบส่วนดี ทั้งหมดนี้ให้แก่เหล่าคณาจารย์ท่ีได้ประสิทธิประสาทวิชาจนทำให้ผลงานวิจยั ในชั้นเรียนเป็น ประโยชนต์ อ่ ผู้ที่เก่ยี วข้องและขอมอบความกตัญญูกตเวทติ าคุณ แด่บดิ า มารดา และผ้มู พี ระคุณทุกท่าน สำหรับข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น ผู้วิจัยขอน้อมรับผิดเพียงผู้เดียว และยินดีที่จะรับฟัง คำแนะนำจากทกุ ทา่ นท่ีไดเ้ ขา้ มาศึกษา เพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการพฒั นางานวิจยั ตอ่ ไป ผู้วจิ ยั กันยายน 2563
สารบัญ ง เนือ้ หา หนา้ รายงานผลการการวจิ ยั ในชน้ั เรียน ก บทคัดย่อ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค บทที่ 1 ทมี่ าและความสำคญั ของการทำวจิ ยั ในช้ันเรยี น 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้อง 3 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั 6 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 8 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัย 12 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ประวตั ยิ อ่ ผทู้ ำวจิ ัย
1 วิจัยในชน้ั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ บทท่ี 1 ทม่ี าและความสำคญั ของการทำวจิ ัยในชั้นเรยี น 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากนักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจการดูแลเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย ขาดทักษะการปฏิบัติงาน และไม่ สามารถสร้างช้ินงานจากการเยบ็ ผ้าพื้นฐานได้ ซงึ่ การฝึกการตดั เยบ็ เสื้อผ้า การดูแลเสอ้ื ผ้า การซ่อมแซม เสื้อผ้าเป็นเนื้อหาสาระที่นักเรียนจะต้องฝึกปฏิบัติงานให้เป็น เพราะเป็นสิ่งที่นักเรียนจะต้องทำใน ชวี ิตประจำวนั ของนกั เรียนเอง เพ่ือเป็นการประหยัดคา่ ใช้จา่ ยช่วยเหลอื ผู้ปกครองและเป็นการปลูกฝังให้ นักเรียนเป็นผู้พอเพียง ฝึกทักษะการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหาของนักเรียนในการลงมือสร้างชิ้นงาน นักเรียนสามารถนำชิ้นงานที่ประดิษฐ์ขึ้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเชิญชวนเพื่อนนักเรียน ในโรงเรยี นสวมหนา้ กากอนามัยในยุคที่มโี รคตดิ ต่อไวรัสโคโรนา่ (COVID-19) และมลพษิ ทางอากาศฝุ่น P.M 2.5 2. วตั ถุประสงค์ของการวิจยั นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง หลกั การดแู ลเส้ือผ้า การทำความสะอาด การจัดเก็บและรีด ผ้าได้อย่างถูกวิธี และพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนในการลงมือสร้างชิ้นงาน การซ่อมแซม เสื้อผ้าและประดิษฐ์หน้ากากผ้าป้องกันฝุ่น PM 2.5 และป้องกันไวรัส COVID-19 นักเรียนสามารถนำ ชน้ิ งานท่ปี ระดิษฐข์ น้ึ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ได้ 3. ความสำคญั ของการวิจยั 3.1 นักเรียนเป็นผู้มีความรู้และเข้าใจ สามารถตอบคำถามก่อนเรียนและหลังเรียนได้ เรื่อง หลักการดูแลเสื้อผ้า และเนื้อผ้าแต่ละประเภทได้ และยังสามารถทำความสะอาดเสื้อผ้า จัดเก็บและรีด ผ้าได้อย่างถกู วิธี 3.2 นักเรียนสามารถดูแลเสื้อผ้าของนักเรียนให้สะอาด ใช้งานได้นาน ซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด เบ้อื งต้นไดแ้ ละสร้างชิ้นงานจากการเยบ็ ผา้ พื้นฐานได้ นำชนิ้ งานไปใชจ้ รงิ ในชีวติ ประจำวนั 3.3 นกั เรียนแตง่ กายด้วยเสอ้ื ผ้าทีเ่ รียบรอ้ ย สะอาด และเหมาะสมกบั สถานท่ีและโอกาส 4. ขอบเขตของการวิจัย 4.1 นักเรียนในรายวชิ าการงานอาชีพ ง ๒๓๑๐๑ กลมุ่ สาระการงานอาชพี 4.2 นักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/2 จำนวน 42 คน 5. ขอ้ ตกลงเบื้องต้น 5.1 นักเรียนส่งผลงานแบบฝึกหัด ใบงานที่ 2.1.1 เรื่อง การดูแลรักษาเสื้อผ้าและเครื่อง ประกอบการแต่งกาย ตามวันและเวลาที่ครูกำหนด เพื่อครูจะนำไปใช้ในการวัดและประเมินผลการ เรยี นร้ขู องนกั เรยี น
2 วิจัยในช้ันเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ 5.2 นักเรียนส่งผลงานที่ได้ลงมือปฏิบัติงานเย็บผ้าและการเย็บแมสก์หน้ากากผ้าตามวันและ เวลาที่ครูกำหนด ครูจะสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน เพื่อจะนำไปใช้ในการวัดผลและ ประเมนิ ผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน 6. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 6.1 การเนา หมายถึง การเนาเป็นการเย็บผ้าให้ติดกันชั่วคราว เพื่อไม่ให้ผ้าน้ันเคลื่อนที่จาก จดุ หมาย การเนาใชใ้ นโอกาส เชน่ เนาก่อนสอย เนาก่อนเย็บตะเข็บให้ติดกนั เนาเพื่อทำเครื่องหมายใน การเย็บ เนาเพื่อทำจีบรูด วิธีการเนา ใช้เข็มร้อยด้าย แทงขึ้นและลงบนผืนผ้าให้ได้ระยะเสมอกันเป็น แนวตรง ระยะห่างเสมอกัน 6.2 การด้น หมายถึง การด้นเป็นการเย็บด้วยมือที่ใช้แทนการเยบ็ ดว้ ยจกั รมีความทนทานมาก แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ การด้นตะลุย วิธีทำคล้ายการเนาเป็นการเย็บผ้า 2 ชิ้นให้ติดกันอย่างถาวร โดยแทงเข็มขึ้น และลงให้ฝีเข็มถี่ที่สดุ ใช้เย็บทั่วไปทำแนวรดู ปะผ้า และ การด้นถอยหลังเป็นการเยบ็ ผา้ 2 ชนิดให้ติดกันโดยแทงเข็มขึ้น และย้อนกลับไปแทงเข็มด้านหลัง ให้มีเข็มมีความยาวเพียงพอ ของฝี เข็มแรงแทงเข็มลงแลว้ ดึงดา้ ยขึ้นทำเช่นน้ี ไปจนส้ินสดุ ตะเขบ็ 6.3 การสอย หมายถึง การสอย เป็นการเย็บด้วยมืออีกชนิด เพื่อเก็บรอยลุ่ยในเสื้อผ้าที่เย็บ ประกอบเป็นตัวเสร็จแล้ว พับสอยให้เกิดความสวยงามเรียบร้อย เช่น สอยพับชายเสื้อ ปลายแขน ชายกระโปรง การสอยจะทำให้ผลงาน ดูดี มีราคา ประณีตกว่าการใช้จักรเย็บ และในบางส่วนที่ไม่ ตอ้ งการให้ลุ่ย ใชก้ ารสอยเพื่อปดิ แนวเปดิ ต่างๆ ได้ดี สวยงาม เชน่ การเยบ็ หมอนที่ยัดนุ่นจะสอยปิดแนว เปิดทีใ่ สน่ นุ่ 6.4 การชุน หมายถึง เป็นการซ่อมแซม เสื้อหรือผ้าชำรุด ที่เนื้อผ้าขาดหายไปเหมาะกับรอย ขาดที่ไม่กว้างมาก ใช้ความประณีต ทำให้รอยชุนกลมกลืนกับผ้ารอบรอยขาด โดยใช้ด้ายหรือไหม สี เดยี วกันกับผ้า หรือใกลเ้ คียงกัน มาถักหรือสานปดิ รอยขาด 6.5 การสนเข็ม หมายถงึ รอ้ ยด้ายหรือไหมเข้าไปในรเู ข็มเพอื่ การเย็บผ้า 6.6 แมสก์ (Mask) หมายถงึ หนา้ กาก, ส่ิงปิดบงั , กำบัง, ปกคลุม, ใสห่ นา้ กาก
3 วจิ ยั ในชนั้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 1. แนวคดิ และทฤษฎีที่เกยี่ วข้อง 1.1 ความรูพ้ ้ืนฐานการตัดเย็บเบื้องตน้ อปุ กรณ์ตัดเย็บเส้ือผ้า 1. สายวดั สายวัดท่ดี คี วรทำด้วยผา้ อาบน้ำยาเคมี เพ่อื ปอ้ งกันการหดหรือยดื มโี ลหะหุ้มที่ปลาย ท้ัง 2 ข้าง มีตวั เลขบอกความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและน้วิ 2. กระดาษสร้างแบบ ใชส้ ร้างแบบก่อนตดั ผ้า มที ง้ั สีขาวและสนี ้ำตาล 3. กรรไกรตัดผ้า มี 2 ชนิด คือ ชนิดด้ามโค้งและด้ามตรง ซึ่งกรรไกรด้ามโค้งจะตัดได้เทีย่ งตรง กว่า เพราะใบกรรไกรอยู่ขนานกับผ้าขณะตัด ไม่ควรทำกรรไกรตกขณะใช้เพราะทำให้เสียคม หมั่นลับ กรรไกรให้คมเสมอ และหยอดนำ้ มนั จกั รเป็นครัง้ คราวเพื่อป้องกันไม่ให้กรรไกรฝดื 4. ชอลก์ เขยี นผ้า ใชท้ ำเคร่อื งหมายบนผ้ามที ั้งแบบแทง่ เหมือนดนิ สอและแบบแผ่นรูสามเหลย่ี ม 5. กระดาษกดรอย เปน็ กระดาษสีมีหลายสี อาบด้วยเทียนไข ใชก้ บั ลูกกลิ้งเพื่อกดรอย เผื่อเย็บ เกลด็ หรอื ตะเขบ็ ลงบนผา้ ควรเลือกให้เหมาะกบั สขี องผา้ 6. ลูกกลิ้ง ใช้คู่กับกระดาษกดรอย มี 2 ชนิด คือ ชนิดลูกล้อฟันเลื่อย และชนิดปลายแหลม เหมือนเข็ม โดยทั่วไปนิยมใช้ชนิดลูกล้อฟันเลื่อยมากกว่า เพราะลูกกลิ้งติดสีได้ดีและรอยมีความถี่ มากกว่า
4 วิจยั ในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ 7. เข็มเยบ็ ผ้า ควรเลือกให้เหมาะสมกบั ผ้า เช่น เขม็ เบอร์ 10–11 มีขนาดเลก็ ใชก้ บั ผ้าเนื้อบาง เบา เขม็ เบอร์ 9 มขี นาดกลางใชก้ บั ผา้ เน้ือหนาปานกลาง และเข็มเบอร์ 8 มขี นาดใหญ่ใช้กบั ผ้าเนือ้ หนา 8. เข็มจักร ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของด้ายและความหนาของเนื้อผ้า เช่น เข็มจักร เบอร์ 9 ใช้กับผา้ แพร ผา้ ชฟี อง ผ้าไหม และผ้าปา่ น เขม็ จกั รเบอร์ 11 ใช้กบั ผ้าสกั หลาดและผ้าฝา้ ยผสม ไนลอน เข็มจักรเบอร์ 13 ใช้กับผ้าลินิน ผ้าเสิร์จ และผ้าฝ้าย เข็มจักรเบอร์ 14 ใช้กับผ้าขนสัตว์ ผ้าใย สังเคราะห์ และผ้าขนสตั ว์ผสมสำลี เข็มจกั รเบอร์ 16 ใช้กบั ผ้าใบ ผา้ ยีน และหนัง 9. เข็มหมุด ใช้กลัดเพื่อป้องกันการเคล่ือนเวลากดรอยเผ่ือเย็บ ใช้ทำเคร่อื งหมายลงบนผ้า หรือ เนาผ้าให้ติดกัน เมอ่ื จะตดั ผ้าตามแบบ 10. ด้าย ใช้เย็บเพื่อประกอบชิ้นส่วนของผ้าใหต้ ดิ กัน ควรเลือกใหเ้ หมาะสมกับสีผ้า ความหนา ของผา้ และขนาดของเข็ม ดา้ ยที่นยิ มใช้กบั ผา้ ทกุ ชนิด คอื เบอร์ 60 11. ที่เลาะด้าย ใช้เลาะด้ายส่วนที่ไม่ต้องการทิ้ง ส่วนปลายมีลักษณะแหลมคมและมีง่าม มี ปลอกสวมเพ่อื ความปลอดภยั 12. หมอนเข็ม เปน็ อุปกรณ์พักเขม็ ชนิดต่าง ๆ หลังใช้งานหรอื รอการใช้งาน หมอนเข็มที่ดีควร ทำจากผ้ากำมะหยห่ี รอื ผ้าขนสัตว์ ไส้ในควรบรรจดุ ว้ ยเส้นผม ขนสตั ว์ หรอื ขี้เลื่อย เพ่อื ป้องกันสนิม การเลอื กผา้ เพอ่ื ใชใ้ นการตดั เยบ็ 1. ควรเลอื กผ้าท่ที อเนอื้ ละเอียด ไม่บาง มีน้ำหนักเพ่อื ใหจ้ ับได้เต็มทขี่ ณะเย็บ 2. ควรเป็นผ้าสพี ื้น ไม่ควรใชผ้ ้าที่ต้องต่อลายให้ตรงกนั 3. ควรเปน็ ผ้าท่ีไมย่ บั งา่ ย เพราะจำทำให้เสยี เวลาในการรดี 4. ควรเปน็ ผ้าทส่ี ีไม่ตก และหลีกเล่ยี งการใชผ้ า้ สีเขม้ เชน่ สีนำ้ เงิน น้ำตาล 5. ควรเปน็ ผา้ ทมี่ คี วามคงทน เสน้ ด้ายทอไม่แตกง่าย และไม่ยดื หรือหดเม่ือผ่านการซัก 6. ควรเป็นผา้ ที่สวมใส่แล้วสบายตัว ไม่ระคายเคืองผิว 7. ควรเลือกผ้าตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำไปใช้ เชน่ ผ้าทใี่ ชต้ ัดชุดนอนควรเป็นผ้าเน้ือน่ิม เปน็ ตน้ 8. ไม่ควรเลอื กใชผ้ ้าราคาแพง เพราะหากตดั เยบ็ ไมส่ ำเรจ็ จะส้นิ เปลอื งโดยเปลา่ ประโยชน์ 9. พยายามเลีย่ งผา้ ทม่ี ีเชิงริมผ้าทง้ั 2 ดา้ น เพราะจะทำให้ตัดและเยบ็ ประกอบเปน็ ตัวเสื้อไดย้ าก สำหรบั ผา้ ที่วางจำหนา่ ยตามทอ้ งตลาดมคี ุณสมบตั ิเฉพาะทแี่ ตกตา่ งกนั ไป ดงั น้ี 1. ผ้าฝ้าย มีคุณสมบัติซึมซับน้ำและระบายความร้อนได้ดี ทนความร้อนสูง ทนต่อการซักรีด ราคาไม่แพงและตัดเย็บง่าย เหมาะจะนำมาตดั ชุดนอน ชุดลำลอง กางเกง กระโปรง ชุดเด็ก และผ้าออ้ ม 2. ผ้าลินิน มีคุณสมบัติซึมซับน้ำได้ดีและมีความเหนียวมาก สวมใส่สบาย เหมาะที่จะนำมาตัด เย็บเปน็ ของใช้ในครัว แตไ่ ม่ควรนำมาฝกึ ตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ เพราะยับง่าย รดี ยาก และราคาแพง
5 วิจัยในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ 3. ผ้าไหม เน้อื นุ่ม เบา ข้นึ เงาสวยงาม นยิ มนำมาตดั ชุดสำหรับงานพธิ ี งานกลางคืน หรอื โอกาส พเิ ศษ ไม่ควรนำมาฝกึ ตัดเย็บเสือ้ ผา้ เพราะซกั รีดยาก ราคาแพง 4. ผ้าขนสตั ว์ มีความยืดหยนุ่ ดีเยย่ี ม ไม่ยับ และเกบ็ ความร้อนไดด้ ี แต่มีราคาแพง นิยมนำมาตัด เปน็ เสือ้ ผ้าและเคร่อื งกันหนาว 5. ผ้าเส้นใยสังเคราะห์ ถ้าร้อยเปอร์เซ็นต์จะร้อน ไม่ซับเหงื่อ และสวมใส่ไม่สบาย แต่ชนิดที่ ผสมเส้นใยธรรมชาติจะไม่ยับ ซักรีดง่าย และสวมใสส่ บายกวา่ นอกจากนี้ยงั มคี วามเหนียวและจบั จีบได้ สวยงาม ผ้าเส้นใยสังเคราะห์มีชื่อเรียกทางการค้าต่าง ๆ กัน เช่น วิสคอสเรยอน ไลครา เคดอน แอน ทรอน เดครอน ไวครอน ออร์ลอน ไวคารา เปน็ ต้น ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานตัดเย็บเสอื้ ผ้า 1. ศกึ ษาวธิ กี ารใชใ้ ห้ละเอยี ดก่อนทกุ คร้ัง 2. ขณะใช้อปุ กรณก์ ารตัดเยบ็ เสอ้ื ผา้ ควรแตง่ กายให้รัดกุม 3. ถา้ ง่วงนอนหรอื รา่ งกายออ่ นเพลียให้หยดุ ทำงานทนั ที 4. ถ้าอปุ กรณก์ ารตดั เย็บเสือ้ ผ้าผิดปกติหรอื ชำรุดใหร้ บี ซ่อมทนั ทีก่อนนำมาใช้ 5. เมื่อใชง้ านเสร็จควรเก็บไวใ้ นท่ีมิดชิดและแยกประเภทให้เปน็ ระเบยี บเพ่ือความสะดวกใชง้ าน 6. อปุ กรณก์ ารตดั เยบ็ เสอื้ ผ้าทมี่ คี วามแหลมคม ควรใชด้ ว้ ยความระมดั ระวงั เปน็ พิเศษ 7. อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ต้องใช้ไฟฟ้า เช่น เตารีด จักรเย็บผ้าไฟฟ้า ควรถอดปลั๊กและเก็บสายไฟฟ้า ใหเ้ รียบรอ้ ยหลงั ใช้งาน
6 วิจยั ในชัน้ เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วิทยา ๖ บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั 1. ประชากร นักเรียนในรายวชิ าการงานอาชพี ง 23101 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จำนวน 85 คน โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ 2. กลมุ่ ตัวอยา่ ง นกั เรียนในรายวชิ าการงานอาชีพ ง 23101 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3/2 จำนวน 43 คน โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖ 3. เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล 3.1 ใบงานท่ี 2.1.1 นกั เรียนจำนวนรอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ทีค่ รูตง้ั ไว้ 3.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล นักเรียนได้ระดบั คุณภาพพอใช้ ผา่ นเกณฑ์ 3.3 แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นได้ระดบั คุณภาพพอใช้ ผา่ นเกณฑ์ 3.4 แบบประเมนิ ผลงาน นักเรยี นมีระดับคุณภาพพอใช้ ขน้ึ ไปถือวา่ ผา่ นเกณฑท์ ่ีครูกำหนด 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4.1 ครตู รวจสอบใบงานท่ี 2.1.1 เร่อื ง การดแู ลรกั ษาเส้อื ผ้าและเคร่อื งประกอบการแต่งกาย 4.2 ครตู รวจสอบการทำกจิ กรรมในแบบวัดและบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 4.3 ครูประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล และการสงั เกตคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 4.4 ครูตรวจชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรือ่ ง การตัดเยบ็ หน้ากากอนามยั จากผา้ 5. การวิเคราะห์ข้อมูล จากการจัดกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ใหแ้ ก่นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3/2 จำนวน 42 คน จำนวน 8 ชัว่ โมง สรุปไดด้ งั น้ี ขั้นที่ 1 ขั้นการสังเกตรวบรวมข้อมูล ครูถามคำถามนักเรียนโดยใช้คำถามที่ทดสอบความรู้เดิม ของนักเรียนก่อนเข้าสู้เนื้อหา โดยใช้คำถามให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น ตั้งสมมุติฐาน เพื่อกระตุ้น ประสบการณ์ให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้ และนกั เรียนใหค้ วามร่วมมือในการตอบคำถามโดยการนำความรู้ ที่ได้จากชั่วโมงที่ ๑-๒ มาใช้ตอบคำถาม และชั่วโมงที่ ๓-๔ ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานไปแล้วมาร่วม กนั แสดงความคดิ เห็น นกั เรยี นมคี วามกระตือรือร้นในการสบื ค้นข้อมลู เพ่ิมเติม โดยท่ีครูได้แนะนำแหล่ง การเรียนรู้ตา่ ง ๆ ให้
7 วิจัยในชนั้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ ขั้นที่ 2 ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ เมื่อนักเรียนได้ฝึกลงมือปฏิบัติชิ้นงานในชั่วโมงก่อน หน้านี้ นักเรียนได้รับประสบการณ์โดยตรง ทำให้พบปัญหาและใช้วิธีการแก้ปัญหาในขณะทำงานให้ ผลงานของนักเรียนประสบความสำเร็จ นักเรียนจะสามารถสรุปองค์ความรู้ต่างๆ ได้ และสามารถ ออกแบบหรือคดิ สรา้ งสรรคแ์ นวทางอยา่ งหลากหลาย และตัดสนิ ใจเลอื กวิธีการท่ีดที ส่ี ดุ ได้ ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติงาน นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานจรงิ และเม่ือ ปฏิบัติงานนักเรียนจะพบปัญหาในการทำงาน ครูก็จะอธิบายเพื่อฝึกให้นักเรียนแก้ปัญหา นักเรียนนำ ความเข้าใจที่เกิดจากการปฏิบัติมาสร้างองค์ความรู้ จากนั้นจะสรุปความคิดรวบยอดที่ได้จากขั้นตอน ของการปฏิบัติงาน สามารถประเมินความสำเรจ็ ของงานเพื่อปรับปรุงและแก้ปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้นสื่อสารและนำเสนอ ขณะที่นักเรียนนำเสนอผลงานของตนเอง เพื่อนในชั้นร่วมกัน แสดงความคิดเห็นต่อชิ้นงาน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ครูจะคอยช่วยเสริมและแนะนำติชม และ ฝึกให้นักเรียนนำทักษะที่ได้จากการลงมือปฏบิ ัติงานไปใช้ในการต่อยอดในการสร้างชิ้นงานเพื่อนำไปใช้ ได้จริงในชีวิตประจำวันของนักเรียน นักเรียนเป็นกลุ่มตัวอย่างในการสวมหน้ากากอนามัยจากผ้าใน โรงเรียน เพอ่ื ส่อื ถงึ เพ่ือนนักเรียนในโรงเรียนให้สวมหนา้ กากอนามัยจากผ้า ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อ ไวรสั โคโรนา่ (COVID-19) และมลพษิ ทางอากาศฝุน่ PM 2.5 ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า นักเรียนต้องใช้หน้ากากอนามัยในชีวิตประจำวันของ นักเรียนอยู่เสมอ นักเรียนร่วมกันประชาสัมพันธ์จากเพื่อนถึงเพื่อน จากพี่ถึงน้อง และจากน้องถึงพี่ ให้ สวมหน้ากากผ้า โดยการสวมใส่หน้ากากผ้าที่ตนเองประดิษฐ์ขึ้นเอง เพื่อป้องกันเชื้อโรคและมลพิษฝุ่น ควนั
8 วจิ ัยในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 1. ตารางแสดงข้อมูลการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ข้อมูลการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ชอ่ื นักเรียน นามสกุล เลขที่ ข้อท่ี ขอ้ ท่ี ขอ้ ที่ ข้อที่ ขอ้ ท่ี คะแนน สรุปผลตาม ทสั จนั ทร์ 1 2 3 4 5 เกณฑป์ ระเมนิ เด็กชายสกุ จิ น์ เดก็ ชายวรเชษฐ์ 121212 8 พอใช้ เดก็ ชายฉัตรชัย เด็กชายธนวัฒน์ ชาติพรต 221212 8 พอใช้ เด็กชายสุรเชษฐ์ เดก็ ชายลขิ สิทธิ์ พาโพธ์ิ 3 2 2 3 2 2 11 ดี เดก็ ชายปฏพิ ัทธิ์ เดก็ ชายนรินทร์ รองชูเพง็ 4 2 3 3 2 2 12 ดี เด็กชายกฑาวธุ เด็กชายโภคนิ จนั ทรโ์ คตร 5 2 3 2 3 2 12 ดี เดก็ ชายอดศิ ร เด็กชายพรี พัฒน์ ศลิ ปวสิ ุทธิ์ 6 2 2 2 3 3 12 ดี เดก็ ชายวรพล เดก็ ชายภวัตพงศ์ แกว้ นก 7 2 2 2 3 3 12 ดี เดก็ ชายญาณพัฒน์ เด็กชายปฏิภาณ ชชู ลา 8 2 3 3 2 2 12 ดี เดก็ ชายอานนท์ เดก็ ชายศรวษิ ฐา คงมา 9 3 2 3 2 2 12 ดี เดก็ หญงิ จนิ ต์จุฑา เดก็ หญงิ ชลติ า ปญั สมคิด 10 2 2 2 2 2 10 พอใช้ เด็กหญิงนันทิญา เด็กหญิงอรสิ รา ภกู ลน่ิ ดาว 11 3 2 3 3 2 13 ดี เด็กหญิงวริศรา เด็กหญิงกานต์ธิดา ไพรงาม 12 2 2 2 2 2 10 พอใช้ เด็กหญงิ พรสวรรค์ เดก็ ชายจักรี โพธิ์ประจัก 13 2 1 2 2 2 9 พอใช้ เดก็ ชายชิติพัทธ์ เดก็ ชายณชั พล เสาวโร 14 1 1 2 2 2 8 พอใช้ เด็กชายศภุ โชค เดก็ หญิงกมลวรรณ กะหรีม 15 1 1 2 2 2 8 พอใช้ เด็กหญงิ กญั ญาณัฐ ศรที อง 16 2 1 1 2 2 8 พอใช้ เย็นสขุ 17 2 3 3 2 2 12 ดี นาคทอง 18 2 2 1 1 2 8 พอใช้ ชะบำรุง 19 3 3 3 3 2 14 ดี บญุ เพง็ 20 2 2 1 2 2 9 พอใช้ อ่อนละมูล 21 3 3 3 3 2 14 ดี ลนุ ไธสง 22 3 3 3 3 2 14 ดี สีทาเลิศ 23 2 3 3 3 3 14 ดี เกษมสขุ ไพศาล 24 2 2 3 3 3 13 ดี เจนจบ 25 2 2 3 3 3 13 ดี พรมสอน 26 2 2 2 3 3 12 ดี เล็กพันธ์ 27 1 1 2 2 1 7 ปรับปรุง สุขลติ ร 28 2 2 2 2 2 10 พอใช้ ฤกษ์ดี 29 2 2 2 1 2 9 พอใช้ สุขแจ่ม 30 3 2 3 3 3 14 ดี บงกฎ 31 2 3 3 3 3 14 ดี
9 วจิ ยั ในชนั้ เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ 1. ตารางแสดงข้อมลู การสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล (ตอ่ ) ขอ้ มูลการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล ชื่อนกั เรียน นามสกุล เลขที่ ขอ้ ที่ ข้อท่ี ข้อท่ี ขอ้ ที่ ข้อที่ คะแนน สรุปผลตาม เดก็ ชายธนทตั คมสัน 1 2 3 4 5 เกณฑ์ ประเมิน 32 1 1 2 2 1 7 ปรบั ปรุง เด็กชายณฐั ภู หริกจนั ทร์ 33 2 1 2 2 1 8 พอใช้ เด็กชายธนศกั ดิ์ อทุ มุ พร 34 2 2 2 3 3 12 ดี เดก็ ชายพรี ะกานต์ นุย้ เมอื ง 35 2 1 2 2 2 9 พอใช้ เด็กชายเสฎฐวุฒิ มฏั ฐารักษ์ 36 1 1 2 1 2 7 ปรับปรุง เดก็ ชายธนพล จันทรง์ าม 37 2 2 3 3 2 12 ดี เดก็ หญิงสภุ าภรณ์ ปิดงาม 38 3 2 3 3 2 13 ดี เดก็ ชายสิรวิชญ์ ศรีรมย์รื่น 39 1 2 1 1 2 7 พอใช้ เด็กหญงิ กานตร์ วี เงินนา 40 2 2 3 3 2 12 ดี นายเอกวชิ ญ์ เชยจนั ทร์ 41 2 2 1 1 1 7 พอใช้ นายธรี วฒุ ิ ดีไร่ 42 2 2 1 1 1 7 พอใช้ รายการประเมิน ข้อที่ 1 การแสดงความคิดเหน็ ขอ้ ท่ี 2 การยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ผอู้ ่นื ข้อท่ี 3 การทำงานตามหนา้ ที่ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ข้อท่ี 4 ความมนี ำ้ ใจ ข้อท่ี 5 การตรงต่อเวลา หมายเหตุ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏิบตั ิแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตแิ สดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ำกวา่ ปรับปรุง สรปุ ตามเกณฑ์การตดั สินคุณภาพการสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล 1.1 นักเรยี นทไี่ ด้ระดับคุณภาพดี จำนวน 22 คน 1.2 นกั เรียนทไี่ ด้ระดับคุณภาพพอใช้ จำนวน 17 คน 1.3 นกั เรียนทไี่ ด้ระดบั คณุ ภาพปรบั ปรงุ จำนวน 3 คน
10 วจิ ยั ในช้ันเรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ 2. ตารางแสดงข้อมลู จากแบบประเมนิ ผลงานนกั เรยี น ขอ้ มูลแบบประเมินผลงานนักเรียน ช่อื นักเรียน นามสกลุ เลขท่ี ข้อที่ ข้อที่ ข้อท่ี ขอ้ ที่ ข้อท่ี คะแนน สรปุ ผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑ์ เดก็ ชายสกุ ิจน์ ทัสจันทร์ ประเมนิ เด็กชายวรเชษฐ์ ชาตพิ รต เด็กชายฉัตรชยั พาโพธิ์ 111122 8 พอใช้ เด็กชายธนวัฒน์ รองชูเพ็ง เด็กชายสรุ เชษฐ์ จันทรโ์ คตร 211122 8 พอใช้ เดก็ ชายลิขสทิ ธิ์ ศิลปวสิ ุทธ์ิ เดก็ ชายปฏิพัทธิ์ แก้วนก 3 2 3 3 2 2 12 ดี เด็กชายนรนิ ทร์ ชูชลา เด็กชายกฑาวุธ คงมา 4 2 3 3 2 2 12 ดี เด็กชายโภคนิ ปัญสมคิด เดก็ ชายอดศิ ร ภูกลน่ิ ดาว 5 2 3 3 2 3 13 ดี เดก็ ชายพีรพัฒน์ ไพรงาม เด็กชายวรพล โพธิ์ประจัก 6 2 3 2 3 3 14 ดี เดก็ ชายภวัตพงศ์ เสาวโร เดก็ ชายญาณพัฒน์ กะหรมี 7 2 3 3 2 2 12 ดี เดก็ ชายปฏภิ าณ ศรที อง เด็กชายอานนท์ เย็นสุข 8 3 3 2 2 3 13 ดี เด็กชายศรวษิ ฐา นาคทอง เด็กหญงิ จนิ ต์จุฑา ชะบำรงุ 9 3 3 3 2 2 13 ดี เด็กหญงิ ชลติ า บุญเพง็ เด็กหญงิ นันทญิ า ออ่ นละมลู 10 3 3 3 2 2 13 ดี เด็กหญงิ อรสิ รา ลนุ ไธสง เด็กหญิงวริศรา สีทาเลิศ 11 2 3 3 2 2 12 ดี เด็กหญิงกานต์ธดิ า เกษมสขุ ไพศาล เด็กหญงิ พรสวรรค์ เจนจบ 12 2 2 2 2 2 10 พอใช้ เด็กชายจักรี พรมสอน เด็กชายชิตพิ ัทธ์ เล็กพนั ธ์ 13 2 2 2 2 2 10 พอใช้ เดก็ ชายณัชพล สขุ ลติ ร เดก็ ชายศภุ โชค ฤกษ์ดี 14 1 2 2 2 1 8 พอใช้ เดก็ หญิงกมลวรรณ สุขแจ่ม เดก็ หญงิ กัญญาณัฐ บงกฎ 15 2 2 2 1 1 8 พอใช้ 16 2 2 2 1 1 8 พอใช้ 17 2 3 2 3 3 13 ดี 18 2 2 2 3 3 12 ดี 19 3 3 3 3 3 15 ดี 20 2 3 2 3 2 12 ดี 21 3 3 3 3 3 15 ดี 22 3 3 3 3 3 15 ดี 23 3 3 3 3 3 15 ดี 24 2 3 2 3 3 13 ดี 25 3 3 2 3 3 14 ดี 26 2 2 3 3 3 13 ดี 27 2 2 2 1 1 8 พอใช้ 28 2 3 2 2 2 12 ดี 29 2 3 2 2 2 11 พอใช้ 30 2 3 2 2 3 12 ดี 31 3 3 3 3 3 15 ดี
11 วจิ ัยในชัน้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ ข้อมูลแบบประเมินผลงานนักเรียน ช่อื นักเรียน นามสกุล เลขท่ี ขอ้ ที่ ขอ้ ที่ ข้อที่ ข้อที่ ขอ้ ท่ี คะแนน สรุปผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑ์ ประเมนิ เดก็ ชายธนทตั คมสัน 32 2 2 1 2 18 พอใช้ เดก็ ชายณัฐภู หริกจนั ทร์ 33 2 2 1 1 28 พอใช้ เด็กชายธนศกั ด์ิ อทุ มุ พร 34 3 2 2 2 2 12 ดี เด็กชายพรี ะกานต์ นุ้ยเมอื ง 35 1 2 2 2 18 พอใช้ เด็กชายเสฎฐวุฒิ มัฏฐารักษ์ 36 1 1 2 2 28 พอใช้ เด็กชายธนพล จนั ทรง์ าม 37 2 2 3 3 2 12 ดี เดก็ หญิงสภุ าภรณ์ ปดิ งาม 38 3 3 2 3 3 14 ดี เด็กชายสริ วิชญ์ ศรีรมยร์ ื่น 39 2 2 2 1 18 พอใช้ เด็กหญงิ กานตร์ วี เงินนา 40 3 2 3 3 3 14 ดี นายเอกวิชญ์ เชยจนั ทร์ 41 2 2 1 1 28 พอใช้ นายธีรวฒุ ิ ดีไร่ 42 2 3 3 2 1 11 ดี รายการประเมิน ข้อท่ี 1 ความถูกตอ้ งของชิน้ งาน ข้อที่ 2 ความเป็นระเบียบ การเกบ็ งาน ข้อที่ 3 ความสวยงาม ขอ้ ที่ 4 ความสะอาด ขอ้ ท่ี 5 การนำไปใช้ หมายเหตุ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบตั แิ สดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั แิ สดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตำ่ กว่า ปรบั ปรุง สรปุ ตามเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพจากแบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น 1.1 นกั เรียนทีไ่ ดร้ ะดบั คุณภาพดี จำนวน 27 คน 1.2 นักเรียนท่ีไดร้ ะดบั คณุ ภาพพอใช้ จำนวน 15 คน 1.3 นกั เรยี นทีไ่ ดร้ ะดบั คณุ ภาพปรบั ปรุง จำนวน - คน
12 วจิ ัยในช้ันเรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย การลงมือเย็บผ้าด้วยการเย็บผ้าพื้นฐานของนักเรียน สร้างชิ้นงานหน้ากากผ้าอนามัย นักเรียน จะเกิดการเรยี นรู้จากการปฏิบตั ิงานจริง และเมอื่ พบปัญหาขณะปฏบิ ัตงิ านนกั เรยี นได้แก้ปัญหาโดยมีครู ช่วยแนะนำวิธีการต่าง ๆ นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสร้างชิ้นงานสำเร็จ นักเรียนได้มีส่วนร่วมใน การรณรงค์ใหท้ ุกคนในโรงเรียนสวมหน้ากากอนามยั จากผา้ ตามชวี ิตวิถใี หม่ (NEW NORMAL) 1. ผลการประเมิน นกั เรยี นสามารถสร้างช้นิ งานได้ ดงั นี้ 1.1 สรปุ ตามเกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 1.1.1 นกั เรยี นท่ีได้ระดับคณุ ภาพดี จำนวน 22 คน 1.1.2 นักเรียนที่ได้ระดบั คณุ ภาพพอใช้ จำนวน 17 คน 1.1.3 นักเรียนที่ได้ระดับคุณภาพปรบั ปรุง จำนวน 3 คน 1.2 สรปุ ตามเกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพจากแบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น 1.2.1 นกั เรยี นท่ไี ดร้ ะดับคุณภาพดี จำนวน 27 คน 1.2.2 นกั เรียนที่ไดร้ ะดับคณุ ภาพพอใช้ จำนวน 15 คน 1.2.3 นกั เรียนทไี่ ดร้ ะดบั คุณภาพปรับปรงุ จำนวน - คน 2. ประเดน็ ท่ตี ้องปรบั ปรงุ ในรอบถดั ไป แนะนำทักษะการลงมือปฏิบัติงานและทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนเมื่อพบปัญหาใน กจิ กรรมเรื่องอ่ืน ๆ 3. ขอ้ สงั เกต ปญั หาและอุปสรรคทีพ่ บ 3.1 นักเรียนมีทกั ษะในการสรา้ งชนิ้ งานเพิม่ มากขึน้ กว่าตอนก่อนเรยี น มนี ักเรียนเพยี งสว่ นนอ้ ย ที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ทันเวลา แต่ครูได้เข้าช่วยเหลือใหค้ ำแนะนำและสาธิตซ้ำหลาย ๆ รอบ จนทำ ใหน้ ักเรียนสามารถประดษิ ฐ์ช้นิ งานออกมาได้จนผ่านเกณฑ์ทคี่ รูกำหนด 3.2 ครูสาธิตการเย็บผ้าหลายรอบ โดยการเดินสอนเวียนตามกลุ่มของนักเรียนที่ได้จัดไว้ นกั เรียนมจี ำนวณ 7 กลุ่ม ๆ ละ 6 คน จำนวนครูไม่เพียงพอตอ่ จำนวนของนกั เรียน
13 วิจยั ในชน้ั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ บรรณานุกรม Jaranya Lw, (2563). เยบ็ ผา้ พ้นื ฐาน 7 วิธ.ี My home. แหล่งที่มา : https://www.baanlaesuan.com/60956/diy/diy101/basic-stitches. คน้ เม่ือ 15 ตุลาคม, 2563 AutoSewing by Aon, (2563). ศัพท์ ทใ่ี ชใ้ นวงการงานเย็บปัก ท่ีมือใหม่ควรรู้. AUTO-SEWING. แหลง่ ทีม่ า : https://auto-sewing.com/ศัพท-์ เย็บ-ปัก. ค้นเม่อื 16 ตุลาคม 2563 Doknommeaw Play, (2563). คำศัพท์เก่ยี วกบั การเยบ็ ปัก ถัก รอ้ ย. www.facebook.com. แหล่งที่มา : https://www.facebook.com/doknommeawhandmade/posts/3018976638135424/. คน้ เมอ่ื 16 ตลุ าคม 2563
14 วจิ ยั ในช้ันเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ ภาคผนวก
15 วจิ ยั ในชัน้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
16 วจิ ยั ในชน้ั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ 2.2 แบบประเมนิ ผลงาน
17 วิจยั ในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ รูปภาพประกอบการวจิ ยั ในชนั้ เรียน
18 วิจยั ในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ รูปภาพประกอบการวจิ ยั ในชนั้ เรียน
19 วิจัยในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ ประวตั ยิ อ่ ผู้ทำวจิ ัย ช่อื นางสาวกญั ญาณี แสนตรี ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ – โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สังกัด สำนักการศกึ ษา เทศบาลนครนนทบุรี กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย ภูมลิ ำเนา 46 หมู่ 2 ตำบลโคกก่อ อำเภอเมืองมหาสาคาม จังหวดั มหาสารคาม โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ 0949234774
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: