Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter 1

chapter 1

Published by Nokky buajaroen, 2021-11-23 05:13:43

Description: การพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป็นมาของการพยาบาล และความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาล

Keywords: nursing

Search

Read the Text Version

CHAPTER I HATHAICHANOK BUAJAROEN Ph.D. (Nursing) NPRU | FACULTY OF NURSING

แผนบรหิ ารการสอนประจำบทท่ี ๑ หัวขอ% เนื้อหาประจำบท ๑. แนวคดิ หลกั การ ความหมาย การพยาบาล ระบบการพยาบาล ๒. ประวตั ิความเป9นมาของการพยาบาล ๓. ความสำคญั ของวิชาชีพการพยาบาล วัตถุประสงค:เชงิ พฤติกรรม เพื่อใหFผFูเรียนสามารถ ๑. อธิบายแนวคิด หลกั การ ความหมาย การพยาบาล ระบบการพยาบาลไดFอยาL งถูกตอF ง ๒. อธบิ ายประวัตคิ วามเป9นมาของการพยาบาลไดF ๓. อธบิ ายความสำคัญของวชิ าชีพการพยาบาลไดถF กู ตอF ง วธิ กี ารสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอนประจำบท ๑. วิธีการสอนทีใ่ ชพ2 ัฒนาการเรียนร2ูดา2 นคุณธรรมและจรยิ ธรรม ๑.๑. สอดแทรกประเด็นการวิเคราะหOจริยธรรม เกี่ยวกับ การพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการพยาบาล และความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาลในสถานการณOการพยาบาล ตามเน้อื หาทเ่ี กย่ี วขอF ง ๑.๒. มอบหมายงานเดี่ยวงานกลุLมและจัดทำรายงานพรFอมวิเคราะหOประเด็นคุณธรรม จริยธรรม ทเี่ กีย่ วขFอง ๑.๓. จัดกิจกรรมการเรียนรูFจากการแสดงบทบาท สมมุติพรFอมยกตัวอยLางกรณีศึกษาดFาน คุณธรรม จริยธรรมในการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการพยาบาล และความสำคัญ ของวชิ าชีพการพยาบาล ๒. วิธีการสอนที่ใช2พฒั นาความร2ดู 2านความร2ู ๒.๑. การบรรยายรLวมกับการอภิปรายโดย มอบหมายใหFมีการสืบคFนวารสาร หรือ งานวิจัยที่ เกี่ยวขFองกับการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการพยาบาล และความสำคัญของ วิชาชพี การพยาบาลพรFอมทั้งนำเสนอหนFาชน้ั เรียนพรFอมสรุปสLงเปน9 แผนภาพความคดิ ๒.๒. มอบหมายใหFดูวิดิทัศนOเกี่ยวกับ “พยาบาลสีขาว” พรFอมวิเคราะหOสถานการณOและประเด็น ที่เกีย่ วขFอง

๒.๓. การอภิปรายกลุLม โดยมีการมอบหมายใหFแบLงกลุLมทำกิจกรรมผLานใบงานเตรียมเอกสาร ใน การประกอบการอภิปราย เพอ่ื ใหFสมาชกิ ในกลLุมไดเF รียนรFรู วL มกัน ๒.๔. วิเคราะหOกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวขFองกับการพยาบาล ระบบการ พยาบาล ประวัตคิ วามเป9นมาของการพยาบาล และความสำคญั ของวิชาชพี การพยาบาลและทำตามใบงาน ๒.๕. มอบหมายใหFสืบคFนความรูFเกี่ยวกับการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมา ของการพยาบาล และความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาลจากแหลLงขFอมูลตLางมาประกอบการจัดทำเป9น ช้นิ งาน ๓. วิธีการสอนทีใ่ ช2พัฒนาความรดู2 า2 นทักษะทางปGญญา ๓.๑. บรรยายรLวมกบั การอภปิ รายในหอF งเรยี น ๓.๒. วิเคราะหOการสอนที่เนFนใหFผูFเรียนไดFฝ^กทักษะการคิดและการแกFไขป_ญหา ทั้งระดับบุคคล และ ครอบครัวและสถานการณOที่เกี่ยวขFองกับการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการ พยาบาล และความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาล โดยใชFวิธีการที่หลากหลาย เชLน การอภิปรายกลุLม การศึกษากรณีศึกษา การประชุมปรึกษาป_ญหากับผูFนำทางการพยาบาลและหนLวยงานที่เกี่ยวขFองมาสอนใน ชนั้ เรียน ๓.๓. การสะทFอนคิด ๓.๔. การทบทวนความรทFู ุกหวั ขFอโดยใชFแบบทดสอบยอL ย ๔. วธิ กี ารสอนท่ใี ช2พฒั นาความรด2ู 2านทกั ษะความสมั พนั ธรJ ะหวLางบคุ คลและความรบั ผิดชอบ ๔.๑. กลยุทธOการสอนที่เนFนการปฏิสัมพันธOระหวLาง ผูFเรียนกับผูFเรียน ผูFเรียนกับผูFสอน ผูFเรียนกับ ผFูใชบF รกิ ารและผFรู Lวมทีมสขุ ภาพ ๔.๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทำงานเป9นทีมเพื่อสLงเสริมการแสดงบทบาทของการ เป9นผFูนำและผูตF าม ๔.๓. สLงเสริมใหFทำงานเป9นกลุLมและการแสดงออกของภาวะผูFนำในการแกFไขประเด็นป_ญหา สถานการณจO ำลองทางการพยาบาล ๕. วิธีการสอนที่ใช2พัฒนาความรู2ด2านทักษะการวิเคราะหJเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช2 เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕.๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนFนใหF ผูFเรียนไดFฝ^กทักษะการสื่อสารระหวLางบุคคลทั้ง การพูด การฟ_ง และการเขียนในกลุLมผูFเรียน ระหวLางผูFเรียนและผูFสอน และบุคคลที่เกี่ยวขFอง ในสถานการณO ชมุ ชน ๕.๒. การจัดประสบการณOการเรียนรFูทสี่ งL เสริมใหผF เูF รียนไดFเลอื กและใชเF ทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สารท่ีหลากหลายรูปแบบและวธิ กี าร

๕.๓. การจัดประสบการณOการเรียนรูFที่สLงเสริมใหF ผูFเรียนไดFใชFความสามารถในการเลือก สารสนเทศและฝก^ ทกั ษะในการนำเสนอขอF มลู สารสนเทศดFวยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย ผFูฟง_ และเน้ือหาท่ีนำเสนอ ส่ือการเรยี นการสอน ๑. เอกสาร หนังสือ และตำราที่เก่ียวขอF งเชLน ๑.๑ หทัยชนก บัวเจรญิ , จรยิ าวัตร คมพยัคฆO, วนดิ า ดุรงคฤO ทธชิ ัย, และ รชั ดา พวL งประสงคO. (๒๕๕๓). การพยาบาลในระบบสขุ ภาพ. สมุทรปราการ : มหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลมิ พระเกยี รติ. ๑.๒ หทยั ชนก บวั เจริญ. (๒๕๖๐). มโนมติทางการพยาบาลและแนวคิดทฤษฎีการพยาบาล. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม. ๒. เว็บไซตOตาL งๆท่ีเกยี่ วขFองเชนL ๒.๑ กระทรวงสาธารณสุข URI : www.moph.go.th ๒.๒ สภาการพยาบาล URI : www.tnmc.or.th/ ๒.๓ ฐานขอF มลู ของ CINAHL ของคณะพยาบาลศาสตรO URI : https://nurse.npru.ac.th ๒.๔ ฐานขFอมูลของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม SpringerLink (E-journal) (E-book) CRnetBase ๒.๕ องคOการอนามยั โลก URI : https://www.who.int/health-topics/nursing#tab=tab_1 ๒.๖ สมาคมพยาบาลแหงL ประเทศไทย URI : www.thainurse.org/ ๓. แบบฝก^ หดั ทาF ยบทเรียน ๔. สื่อการสอนออนไลนไO ดFแกL YouTube Learning Management System : LMS การวดั ผลและประเมินผล ๑. ประเมินเนื้อหาวิเคราะหOแนวโนFมดFานกฎหมาย จริยธรรม จรรยาบรรณ วัฒนธรรมและสิทธิ มนุษยชนที่เกี่ยวขFองกับการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการพยาบาล และ ความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาล ในสถานการณOตามเนื้อหาที่เกี่ยวขFองการตรงเวลา ตLอการเขFาชั้นเรียน การสงL งานตามกำหนดเวลาทมี่ อบหมาย ๒. ประเมินผลการสะทFอนคิดในวิดีโอ ๕ นาที คะแนนเก็บจากการสอนดFวยวิธี Active team base learning จากหัวขFอการพยาบาล ระบบการพยาบาล ประวัติความเป9นมาของการพยาบาล และความสำคัญ ของวิชาชีพการพยาบาล ประเมินโดย อาจารยO นักศึกษา และ ตนเอง และแบบประเมินทักษะการพูดการ เขียนและการประเมนิ จากการถามในช้ันเรียน การนำเสนอในชนั้ เรียน

๓. ประเมินการทำงานรวL มกนั ของสมาชิกในการทำงานกลุLม ๔. ประเมนิ การนำเสนอ รายงาน และสรปุ ผล การแลกเปลย่ี นเรยี นรูF ๕. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานเป9นกลุLม การทดสอบทักษะการฟ_งจากแบบทดสอบที่สอดคลFองกับ วตั ถปุ ระสงคOการเรียนรFู ๖. การทดสอบการวเิ คราะหขO Fอมลู โดยใชขF FอสอบยอL ยทFายชวั่ โมง

บทที่ ๑ การพยาบาล และประวตั ิความเปน> มา “การพยาบาล” เป็นการกระทำตLอมนุษยOเกี่ยวกับการดูแลและการชLวยเหลือเมืLอเจ็บป™วย การฟš›นฟู สภาพการปFองกันโรค และการสLงเสริมสุขภาพ รวมทั้งการชLวยเหลือแพทยOกระทำทั้งน้ีโดยอาศัยหลัก วิทยาศาสตรแO ละศิลปะการพยาบาล จึงจำเป็นตFองมีองคOประกอบของระบบความเป็นสาขาวิชาหรือองคOความรูF ที่ เกี่ยวขFองกับพื้นฐานวิชาชีพ และความเป็นวิชาชีพท่ีรับผิดชอบและสามารถพัฒนาความเป9นเอกลักษณOของ วิชาชีพการพยาบาลภายใตFกลไกของ (๑) ระบบการบริการทางการพยาบาล (๒) ระบบการศึกษาทางการ พยาบาล (๓) ระบบการวิจยั ทางการพยาบาล และ (๔) ระบบการบรหิ ารทางการพยาบาล ซึ่งกลไกดังกลLาวตLางมีเปœาหมายเพื่อใหFวิชาชีพทางการพยาบาลเกิดภาพพจนOของการดูแลสุขภาพ การชLวยเหลือเมื่อเจ็บปLวย การฟš›นฟูสภาพ การปFองกันโรค และการสรFางเสริมสุขภาพใหFครอบคลุมการบริการ สุขภาพและสามารถสนับสนุนใหFมนุษยOมีแบบแผนการดำเนินชีวิตไปในทิศทางแหLงการมีสุขภาวะที่ดี (หทัยชนก บัวเจริญ, จริยาวัตร คมพยัคฆO, วนิดา ดุรงคOฤทธิชัย, และ รัชดา พLวงประสงคO ๒๕๕๓, หนFา ๑๔๗ ) โดยเฉพาะอยLางยิ่งปัจจุบันระบบสุขภาพ ใหFความสำคัญมากข้ึนกับระบบการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิใหFเป็น บริการข้ันพื้นฐานท่ีจำเป็น เป็นบริการท่ีสามารถจัดใหFประชาชนทุกคนในทุกภาวะของสุขภาพอยLางเป9นองคO รวม ผสมผสาน ตLอเนื่อง ตั้งแตLการจัดบริการใหFแกLบุคคลที่มีสุขภาพที่ดี มีภาวะเส่ียง มีภาวะเจ็บปLวย และระยะ สุดทFายของชีวิตที่ครอบคลุมการสรFางเสริมสุขภาพ การปœองกันโรค การรักษาเบื้องตFน การดูแลแบบ ประคับประคอง และการฟš›นฟูสมรรถภาพตLาง ๆ รวมถึงการประสานงานกับหนLวยบริการอื่น ๆ และการสLงตLอ ผูปF Lวยไปรับบริการที่เหมาะสม โดยเนFนการพัฒนาศักยภาพของประชาชนและครอบครัวในการดูแลตนเอง การ ใชภF มู ิปญั ญาทFองถิน่ และการมีสวL นรวL มของชุมชนเปน็ สำคัญ สLวนเสFนทางการพัฒนาของการพยาบาลในประเทศไทยเริ่มจากชนชั้นพระราชวงศOฝ™ายในที่มีความ สนใจในเรื่องการดูแลคนเจ็บปLวยพรFอมกระแสการดูแลสุขภาพตามแบบแผนการรักษาทางตะวันตกเขFามาใน ประเทศไทย ผสมผสานภูมิป_ญญาทFองถ่ิน การแพทยOแผนไทย และการผดุงครรภOมาชFานาน จึงวางแผนการ พัฒนาคนใหFมีวิชาความรูFทางการพยาบาลจากตLางประเทศกลับมาพัฒนาระบบการศึกษาเป็นหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิตในประเทศไทย และวางแผนพัฒนาวิชาชีพจนมีหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต และพัฒนาความเขFมแข็งของวิชาชีพการพยาบาลจนเป็นตัวแทนของวิชาชีพ การพยาบาลในนามของ “สภาการพยาบาล” และสมาคมการ พยาบาลแหLงประเทศไทย สLวนจุดกำเนิดของ การพัฒนาการพยาบาลในตLางประเทศเป็นการพัฒนาจากพื้นฐานการดูแลผูFเจ็บป™วยในภาวะสงคราม ชLวยเหลือ ดูแลคนของกองทัพทหารในภาวะสงคราม รวมถึงวางพื้นฐานการพัฒนาวิชาชีพในลักษณะของการพัฒนาองคO ความรูFดFวยการสรFางทฤษฎีทางการพยาบาล และพัฒนาความเป9นวิชาชีพการพยาบาลอยLางตLอเนื่อง ทั้งดFาน

การศึกษา การวจิ ยั การบรหิ ารจดั การ และการพยาบาล แนวคิด หลักการ ความหมายการพยาบาล ระบบการพยาบาล “การพยาบาล” เป็นศาสตรOหนึ่งท่ีไดFรับการยอมรับจากสังคมวLาเป9นวิชาชีพมาเป9นเวลานาน ซ่ึงการ พยาบาลไดFมีการพัฒนามาอยLางตLอเนื่องในลักษณะของวิชาชีพ (Profession) ที่ใหFบริการดFานสุขภาพอันเป9น ประโยชนOตLอสังคม และลักษณะของศาสตรOในฐานะสาขาวิชา (Discipline) หรือองคOความรูFทีLตLางชLวยกัน ผลักดันใหFการพยาบาลเป็นฐานองคOความรูFหลักของการพัฒนาความเป9นวิชาชีพจนเกิดองคOความรูFของตนเอง อยLางเป็นเอกภาพไดF (หทัยชนก บัวเจริญ, จริยาวัตร คมพยัคฆO, วนิดา ดุรงคOฤทธิชัย, และ รัชดา พLวงประสงคO ๒๕๕๓, หนFา ๑๔๗ ) จึงตFองเขFาใจแนวคิด หลักการ ความหมาย และประวตั ิความเป9นมาของการพยาบาล ดงั น้ี ๑. แนวคิด หลักการ แนวคิดการพยาบาลเป9นมุมมองของปรากฎการณOทางการพยาบาลที่เกิดขึ้นอยLางเป9นระบบ โดยยึดหลักการ ทางการพยาบาลที่วิเคราะหOตามสาเหตุป_จจัยหรือเหตุการณOจริงที่เกิดขึ้นในอดีต ณ ป_จจุบันและอนาคตในการ ปฏิบัติการพยาบาล ผLานกระบวนการประเมินดFานการรับรูF ดFานความเขFาใจ ดFานทักษะการดูแลของตนเองและ ครอบครัวที่รวมถึงตLอการประเมินเหตุการณOดFานมิติทางกาย จิตใจ จิตสังคม จิตวิญญาณ และสภาพแวดลFอม และ คาดการณOสิ่งที่จะเกิดขึ้นตLอการกระทำของบุคคล ครอบครัว และชุมชนในการดูแล เมื่อมีสุขภาพดี เมื่อมีภาวะเสี่ยง ทางดFานสุขภาพ เมื่อเจ็บป™วย และจนถึงวาระสุดทFายของชีวิต ทั้งนี้แนวคิดการพยาบาลยังเกี่ยวขFองกับปรากฏการณO ทางปฏิบัติควรไดFรับการตรวจสอบเพิ่มเติมเพื่อใหFสามารถระบุคุณลักษณะไดF วิธีที่สมเหตุสมผลและมีประสิทธิภาพมาก ที่สุดในการชLวยใหFพยาบาลตรวจสอบปรากฏการณOอยLางลึกซึ้งคือการเริ่มกำหนดแนวคิดเรื่องที่สนใจ การดำเนินการ ดังกลLาวจะชLวยใหFสามารถพัฒนาทฤษฎีที่เกี่ยวขFองโดยตรงกับการปฏิบัติทางคลินิกไดF (Bousso, Poles, and Monteiro da Cruz, ๒๐๑๓; ๑๔๒) ซึ่งประสบการณOที่ผLานมาและการสรFางประสบการณOการดูแลในอนาคตเป9น เครื่องมือในการวางแผนการพยาบาล ทั้งนี้แนวคิดและหลักการทางการพยาบาลตFองอาศัยทักษะการสื่อสารดFวยวาจา ดFวยการกระทำ ดFวยผลลัพธOที่เกิดขึ้น โดยพยาบาลตFองนำผลมาประมวลเป9นองคOประกอบของแนวคิดจนสามารถสรุป แผนภาพแนวคิดหลักการการพยาบาลมี ๓ ระยะคือ ระยะกLอนการเกิดเหตุการณO ระหวLางการเกิดเหตุการณO และหลัง การเกิดเหตุการณO โดยแนวคิดหลักการที่ใชFในการพยาบาลประกอบดFวย แนวคิดนามธรรม ไดFแกL การดูแล การเคารพ บุคคล การรLวมมือในการดูแล แนวคิดรูปธรรม ไดFแกL มีภาวะไขF มีภาวะปวด มีภาวะอLอนลFา ซึ่งพยาบาลจำเป9นตFองมี การวิเคราะหOแนวคิดหลักการพยาบาลออกมาในรูปแบบของคำพูดที่สามารถนำไปใชFสื่อสารในเหตุการณOนั้นใหFตรงกัน ทั้งนี้แนวคิดอาจจะสื่อสารในรูปแบบของคำ วลี หรือประโยคสั้นๆ เพื่อใหFนำไปใชFในการวางแผนการพยาบาลไดFอยLาง ครอบคลมุ ๒. ความหมายของการพยาบาล การพยาบาล (Nursing) หมายถึง การกระทำตLอมนุษยOเกี่ยวกับการดูแลและการชLวยเหลือเมื่อ เจ็บป™วย การฟš›นฟูสภาพ การปœองกันโรค และการสLงเสริมสุขภาพ รวมทั้งการชLวยเหลือกระทำทั้งนี้โดยอาศัย

หลักวิทยาศาสตรOและศิลปะและการพยาบาล (ราชกิจจานุเบกษา, ๒๕๔๐,หนFา ๑) ตามที่พระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO พ.ศ. ๒๕๒๘ และแกFไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภO (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ กำหนดไวF นิยามของคำวLา “การพยาบาล” เกิดขึ้นจากผูFริเริ่มวิชาชีพการพยาบาลในสมัยแรก โดยใหFความหมาย ตามลักษณะการทำงานของ ฟลอเรนซO ไนติงเกล ไดFนิยามวLา “การพยาบาล” คือ กิจกรรมการชLวยเหลือผูFป™วย เพื่อใหFอยูLในสภาวะที่จะตLอสูLการรุกรานของโรคที่ไดFอยLางดีที่สุดแบบองคOรวมท้ังทางดFานรLางกาย จิตใจ จิตสังคม และจิตวิญญาณและมีพื้นฐานความเชื่อวLา การไดFรับสุขภาพที่ดีตFองมีบFาน น้ำ และอากาศที่สะอาด การ สุขาภิบาลขั้นพื้นฐาน ความสะอาด และสภาพแวดลFอมที่ดีตLอสุขภาพเป9นพื้นฐาน (RiegelI, CrossettiII, MartiniI , and NesIII, ๒๐๒๑. PP.๒) เฮนเดอรOสัน (Halloran, ๑๙๙๖, PP.๒๓) กลLาววLา “การพยาบาล” คือ การชLวยเหลือบุคคลทั้งยาม ปกติและยามเจ็บป™วย การสรFางเสริมสุขภาพใหFปราศจากโรคและใหFถึงวาระสุดทFายดFวยความสงบโดยมีการ ปฏิบัติการพยาบาลทีค่ รอบคลมุ และสอดคลอF งกบั ความตอF งการของผูFรบั บรกิ าร ทั้งนี้ สภาการพยาบาลไดFกำหนด (รLาง) ผูFประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO พ.ศ. ๒๕๖๔ (สภาการพยาบาล, ๒๕๖๓, หนFา ๒) กำหนดวLา ผFูประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง ผูFประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO ชั้นหน่ึง กระทำการพยาบาลโดยใชกF ระบวนการพยาบาล ดงั น้ี ๑) การกระทำตLอรLางกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การสLงเสริม สุขภาพ การปœองกันโรคและการบาดเจ็บ การควบคุมการแพรLกระจายโรค การปฐมพยาบาล การบำบัดโรค เบอ้ื งตFน และการฟ›นš ฟสู ุขภาพ ท้งั รายท่ัวไป รายที่ยงLุ ยาก ซับซFอน หรือเป9นการเจ็บป™วยฉกุ เฉนิ หรอื วิกฤต ๒) การสอน การแนะนำ การใหFคาปรึกษาและการแกFไขป_ญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย การ วางแผนการดแู ลตLอเน่อื ง และการเสรมิ สราF งพลงั อำนาจในการดแู ลตนเองของประชาชน ๓) การจัดสภาพแวดลFอมเพื่อการสLงเสริมสุขภาพ การปœองกัน การควบคุม และการแกFป_ญหา ความเจบ็ ป™วย ๔) การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาลและ/หรือแผนการรักษาของผูFประกอบวิชาชีพ เวชกรรม การใชFเครื่องมือพิเศษ การติดตามผล รวมทั้งการประสานทีมสุขภาพ ในการจัดบริการ ใหFเป9นไปตาม มาตรฐานการพยาบาลทส่ี ภาการพยาบาลประกาศกาหนด ๕) การใหFการพยาบาลที่บFานและการสLงเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัวและชุมชน เพื่อใชFชีวิตอยาL งปกติสขุ หรือสามารถจัดการวถิ ชี วี ิตใหFอยูกL ับความเจ็บปว™ ยและมีคณุ ภาพชีวิตที่ดีตามศักยภาพ ซึ่งการประกาศนี้จะนำไปสูLการเปลี่ยนแปลงการพยาบาลใหมLในอนาคตที่จะมีการปรับเปลี่ยนพลิกโฉม การพยาบาลในอนาคต

๓. ความหมายของระบบการพยาบาล ระบบการพยาบาล (Nursing System) หมายถึง องคOประกอบของการรวบรวมการกระทำหรือการ ชLวยเหลือใหFครอบคลุมทั้งดFานการดูแล การชLวยเหลือเมื่อเจ็บป™วย การฟš›นฟูสภาพ การปœองกันโรค การสรFางเสริม สุขภาพ จนเกิดการบริการสุขภาพที่ครอบคลุมประชาชน เกิดระบบการศึกษาที่สLงเสริมการกระทำหรือการ ชLวยเหลือใหFมีคุณภาพ เกิดระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพสLงเสริมความปลอดภัยแกLประชาชน เกิดระบบการ วิจัยที่แสวงหาความรูFใหมLเพื่อสนับสนุนใหFมนุษยOมีแบบแผนการดำเนินชีวิตไปในทิศทางแหLงการมีความสุขภาวะที่ดี (หทยั ชนก บัวเจรญิ , ๒๕๖๐ หนาF ๖) ๑.๓.๑ องคปJ ระกอบของระบบการพยาบาล ระบบการพยาบาลสามารถอธบิ ายไดFวLา ระบบการพยาบาลประกอบดFวย ๑. องคOความรFหู รือศาสตรOที่ใชFพัฒนารากฐานของความเป9นวิชาชีพ (Discipline) เชLน ประวัติความ เป็นมาของวิชาชีพ จริยธรรม จริยศาสตรOทางการพยาบาล และการบริหารวิชาชีพภายใตFการพัฒนาศาสตรOทางการ พยาบาลที่เกีLยวขFองกับมนุษยO การปฏิบัติ การดูแล และสุขภาพ มาบริหารจัดการทางทางการพยาบาลเพื่อ พฒั นาหรือสราF งสาขาวิชาหรือองคคO วามรFูของวชิ าชพี ๒. คุณลักษณะของวิชาชีพ หรือเอกลักษณOของวิชาชีพ (Professional) ซึ่งตFองอาศัยการพัฒนาองคO ความรูFดFานตLาง ๆ มาพัฒนาวิชาชีพ ซึ่งถือวLาระบบการบริการทางการพยาบาล ระบบการศึกษาทางการ พยาบาล และระบบการวิจัยทางการพยาบาล เป9นกลไกท่ีผลักดันใหFเห็นภาพของความเป9นวิชาชีพเชLน ระบบ บริการทางการพยาบาลถือวLาเป็นการพัฒนาความรFูดFานการใหFบริการสูLคุณภาพแหLงความปลอดภัยของชีวิต สLวน ระบบการศึกษาทางการพยาบาลเป9นการพัฒนารากฐานของวิชาชีพใหFมั่นคงตลอดจนสามารถสะทFอนการ เจริญเติบโของวิชาชีพและการพัฒนาองคOความรูFอยLางตLอเนื่อง และระบบการวิจัยทางการพยาบาลเป9นเครื่องมือใน การพัฒนาระบบตLาง ๆ ของการพยาบาลใหFมีฐานขอF มลู ทส่ี ามารถอาF งองิ ไดF (ดงั ภาพที่ ๑.๑) ๓. ระบบบริหารการพยาบาลเป9นหนึ่งในองคOประกอบของระบบการพยาบาลที่ใชFการบริหารจัดการคน งบประมาณ ทรัพยากร และงานพยาบาลใหFเป9นระบบของชีวิตและสังคมตLาง ๆ ของมนุษยOใหFมีสุขภาพที่ดี ซ่ึง แนวคิดหลักของระบบการบริหารการพยาบาลจงึ ตFองสอดคลองกับปัจจัยและสถานการณOสุขภาพของมนุษยOเป็น สำคัญอนั จะนำไปสกูL ารมีสุขภาพที่ดไี ดF

ภาพที่ ๑.๑ แสดงความสมั พนั ธรO ะหวLางองคOประกอบของระบบการพยาบาล ท่ีมา : (หทยั ชนก บวั เจรญิ , ๒๕๖๐ หนFา ๑๐) ๒. ประวตั คิ วามเปนK มาของการพยาบาล จากการศึกษาและทบทวนพัฒนาการวิชาชีพการพยาบาลไทยจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตรO (๒๕๔๖, หนFา ๕๓ ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตรO. (๒๕๕๓, หนFา ๙๐) และจากมหาวิทยาลัยมหิดล (๒๕๖๐, หนFา ๑) พิชญากร ศรีประโค. (๒๕๕๗, หนFา ๒) และ จากการศึกษาประวัติการพยาบาลจากนักทฤษฎีเมลลิส (Meleis, ๒๐๑๑, PP ๓๑) คลีอิงเบอรO (Kleinberg, ๑๙๙๘, PP ๗๘). และ เบรนดFาและมายOดี้ (Brenda, and Mindy, ๒๐๑๘, PP ๕) ตLางไดFสรุปเสFนทางการ พัฒนาการของวิชาชีพยาบาลวLา ประวัติความเป9นมาของการพยาบาลเริ่มจากผูFนำและผูFกLอตั้งในตLางประเทศ ที่มีผูFนำบันทึกเสFนทางการพัฒนาการพยาบาลไวFตั้งแตLศตวรรษท่ีหFา ฮิปโปเตรมัส (Hippocrates) เป9นหนึ่ง ในคนแรกของโลกที่จะศึกษาการดูแลสุขภาพคือ \"บิดาของการแพทยOสมัยใหมLท่ี แนวคิดยุโรปตะวันตกของ พยาบาลท่ีมีประสบการณOครง้ั แรกโดยพระสงฆOคาทอลิกชายที่ใหFสำหรับผปูF Lวย และมีการจัดตั้งสมาคมเพื่อเป9น ตัวแทนของพยาบาลวิชาชีพที่มีความรFูความสามารถที่เฉียบแหลมของระบบการดูแลสุขภาพของพยาบาลเพื่อ เป9นแรงผลักดันที่จำเป9นในการนำการดูแลสุขภาพไปขFางหนFา (American Nurses Association,๒๐๑๘, PP ๑) และขยายแนวคิดมาสูปL ระเทศไทยโดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี การพยาบาลเริ่มมีบันทึกไวFในชLวงศตวรรษที่ ๑๗ ของยุโรป โดยระบุวLา การพยาบาลคือ การดูแลผูFป™วย ถูกจัดใหFโดยชายและหญิงใหFบริการการลงโทษ และการดูแลโสเภณีและอาชญากรหญิงอื่น ๆ ที่ใหFบริการเวลา

และแพทยOมีความสำคัญมากขึ้นและสังคมใหFการเคารพนับถือในความสามารถในการรักษาพยาบาลอยLาง มากจนทำใหFประชาชนในยุคนั้นมีความเชื่อมั่นในการรักษาของแพทยOและการรักษาโรคดFวยยาและการ ใหFบริการของแพทยOมากกวLาพยาบาล “ฟลอเรนทOไนตริงเกล” คือผูFสรFางประวัติศาสตรOของวิชาชีพการพยาบาล โดยประวัติของเธอมาจาก สตรีที่จบการศึกษาดีจากครอบครัวระดับรวย ไดFกลายมาเป9นพยาบาลและสรFางการยอมรับจากหนLวยงาน องคOกรอื่นอยLางมาก เนื่องจากความเสียสละและทุLมเทใหFบริการดูแลผูFป™วยจนทำใหFเกิดการสรFางโรงพยาบาล ตLอมา ค.ศ ๑๘๕๓ ตั้งคLายเพื่อดูแลรักษาในโรงพยาบาล มีการจFางพยาบาลหลายคนเขFามาดูแล สรFางความ ประทบั ใจตอL การบริการ (RiegelI, CrossettiII, MartiniI, and NesIII. ๒๐๒๑. PP ๕.) ซึ่งการพัฒนาการของการพยาบาลในแตLละประเทศจะมีตัวแทนของแมLชีและทหารที่ใหFการพยาบาล เชLน บริการรLวมกับแนวคิดทางศาสนาและการทหารการพยาบาลสมัยใหมLยังคงอยLูในแวดวงวิชาการการ พยาบาล ซึ่งเมลลิส (Meleis, ๒๐๑๑, PP ๔๐) คลีอิงเบอรO (Kleinberg, ๑๙๙๘, PP ๘๙). เบรนดFาและมายOดี้ (Brenda, and Mindy, ๒๐๑๘, PP ๖) ไดรF วบรวมและมขี อF สรปุ ประวัติความเปน9 มาของพยาบาลในตLางประเทศ ดงั น้ี ๒.๑ ประวตั ิความเปนX มาในตLางประเทศ ๒.๑.๑ สหราชอาณาจักร เป9นชLวงเวลาของสงครามที่มีการพัฒนาอยLางมีนัยสำคัญใน ประวัติศาสตรOของโรงพยาบาล ฟลอเรนซOไนติงเกล ทำงานเพื่อ ปรับปรุงเง่ือนไขของการทหารใน สงครามไคร เมีย รากฐานของการพยาบาลมืออาชีพที่มีหลักการสรุปไวF ในหนังสือที่วLา หมายเหตุเก่ียวกับการพยาบาล องคOการอนามัยไดFกลLาววLา พยาบาลในตLางประเทศที่เป9นบุคคลสำคัญตLอการพัฒนาอาชีพพยาบาลไดFแกL แมรรี่ ซีโคล เป9นพยาบาลที่ทำงานเป็นพยาบาลในแหลมไครเมีย ลิซาเบธ โจนสO และ ลินดาริชารOด ผูFกLอตั้งโรงเรียน พยาบาลที่มีคุณภาพในประเทศสหรัฐอเมริกาอยLางเป็นทางการของอเมริกาคร้ังแรกมีการอบรมอยLางมืออาชีพ ใหFแกLพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาในปª ค.ศ. ๑๘๗๓ จากโรงพยาบาลนิวอิงแลนดO ทั้งนี้สหราชอาณาจักร วาง บทบาทของพยาบาลวิชาชีพในอาชีพของทหารเป9นบทบาทเล็ก ๆ สำหรับหญิงในสหราชอาณาจักรที่มีพยาบาล จำนวน ๑๐,๕๐๐ คน โดยการใหFทุกคนลงทะเบียนเพื่อเป9นพยาบาลวิชาชีพบริการในพระองคOของสมเด็จ พระราชินีอเล็กซานเดออิมพีเรียล และ แมรี่ปร้ินเซสรอยัลบริการพยาบาลของกองทัพอากาศบริการเหลLาน้ี พอในปี ค.ศ. ๑๙๐๒ และ ๑๙๑๘ วิชาชีพพยาบาลมีความชัดเจนมากขึ้นโดยเฉพาะดFานการพยาบาลเพื่อดูแล พระราชาและพระราชวงศO จนเกิดการจัดตั้ง รอยัลวิทยาลัยพยาบาลสหราชอาณาจักรการพยาบาลเป9นอีก หนึ่งหนLวยงานในการปœองกันสุขภาพ การสLงเสริมสุขภาพ การเพิ่มประสิทธิภาพของการดูแลสุขภาพ ประชาชน และเพิ่มความสามารถในการปœองกันการเจ็บป™วยและการบาดเจ็บ การบรรเทา ความทุกขOผLาน การวินิจฉัยและรักษาของการตอบสนองของมนุษยOและการสนับสนุนในการดูแลสุขภาพสำหรับบุคคลครอบครัว และชุมชน

๒.๑.๒ นิวซีแลนดO เป9นประเทศแรกในการวางระบบการกำกับติดตามการทำงานของ พยาบาลทั่วประเทศ โดยนำใชFพระราชบัญญัติกำหนดใหFพยาบาลวิชาชีพทุกคนทำการขึ้นทะเบียนเป9นผูFประกอบ วิชาชีพการพยาบาล สLงผลใหFเครือขLายพยาบาลนานาชาติเริ่มนำใชFและในวันที่ ๑๒ กันยายน ค.ศ. ๑๙๐๑ เอลเลนโด เฮอรOตี้ เป็นคนแรกที่ขึ้นทะเบียนเป9นผูFประกอบวิชาชีพการพยาบาลนอรOท แคโรไลนา เป9นรัฐแรกใน สหรัฐอเมริกาผLานเป็นกฎหมายวLาดFวยการอนุญาตการพยาบาลในปี ค.ศ. ๑๙๐๓ ๒.๑.๓ เยอรมนี มีบริการพยาบาลขนาดใหญLมากและการจัดระเบียบอยLางดีกับท้ังสามองคOกร หลักหนึ่งสำหรับชาวคาทอลิกหนึ่งสำหรับโปรเตสแตนตOและในปี ค.ศ ๑๙๓๔ พวกนาซีตั้งหนLวยพยาบาล มี สมาชิก ๔๐,๐๐๐ คน พยาบาลทหารถูกจัดการเป9นหลักภายใตFการควบคุมของ นาซีบางสLวน บริการทาง การแพทยOไดFใหFบริการโดยพยาบาลชาย พยาบาลสภากาชาดไทยใหFบริการอยLาง กวFางขวางในการบริการทาง การแพทยOทหารพนักงานโรงพยาบาลท่ีมีความจำเป็นอยLางใกลFชิดกับดFานหนFาและ ท่ีมีความเส่ียงของการโจมตีท้ิง ระเบิด ถึงแมFวLาการปฏิบัติการพยาบาลแตกตLางกันไป แตLละประเทศของเหลLานี้องคOกร พยาบาลใหFคำจำกัด ความวLา “การพยาบาลครอบคลุมการดูแลตนเองและการทำงานรLวมกับบุคคล ทุกเพศทุกวัย ครอบครัว กลุLมคน และชุมชน” หรือ “การพยาบาลรวมถึงการสLงเสริมและการดูแลสุขภาพ การปœองกันการเจ็บป™วย และการดูแล รักษาผูFป™วยพิการและตาย สนับสนุนการสLงเสริมการสภาพแวดลFอมที่ปลอดภัย การวิจยั การมีสLวนรLวมในการ กำหนดนโยบายสขุ ภาพและการจดั การระบบสขุ ภาพทีส่ อดคลFองกนั ๒.๑.๔ สหรัฐอเมริกา เร่ิมตFนพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลในชLวงสงครามและการปฏิวัติทาง การเมือง โดยนโยบายทางการเมืองของจอรOจวอชิงตันสLงเสริมใหFพยาบาลผูFหญิงเขFารLวมการดูแลการเจ็บป™วยใน สนามรบ ดูแลทุกคนที่เจ็บป™วยหรือไดFรับบาดเจ็บ และการดูแลเนFนการพยาบาลขFางเตียง โดยมีสภาการ พยาบาลระหวLางประเทศ จัดตั้งที่ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการรวบรวมสมาชิกทางเป9นพยาบาลวิชาชีพจากทุก ประเทศ เริ่มมีนโยบายเกี่ยวกับการใชFทักษะการพยาบาลทางคลินิกประกอบการตัดสินใจดูแลสุขภาพเพ่ือใหF ประชาชนไดFรับการรักษาหรือการฟš›นฟูสุขภาพ เพื่อรับมือกับปัญหาสุขภาพ และเพื่อใหFบรรลุคุณภาพที่ดีทีLสุด ของชีวิตส่ิงท่ีเกิดโรคหรือความพิการของพวกเขาจนกวLาจะเสียชีวิต และมีการจัดตั้ง สมาคมพยาบาลแหLง สหรัฐอเมริกาแสดงบทบาทในการปกปœองสิทธิ หนFาท่ี ความรับผิดชอบ ของพยาบาลวิชาชีพ Brenda, S. and Mindy, T .๒๐๑๘, p ๙) ดังนั้นพยาบาลคือ บุคคลที่ชLวยเหลือคนป™วยหรือคนที่มีสุขภาพที่ดีในการปฏิบัติงาน ของกิจกรรมเหลLานั้น ดูแลดFวยความเอื้ออาทรตLอการมีสุขภาพที่ดี หรือการฟš›นฟูสภาพ หรือไปสูLความตายอยLาง สงบ ๒.๑.๕ แคนนาดา วิชาชีพการพยาบาลเริ่มใน ค.ศ ๑๖๓๙ ใน ควิเบก กับแมLชี ไดF พยายาม เป«ดภารกิจที่ตFองการการดูแลทางจิตวิญญาณและทางกายภาพของผูFป™วย สถานประกอบการของภารกิจนี้ จะสรFางโรงพยาบาลการฝึกอบรมกLอนการฝึกงานใน ทวีปอเมริกาเหนือ ในศตวรรษที่ ๑๙ มีบางคำสั่งคาทอลิก ของการพยาบาลที่ไดFรับการพยายามท่ีจะกระจายขFอความของพวกเขาในแคนาดา พยาบาลสLวนใหญLเป็นเพศ

หญิงและมีเพียงการใหFคำปรึกษาเป็นครัง้ คราวกับแพทยO ในชLวงปลายของการดูแลที่ โรงพยาบาลศตวรรษที่สิบ เกFาและการบริการทางการแพทยOท่ีไดFรับการปรับปรุงใหFดีขึ้นและการขยายตัวมาก จากนี้เนื่องจากฟลอเรนซOไน ติงเกล ผFูท่ีเป็นผูหF ญิงในการฝ^กอบรมภาษาอังกฤษ ใน ค.ศ ๑๘๗๔ ของโปรแกรมการพยาบาลอยLางเป9น ทางการคร้ังแรกเรมิ่ ตFนการฝ^กอบรมท่ีโรงพยาบ าลทั่วไปและทางทะเลในเซนตOแคใน ออนตาริ โปรแกรม จำนวนมากที่ข้ึนมาในโรงพยาบาลทั่วแคนาดาหลังจากนี้หนึ่งไดFกLอตั้งข้ึน ผสูF ำเร็จการศึกษา และครูผFสู อนจาก โปรแกรมเหลLานี้เริ่มที่จะตLอสูFกับกฎหมายลิขสิทธ์ิ วารสารพยาบาล การฝ^กอบรมสำหรับ พยาบาล มหาวิทยาลัยและองคOกรวิชาชีพสำหรับพยาบาล จากประวัติความเป9นมาดังกลLาวสะทFอนเห็นวLา การสั่งสมความรูF ของวิชาชีพการพยาบาลในดFานการดูแลมนุษยOที่มุLงเนFนในมิติทางการปœองกันสุขภาพ การฟš›นฟูสภาพ การสรFางเสริม สุขภาพ และการรักษาโรคเบื้องตFน ยอมทำใหFวิชาชีพการพยาบาลมีความสำคัญและสLงเสริมเอกลักษณOของวิชาชีพ การพยาบาลตอL ไป ๒.๒ ประวัติความเปนX มาในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตรO. (๒๕๔๖ หนFา ๕๖) ไดFกลLาวววLา เสFนทางการ พัฒนาของการพยาบาลในประเทศไทยสมัยโบราณไมLมีการกลLาวถึงการพยาบาลที่แนLนอน แตLสามารถสรุปความไดF วLา การพยาบาลนLาจะเป9นการดูแลกันเองจากภายในครอบครัวผูFหญิงหรือแมLจะทำหนFาที่ดูแล ปกปœองเด็กและ คนชรา ตลอดทั้งคนป™วยภายในครอบครัว ซึ่งการกระทำของผูFหญิงในลักษณะเหลLานี้เชื่ออวLาเกิดจาม สัญชาตญาณของการรักตนเอง ซึ่งเป็นสัญชาตญาณที่มีอยLูในมนุษยOตั้งแตLเกิดและสัญชาตญาณความเป็นแมL แตL ในขณะที่ทางการแพทยOไดFมีการบันทึกการพัฒนาไวFตั้งแตLยุคกLอนอาณาจักรไทยทำใหFสามารถอุปมานไดFวLา การ พยาบาลนLาจะเนFนการดูแลตามหลักของการแพทยOเป็นสLวนใหญL ซ่ึงสามารถอธิบายเสFนทางการพัฒนาการ พยาบาลไดFดังน้ี ๒.๒.๑ ยุคกLอนอาณาจักรสุโขทัย จากศิลาจารึกของอาณาจักรขอมไดFจารึกไวFวLาประมาณ พ.ศ. ๑๗๒๕ – ๑๗๒๙ พระเจFาชัยวรมันที่ ๗ ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลตามความเช่ือในศาสนาพุทธโดยสรFาง สถานพยาบาล เรียกวLา “อโรคยศาล” ขึ้น ๑๐๒ แหLงในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและบริเวณ ใกลFเคียงและกำหนดผFูทำหนFาที่รักษาพยาบาลไวFอยLางชัดเจน ไดFแกL แพทยO พยาบาล เภสัชกร ผูFจดสถิติ ผูFปรุง อาหารและ ยา รวม ๙๒ คน รวมทัง้ มีพิธีกรรมบวงสรวง พระไภสัชยคุรุไวฑูรยOประภา ตามความเช่ือทางศาสนา พุทธลัทธิมหายานดFวยการบูชา ดFวยยาและอาหาร กLอนแจกจLายใหFผูFป™วย ป_จจุบันมีโรคยาศาลที่ยังเหลือประสาท ที่สมบูรณOท่ีสุดคือ กLูบFานเขวFา จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งการพยาบาลคงหนีไมLพFนการดูแลตามความเช่ือและรวมเป9น หนึ่งในการถวายการดูแลตามหนFาที่ ๒.๒.๒ ยุคสมัยสุโขทัย มีการคFนพบหินบดยาสมัยทวาราวดี ซ่ึงเป็นยุคกLอนสุโขทัย และจากศิลา จารึกของพLอขุนรามคำแหง ไดFบันทึกไวFวLา ทรงสรFางสวนสมุนไพรขนาดใหญLบนเขาหลวงหรือเขาสรรพยา เพ่ือใหF ราษฎรไดFเก็บสมุนไพรไปใชFรักษาโรคยามเจ็บป™วยป_จจุบันภูเขาดังกลLาวอยูLในอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ใน

ยุคน้ีศาสนาพุทธลัทธิหินยานมีบทบาทอยLางมาก พระภิกษุนิยมธุดงคO ศูนยOรวมของวัฒนธรรมและการศึกษาอยูLที่วัด เชอ่ื วLาพระภิกษุยุคนี้มีความรูFในการรักษาตนเองดFวยสมุนไพรและชLวยเหลือแนะนำประชาชน การพยาบาลจึงไมL มีบทบาทที่ชดั เจนแตLเปน็ การดูแลของคนในครอบครัวมากกวาL ๒.๒.๓ ยุคสมัยอยุธยา มีลักษณะผสมผสานปรับประยุกตOองคOความรูFการแพทยOพื้นบFานท่ัว ราชอาณาจักรผสมกับความเชื่อตามแนวปรัชญาแนวพุทธ รวมทั้งความเชื่อทางไสยศาสตรOและโหราศาสตรOเพื่อใหF สอดคลFองกับสภาพของชุมชน ในสมัยสมเด็จพระนารายณOมหาราชพบบันทึกวLามีระบบการจัดหายาที่ชัดเจน สำหรับประชาชนมีแหลLงจำหนLายยาสมุนไพรหลายแหLงทั้งในและนอกกำแพงเมือง มีการรวบรวมตำรับยาตLาง ๆ ขึ้นเป9นครั้งแรกในประวัติศาสตรOการแพทยOแผนไทย เรียกวLา ตำราพระโอสถพระนารายณO การแพทยOแผนไทย สมัย นี้รุLงเรืองมากโดยเฉพาะอยLางยิ่งการนวดไทย การแพทยOตะวันตกเริ่มเขFามามีบทบาท โดยมิชชันนารีชาว ฝรั่งเศสไดF จัดตั้งโรงพยาบาลรักษาโรคแตLขาดความนิยมและลFมเลิกไป ในยุคการพยาบาลเริ่มไดFรับความรูF ใหมLในการดูแล แบบตะวันตก แตLยงั ไมสL ามารถพฒั นาความรูทF ่ีไดFมาอยาL งชดั เจน ๒.๒.๓ สมัยรัชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟœาจุฬาโลกมหาราช ไดFทรงปฏิสังขรณOวัด โพธารามหรือ วัดโพธข์ิ ้ึนเป็นอารามหลวง ใหFช่ือวLา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามและโปรดเกลFาฯใหFรวบรวมและ จารึกตำรา ยา ทLาฤๅษีดัดตน และตำราการนวดไทยไวFตามศาลา มีการจัดตั้งกรมหมอโรงพระโอสถคลFายกับใน สมัยอยุธยา ผูFที่รับราชการเรียกวLา หมอหลวง สLวนหมอที่รักษาประชาชนท่ัวไป เรียกวLา หมอราษฎรหรือหมอ เชลยศักดิ์ ๒.๒.๔ สมัยรัชกาลท่ี ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลFานภาลัย ไดFโปรดเกลFาฯ ใหFเหลLาผูF ชำนาญลักษณะโรคและสรรพคุณยา รวมทัง้ ผFูท่ีมีตำรายาดี ๆ นำเขFามาทูลเกลFาฯถวาย และใหFกรมหมอหลวง คัดเลือกและจดเป็นตำราหลวงสำหรับโรงพระโอสถ พ.ศ.๒๓๙๕ โปรดเกลFาฯ ใหFตรากฎหมายช่ือวLา กฎหมาย พนักงานพระโอสถถวาย ๒.๒.๕ สมัยรัชกาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระนัLงเกลFาเจFาอยูLหัว ทรงปฏิสังขรณOวัดพระเชตุพนฯ อีกครง้ั และโปรดเกลFาฯ ใหFจารึกตำรายาบอกสมุฏฐานของโรคและวิธีรักษาไวFบนแผLนหินอLอน ประดับตามผนัง โบสถO ศาลา และทรงใหFปลูกตFนสมุนไพรที่หายากไวFในวัดเป็นจำนวนมากนับเป็นการจัดการศึกษาใหFแกL ประชาชนอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมิไดFจำกัดอยLูเพียงในวงศOตระกูลเหมือนแตLกLอน นอกจากนี้ยังทรงปฏิสังขรณOวัด ราช โอรสารามและไดFจารึกตำ ร า ไวFในแผLนศิลาตามเสาระเบียงพระวิหาร รัชสมัยนี้มีการนำการแพทยOแบบ ตะวันตกเขFามาเผยแพรL โดยคณะมิชชันนารีชาวอเมริกัน ดFวยการนำของนายแพทยOแดนบีช บลัดเลยO ซึ่งคนไทย เรียกวLา หมอบลัดเลยO ซ่ึงนำวิธีการแพทยOแบบตะวันตกเขFามาใชF เชLน การปลูกฝªปœองกันไขFทรพิษ การใชFยาเม็ด ควินินรักษาโรคไขFจับส่ัน เป็นตFน (ภาวิณี บุนนาค, ๒๕๖๔, หนFา ๕๓) นับเป็นวิวัฒนาการการแพทยOแผนไทยและ แผนตะวันตก สLวนการพยาบาลยังเป็นเร่ืองการเรียนรFูกับการแพทยOแผนตะวันตก ไดFรับความรูเF ร่ืองยาเม็ดมากขึ้น และดแู ลตามคำแนะนำของหมอบลดั เรยO

๒.๒.๖ สมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลFาเจFาอยูLหัว ไดFนำการแพทยOแผนตะวันตก มาใชFเพิ่มขึ้น เชLน การสูติกรรมสมัยใหมLไมLสามารถเปลี่ยนคLานิยมของคนไทยไดFเนื่องจากการแพทยOแผนไทย เป9นวิถีชีวิตของคนไทยจนกลายเป9นจารีตประเพณีและวัฒนธรรมท่ีสืบเนื่องกันมา ชLวงนี้จึงเป9นการผสมผสาน ระหวLางการผดุงครรภOของไทยที่มีหมอตำแยมาทำคลอด การพยาบาลจึงเห็นชัดเจนในเร่ืองการทำคลอดและการ ผดงุ ครรภO ๒.๒.๗ สมยั รชั กาลที่ ๕ เป็นยคุ ของการพฒั นาดFานการแพทยOและการพยาบาล โดย ๑) พ.ศ. ๒๔๓๑ ทางการแพทยOจัดต้ังศิริราชพยาบาลขนึ้ มีการเรียนการสอนและใหFการรักษาทั้ง การแพทยOแผนไทยและแผนตะวันตกรLวมกัน มีการพิมพOตำราแพทยOข้ึนเป็นคร้งั แรกในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ ชื่อ ตำรา แพทยศาสตรOสงเคราะหO เลLม ๑ – ๔ ไดFรับยกยLองวLา เป็นตำราแหLงชาติฉบับแรก ตLอมาพระยาพิษณุประสาทเวช (หมอคง) เห็นวLาตำรายานี้มีความยากแกLผูFศึกษา จึงพิมพOตำราขึ้นใหมLไดFแกL ตำราแพทยศาสตรOสงเคราะหOฉบับ หลวง ๒ เลLมและตำราแพทยศาสตรOสังเขป ๓ เลLม ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขยังคงใชFมาจนทุกวันน้ี รวมถึงการ พยาบาลในประเทศไทยเกิดข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี ๕ แหLงกรุงรัตนโกสินทรOโดยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินี นารถ ไดFทรงพระกรุณาโปรดเกลFา ใหFจัดตั้งโรงเรียนแพทยOผดุงครรภOและหญิงพยาบาลขึ้น (ภาวิณี บุนนาค, ๒๕๖๔, หนFา ๕๙) ในโรงพยาบาลศิริราช ปัจจุบันคือ คณะพยาบาลศาสตรO มหาวิทยาลัยมหิดล สLวนทางการ พยาบาลมีการจัดตั้ง กรมพยาบาล เป9น สถาบันแรก ถือเป9นตFนกำเนิดของกระทรวงสาธารณสุขในปัจจุบัน ไดFแกL กรมพยาบาล สถาปนาขึ้นในรัชกาลท่ี ๑ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๑ ดังกลLาวมาแลFว โดยมีพระ เจFานFองยาเธอ พระองคOเจFาศรีเสาวภางคO ดำรงตำแหนLงอธิบดีคนแรก สันนิษฐานกันวLา กรมพยาบาลในปªแรกขน้ึ ตรงตLอองคOพระบาทสมเด็จพระเจFาอยูหL ัว ในปªตLอมาหลังจากที่พระองคOเจFาศรีเสาวภางคOทรงประชวรสิ้นพระชนมO กรมพยาบาลไดFยFายไปขึ้นอยูLกับกระทรวงธรรมการ ๒) พ.ศ. ๒๔๓๙ จัดตง้ั โรงเรียนผดุงครรภOขน้ึ โดยพระราชทานทรัพยOสLวนพระองคOของสมเด็จพระ ศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ จัดตงั้ หนLวยผลิตหนองฝีใชFเองเพื่อทำการรักษาโรคระบาดในอนาคต กรมพยาบาล ดำรงฐานะเป9นกรมอยูLจนถึง พ.ศ.๒๔๔๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลFาฯ ใหFยุบเลิกกรมพยาบาล โดยใหF โรงพยาบาลในสังกัดกรมนี้ขึ้นอยูLกับกระทรวงนครบาล เวFนแตLศิริราชพยาบาลคงใหFเป9น สาขาของโรงเรียนราช แพทยาลัย และยFายสังกัดไปข้ึนอยูLกับกรมศึกษาธิการ โดยตั้งเป9นแผนกพยาบาลขึ้นใน กรมศึกษาธิการ สLวนกอง ทำพันธOุหนองฝี กองโอสถศาลารัฐบาล กองแพทยOปœองกันโรค และแพทยOประจำเมือง ยังคงอยLูในสังกัดกระทรวง ธรรมการดงั เดมิ ๓) พ.ศ. ๒๔๔๘ ซึ่งตLอมาไดFยFายไปรวมอยูLในสถานเสาวภาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ไดFจัดใหFมีการผลิต ยาตำราหลวง และตั้งโอสถศาลาข้ึนเพื่อเป็นที่สะสมยาและเวชภัณฑOเพื่อใชFในสถานพยาบาลและองคOกรตLางๆ ของ รัฐบาล กับใหFตั้งกองแพทยOเพอ่ื ใหมF หี นาF ทป่ี อœ งกนั โรคตดิ ตอL แกปL ระชาชนในชนบท และจัดใหFมีแพทยปO ระจำเมือง ซึ่ง ตLอไปไดFพัฒนามาเป็นแพทยOสาธารณสุขจังหวัดในปัจจุบัน ในขณะ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลFาเจFาอยหLู ัว

รัชกาลท่ี ๕ พระราชทานพระบรมราชานุญาติใหFกLอตั้งองคOกรการกุศล โดยใหFใชFชื่อวLา สภาอุณาโลมแดงแห.งชาติ สยาม ดำเนินการชLวยเหลือทหารท่ีบาดเจ็บ จากการสFรู บ และบรรเทาทุกขO รักษาพยาบาลใหFแกLผFูที่เจ็บปLวยจาก ภัยสงคราม รวมท้ังภัยพิบัติตLาง ๆ โดยจัดตั้งสภาอุณาโลมแดงแหLงชาติสยาม หรือสภากาชาดสยาม กLอตั้งเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๓๖ มีกรณีพิพาท ระหวLางประเทศสยามกับฝรัง่ เศสเกี่ยวกับเรืLองดินแดนฝัง่ ซFายแมLน้ำโขงไดFทวีความ รุนแรงจนถึงมี การสรูF บเกิดข้ึน และเป็นสาเหตุใหFทหารตFองบาดเจ็บลFมตายลงจำนวนมาก อีกทั้ง ไมLมีองคOกรกุศล ใด ทำหนFาท่ีชLวยเหลือ เพื่อบรรเทาทุกขO ดังนั้น ทLานผูหF ญิงเปล่ียน ภาสกรวงศO จึงไดFดำเนินการชักชวน รวบรวม สตรี อาสาสมัครและไดFทำหนังสือกราบบังคมทูล สมเด็จพระนางเจFาฯ พระบรมราชเทวี พระนางเจFาฯ พระวรราช เทวี พระนางเจFาฯ พระราชเทวี และพระอรรคชายาเธอ ขอใหFนำความ กราบบังคมทูลพระกรุณาขอ พระราชทานพระบรมราชานุญาติ ตั้งสภาอุณาโลมแดงแหLงชาติ พระองคOทรงมีพระราชกระแสวLา เป9น ความคิด อันดีตามแบบอยLางประเทศทีLเจริญแลFว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลFาฯ พระราชทานพระบรมราชูปถัมภO และ พระบรมราชานุญาติใหFเรย่ี ไรไดFเงินเป9นจำนวนมากกับทรงพระกรุณาโปรดเกลFาฯ ใหF สมเด็จพระนางเจFาฯพระ บรมราชเทวี (สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาสภาชนนี สมเด็จพระนางเจFาฯเสาวภาผLองศรี พระวรราชเทวี (สมเด็จพระศรพัชรินทราบรมราชินีนาถ ) เป็น สภานายิกา และทLานผFูหญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศO เป็น เลขานุการิณี สภาอุณาโลมแดง ตLอมาการพัฒนาดFานการศึกษาของโรงเรียนพยาบาลแหLงแรกกLอกำเนิดข้ึนเมื่อวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๙ ดFวยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ใหFชือ่ วLาโรงเรียน หญิงแพทยOผดุงครรภOและการพยาบาลไขF ตLอมาไดFเปลยี่ นช่อื และวิวัฒนาการมาเป็น \"คณะพยาบาล ศาสตรO มหาวทิ ยาลัยมหิดล\" ในปจ_ จุบนั ๔) ปª พ.ศ. ๒๔๕๑ กระทรวงมหาดไทย มีการปกครองหัวเมืองเพื่อบำบัดทุกขOบำรุงสุขแกL ประชาชนในชนบท ไดFขอโอนกองโอสถศาลารัฐบาล กองทำพันธุOหนองฝี กองแพทยOและแพทยO ประจำเมือง จากกระทรวงธรรมการมาอยูLในสังกัดกระทรวงมหาดไทย โดยใหFขึ้นอยูLกับกรมพลำภัง และในปีเดียวกันไดFมีตรา พระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล และประกาศตั้งสุขาภิบาลขึ้นหลายจังหวัดเชLน นครราชสีมา จันทบุรี นครศรีธรรมราช ชลบุรี นครปฐม ภายหลังจากที่ไดFทดลองใหFมีสุขาภิบาลเป9นแหLงแรกที่ ตำบลทLาฉลอม จังหวัด สมทุ รสาคร ในปª พ.ศ. ๒๔๔๘ การควบคุมดูแลการสุขาภบิ าลในชนบทน้อี ยูLในหนFาทขี่ องกรมพลำภังเชLนเดียวกนั ๕) ปª พ.ศ. ๒๔๕๕ กระทรวงมหาดไทยมีโครงการขยายงานทางการสาธารณสุขอยLางกวFางขวางจึง ขอพระบรมราชานุญาติต้ังกรมพยาบาลข้นึ ใหมL ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อรวมงานเกี่ยวกับการ สาธารณสุข ซึ่งอยูLในสังกัดกรมพลำภังเขFาดFวยกัน โดยแบLงการบริหารงานของกรมพยาบาลออกเป9น ๖ แผนก คือ แผนกบัญชาการ แผนกการแพทยO แผนกปFองกันโรคระบาด แผนกปัสตุระสภา (Pasteur Institute) แผนก สุขาภิบาล และแผนกโอสถศาลารัฐบาล งานที่กFาวทันในยุคนี้ ไดFแกL การจัดใหFมีแพทยOประจำทุกจังหวัด และ จัดสรFางสถานีอนามัยใน ชนบท เดิมเรียกวLา \"โอสถสภา\" ตLอมาเปลีย่ นเป9น \"สุขศาลา\" และในปัจจุบันเรียกวLา \"สถานีอนามัย\" นอกจากนี้ ไดFขยายการปลูกฝีปFองกันไขFทรพิษไปทั่วทุกจังหวัดและควบคุมการใชFยาเสพติดใหFโทษ

และไดFมีการกLอตั้ง \"โรงเรียนนางพยาบาลสภากาชาดสยาม\" ตLอมาเปล่ียนเป็น \"โรงเรียนการพยาบาล สภากาชาด ไทยและโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ; และอนามัยสภากาชาดไทย\" มีการเป«ดโรงพยาบาลจุฬาลงกรณOไดFทำการเรียน การสอนวิชาการพยาบาลแกLผูFที่สำเร็จการศึกษาผดุงครรภOในปªพ.ศ. ๒๕๔๗ ถือวLาเป9นโรงเรียนพยาบาลใน โรงพยาบาลแหงL แรกของประเทศไทย ๒.๒.๘ สมัยรชั กาลท่ี ๖ เป็นยคุ ของการพฒั นาดFานการพยาบาล โดย ๑) ปª พ.ศ. ๒๔๕๙ กระทรวงมหาดไทยมีความประสงคOจะปรับปรุงกิจการของกรมพยาบาลใหF กวFางขวางยิ่งขึ้น จึงไดFนำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจFาอยLหู ัวรัชกาลที่ ๖ ขอพระราชทานพระบรม ราชานุญาติเปล่ียนช่ือกรมพยาบาล เป็น “กรมประชาภิบาล” พรFอมท้ังยกฐานะแผนกตLาง ๆ ขึ้นเป็นกอง ซึ่งไดFรับ พระบรมราชานุญาติเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยแบLงสLวนราชการออกเป็น ๔ กองคือ กองบัญชาการ เบ็ดเสร็จ กองสุขาภิบาล กองพยาบาล กองเวชวัตถุ หลัง จา กส ถา ปน าก รม ปร ะชาภิบา ลไดF ๒ ปี พระบาทสมเด็จพระเจFาอยูLหัวรัชกาลท่ี ๖ ทรงมีพระราชดำริวLางานสาธารณสุขยังแยกยFายอยูLหลาย กระทรวง ควรจะใหFรวมอยูLในหนLวยงานเดียวกัน กระทรวงมหาดไทยซ่ึงเจFาพระยาสุรสีหOวิสิษฏศักดิ์ เสนาบดี กระทรวงมหาดไทย รับสนองพระบรมราชโองการ ในการรวบรวมกิจการสาธารณสุขไวFแหLงเดียวกัน โดยขอใหF พระเจFานFองยาเธอกรมหมื่นชัยนาทนเรนทร ดำรงตำแหนLงผูFชLวยปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการ มาเป9น อธิบดีกรมประชาภิบาล และขอพระราชทาน ความเหน็ เกยี่ วกบั การเปลี่ยนแปลงชอื่ กรมใหมใL หเF หมาะสมยิ่งขึ้น ๒) เมื่อวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๑ ไดFมีประกาศในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ตั้งกรม สาธารณสุขขึ้นในกระทรวงมหาดไทย โดยมีพระเจFานFองยาเธอ กรมหมื่นชัยนาทนเรนทร เป็นอธิบดีคนแรก ตLอมา ทางราชการจึงไดFถือเอาวันที่ ๒๗ พฤศจิกายนของทุกปªเป9นวันคลFายวันสถาปนาการสาธารณสุขจนถึงทุกวันน้ี ใน ระยะแรกกิจการสาธารณสุขในชนบทและการสาธารณสุขในกรุงเทพฯ ซึ่งข้ึนอยูLกับกระทรวงนครบาล ยังรวมกัน ไมLไดFเต็มที่ เนื่องจากติดขัดเรื่องการโอนอำนาจความรับผิดชอบและเรื่องงบประมาณเมื่อวันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ไดFมีประกาศพระบรมราชโองการรวมการปกครองท้ังหัวเมืองและกรุงเทพฯใหFอยูL ในกระทรวงเดียวกัน โดย ยุบกระทรวงนครบาลมารวมกับกระทรวงมหาดไทย การสาธารณสุขและการแพทยO ของกรุงเทพฯ และหัวเมือง ใกลFเคียงมาสังกัดกรมสาธารณสุข โดยไดFปรับปรุงสLวนราชการใหมLใน พ.ศ.๒๔๖๙ แบLงกิจการออกเป9น ๑๓ กอง การบรหิ ารงานสาธารณสขุ ของทางราชการในยุคตงั้ แตLประกาศตั้งกรมสาธารณสุข ๓) ในปª พ.ศ. ๒๔๖๑ จนถึงปีพระราชทานรัฐธรรมนูญใน พ.ศ. ๒๔๗๕ ซ่ึงไดFจัดเอาไวFยุคท่ี ๒ น้ัน การดำเนินงานสLวนใหญLเพื่อปœองกันโรคและสงL เสริมสขุ ภาพอนามัยของประชาชน สำหรับการบำบัดโรคโดยตรง อันไดFแกL การสรFางโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยจึงเรียกวLา \"โอสถสภา\" มีเพียงแตLการสนับส นุนใหFทFองที่ จัดสรFางขึ้นเอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลFาเจFาอยูLหัว รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งทรงดำรงตำแหนLงพระยุพราช ไดF เสด็จกลับจากการศึกษาที่ประเทศอังกฤษเสด็จผLานประเทศญี่ปุ™นไดFทอดพระเนตรโรงพยาบาลของกาชาดญี่ปุ™น จึงมีพระดำริวLา ถFาไดFจัดโรงพยาบาลของกาชาดขึ้นในเมืองไทยเป็นประโยชนOแกLบFานเมืองและเมื่อสมเด็จพระ

ราชบิดาเสด็จสูLสวรรคาลัย พระองคOจึงไดFรLวมกับพระราชภราดาภคินีทรงบริจาคทรัพยOรLวมกับทุนของสภาอุณา โลมแดงที่มีอยูLสรFางโรงพยาบาลในที่ดินสLวนพระองคOโปรดเกลFา ฯ ขนานนามตามพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจุฬาภรณOพระจุลจอมเกลFาเจFาอยหูL ัววLา “โรงพยาบาลจุฬาลงกรณO” เพื่อเป็นอนุสรณOในพระราชบิดารวมถึงมีการส่ังยกเลิกวิชาการแพทยOแผนไทยและมีประกาศใหFใชFพระราชบัญญัติ การแพทยOเพื่อควบคุมการประกอบโรคศิลปะเพื่อปœองกันอันตรายอันเนื่องมาจากการประกอบการของผูFที่ไมLมี ความรูFและมิไดFฝ^กหัดดFวยความไมLพรFอมในดFานการเรียนการสอน การสอบ และการประชาสัมพันธO ทำใหFหมอ พื้นบFานจำนวนมากกลัวถูกจับจึงเลิกประกอบอาชีพนี้ บFางก็เผาตำราทิ้ง จะมีหมอแผนโบราณเพียงจานวนหน่ึง เทLานัน้ ทส่ี ามารถปฏิบตั ิไดFตามพระราชบญั ญตั ิดงั กลLาวนับเป็นทงั้ ขอF ดีและขFอเสยี ทเ่ี กิดเหตุการณOน้ขี ้ึน ๒.๒.๘ สมัยรชั กาลท่ี ๗ เปน็ ยุคของการพฒั นาแบบผสมผสาน โดย ๑) รัชกาลที่๗ กฎหมายเสนาบดีไดFแบLงการประกอบโรคศิลปะออกเป9นแผนป_จจุบันและแผน โบราณมีการศึกษาวิจัยสมุนไพรข้ึนระหวLางปี พ.ศ. ๒๔๘๕ – ๒๔๘๖ ขณะท่ีสงครามโลกครั้งที่ ๒ ลุกลามเขFามาใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตFทำใหFเกิดภาวะขาดแคลนยา ศาสตราจารยOนายแพทยOอวย เกตุสิงหO ไดFศึกษาวิจัยสมุนไพรที่ ใชFรักษาไขFมาลาเรียที่โรงพยาบาลสัตหีบ หลังจากสงครามโลกสงบลง ยังคงมีปัญหาขาดแคลนยาแผนป_จจุบัน รัฐบาลจึงมีนโยบายใหFองคOการเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุข ผลิตยาสมุนไพรเป9นยารักษาโรค องคOกร เอกชนดFานการแพทยOแผนไทยรLวมกับสมาคมพยาบาลแหLงประเทศไทย ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ เพื่อทำหนFาที่เป็น ศูนยOกลางการคFนควFาวิจัยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรLวมมือกันปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานของวิชาชีพ ทาง ราชการไดFเห็นความสำคัญของการพยาบาลท่ีชLวยในการรักษาพยาบาลและปFองกันโรคเพื่อรักษาคุณภาพ จึงไดFจัด ใหFมี “กองการพยาบาล” ขึ้นเพื่อใหFคำหารือในดFานวิชาการและปฏิบัติการพัฒนาสถาบันการศึกษาพยาบาล รLวมกับตLางประเทศ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๔ ทางสมาคมพยาบาลแหLงประเทศไทยในพระราชูปถัมภOของสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนีไดFจัดทำยก (รLาง) พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOฉบับแรกเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๔ เพื่อทจ่ี ะผลักดันใหFมีองคOกรวิชาชีพที่ทำหนFาที่ควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภOในประเทศไทย ปª พ.ศ.๒๕๑๘ ท่ีประชุมของการประชุมพยาบาลแหLงชาติครั้งท่ี ๕ ไดFมีมติใหFเสนอกระทรวง สาธารณสุขปรับปรุงแกFไขพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะพุทธศักราช ๒๔๗๙ ในสLวนท่ีเกี่ยวขFองกับ สาขาการพยาบาลและการผดุงครรภOเพื่อแสดงความหมายและขอบเขตของการพยาบาลและการผดุงครรภOใหF ชัดเจนและสมบูรณO ตามบทบาทหนFาที่ที่ไดFเปลีย่ นแปลงไปและเสนอใหFมีการจัดตั้ง “สภาการพยาบาล” เพื่อ ทำหนFาที่ควบคุมกำกับวิชาชีพการพยาบาลใหFมีพลังอำนาจในการตLอรองและปฏิบัติการพยาบาลภายใตFกฏหมาย ของประเทศไทย ๓) พ.ศ. ๒๕๒๑ สมาคมพยาบาลแหLงประเทศไทยฯ ไดFเขFารLวมกับคณะกรรมการยกรLาง พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOเพื่อจัดทำรLางพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการ

ผดุงครรภOตLอจนแลFวเสร็จ และนำเขFาสูLกระบวนการการออกพระราชบัญญัติตามขั้นตอนนิติบัญญัติ เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดFรับพระกรุณาโปรดเกลFาใหFตราพระราชบัญญัติวิชาชีการพยาบาลและการผดุงครรภO พ.ศ. ๒๕๒๘ ดFวยเหตุผลวLา “เนื่องจากในป_จจุบันการประกอบโรคศิลปะแผนป_จจุบันในสาขาการพยาบาลและการผดุง ครรภOอยูLในความควบคุมตามกฎหมายวLาดFวยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (ราชกิจจานุเบกษา,๒๕๔๐,หนFา ๑) ซึ่งมีคณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะทำหนFาที่ควบคุมทั้งการประกอบโรคศิลปะแผนป_จจุบันในสาขา ทันตกรรม เภสัชกรรม การพยาบาล การผดุงครรภO กายภาพบำบัด เทคนิคการแพทยOและการประกอบโรคศิลปะ แผนโบราณในสาขาเวชกรรม เภสัชกรรม การผดุงครรภO และในป_จจุบันมีผูFประกอบโรคศิลปะแผนป_จจุบันในสาขา การพยาบาลลการผดุงครรภOเป9นจำนวนมากสมควรแยกการควบคุมการประกอบโรคศิลปะโดยจัดตั้ง “สภาการ พยาบาล” ขึ้น ประกอบดFวยผูFแทนสLวนราชการที่เกี่ยวขFองซึ่งเป9นผูFประกอบวิชาชีพดังกลLาวและผูFประกอบวิชาชีพ ดังกลLาวไดFรับเลือกตั้งโดยผูFประกอบวิชาชีพดFวยกันเองเป9นกรรมการ เพื่อความคลLองตัวในการทำหนFาที่ควบคุมและ สLงเสริมมาตรฐาน การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOโดยอิสระเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น พระราชบัญญัติดังกลLาวไดFประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เลLม ๑๐๒ ตอน ๑๒๐ วันที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๘ มผี ลบังคบั ใชFต้ังแตLวันที่ ๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ๔) ในระยะเริ่มแรกของการจัดตั้งสภาการพยาบาล สภาการพยาบาลไดFรับความอนุเคราะหOจาก กระทรวงสาธารณสุข ใหFใชFพื้นที่ของหนLวยงานของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วังเทวะเวสมO เขตพระนคร กรุงเทพ โดยการใชFพื้นที่ของกองการประกอบโรคศิลปะ กองการพยาบาล และกองงานวิทยาลัยพยาบาลเป9นสถานที่ ทำการชั่วคราวของสำนักงานสภาการพยาบาล ตามลำดับตั้งแตLปª พ.ศ. ๒๕๓๔ กำหนดใหFใชF “ดอกปªบ” เป9น สัญลักษณOของพยาบาลไทย เนื่องจาก “ดอกปªบ” เป9นดอกไมFสีขาวที่มีกลิ่นหอม ตFนปªบเป9นไมFยืนตFน ขึ้นไดFในที่ดิน แหFงแลFง ราก ลำตFน และดอกใชFเป9นสมุนไพร เปรียบกับการพยาบาลในชุดสีขาวผูFพรFอมที่จะประกอบคุณงานความดี ประดุจกล่นิ หอมของดอกปบª และพรFอมสราF งประโยชนOเชนL เดยี วกับการเป9นสมุนไพรของ “ดอกปบª ” ๕) จนกระทั่งในปª พ.ศ. ๒๕๓๖ กระทรวงสาธารณสุขไดFยFายที่ทำการมายังจังหวัดนนทบุรี สภาการ พยาบาลไดFรับความอนุเคราะหOจากกระทรวงใหFใชFพื้นที่ อาคาร ๖ ชั้น ๗ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป9นที่ ทำการของสภาการพยาบาลชั่วคราว และตLอมาไดFจัดสรรที่ดินในบริเวณกระทรวงสำหรับการกLอสรFางสภาวิชาชีพ สภาการพยาบาลจึงไดFดำเนินการรณรงคOหาทุนสำหรับการกLอสรFางที่ทำการถาวรของสภาการพยาบาลขึ้น และไดFรับ พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีพระราชทานนามอาคารวLา “อาคารนครินทรศรี” และ ไดFรับพระกรุณาจากสมเด็จพระเจFาพี่นางเธอเจFาฟœากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทรO เสร็จทรงวางศิลา ฤกษOอาคารนครนิ ทรศรี เมอ่ื วันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ๖) ในปª พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดFออกพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อปรับปรุงแกFไขพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO พ.ศ. ๒๕๒๘ และไดFประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลLม ๑๑๔ ตอนที่ ๗๕ ก เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ (ราชกิจจา

นุเบกษา,๒๕๔๐,หนFา ๑) มีผลใหFเกิดการเปลยี่ นแปลงในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO ท่ีสำคัญหลาย ประการ ไดFแกL การกำหนดใหFผูFสำเร็จการศึกษาพยาบาลท่ีจะขอข้ึนทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผปFู ระกอบ วิชาชีพจะตFองสอบความรูFผLานตามเกณฑOทีส่ ภาการพยาบาลเป็นกำหนด และการกำหนดอายุใบอนุญาตใหFมีอายุ ๕ ปี ท้ังพยาบาลและผดุงครรภOที่ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตใหมL รวมทงั้ พยาบาลและผดุงครรภOรุLนเกLาท่ีเคยมี ใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ หรือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ฯ อยูLเดิม ไมLไดFกำหนดวันหมดอายุเอาไวF จะมีอายุ ใบอนุญาตตLอไปอีก ๕ ปี นับตง้ั แตLวันที่ ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ในวันที่ ๒๑ ตุลาคม ของทุกปª เป็นวันคลFายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี ในฐานะที่พระองคOทLานทรงสำเร็จการศึกษาวิชาการพยาบาล และตลอดพระชนมOชีพของพระองคOทรง ปฏิบัติพระราชภารกิจในการพัฒนาสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของประชาชนเป่ียมลFนดFวยพระเมตตา และ ดFวยพระวิริยะอุตสาหะ นำสิริสุขแกLปวงชนทุกกFาวพระบาทที่เสด็จไปถึงสมควรเป็นแบบอยLางแกLผFปู ระกอบวิชาชีพ การพยาบาล ใหFตระหนักในภารกิจของวิชาชีพแหLงตนวLาเป9นงานบริการสุขภาพที่มีความสำคัญ และมีคุณคLาแกL สังคมดFวยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณดังกลLาวแลFวน้ี กระทรวงสาธารณสุข ไดFเสนอขอความเห็นชอบตLอ คณะรัฐมนตรี ใหFวันท่ี ๒๑ ตุลาคม ของทุกปีเป็นวันพยาบาลแหLงชาติตั้งแตLปªพุทธศักราช ๒๕๓๓ สภาการ พยาบาล และสมาคมพยาบาลแหLงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภO ในนามของพยาบาลและผดุงครรภOท้ัง ประเทศถือเป็นสิริมงคลอันสูงยิ่ง (สมใจ ศิระกมล, ๒๕๕๖, หนFา ๕๓) และไดFรLวมกันจัดงานวันพยาบาลแหLงชาติ ในวันท่ี ๒๑ ตุลาคม ของทุกปªนับ แตLนนั้ เปน็ ตFนมา การบริการพยาบาลในประเทศไทยถือไดFวLาเกิดจากความกรุณาของเจFานายในพระราชวงศO นับตั้งแตLองคOสมเด็จพระจุลจอมเกลFาเจFาอยูLหัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลFาเจFาอยูLหัวสมเด็จ พระศรีสวรินทราพระพันวสาอัยยิกาเจFา สมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทร สมเด็จพระ มหิตลาธิเบศรOอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระนางเจFารำไพพรรณีคลอดจนพระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชชะนีพันปªหลวง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชินีนาถและเจFานายพระองคOอื่นและพระบาทสมเด็จพระเจFาอยูLหัวรัชกาลปัจจุบัน ที่มคี วามใสLในสุขภาพของพสนกิ รชาวไทยใหFมสี ุขภาพท่ีดี นอกจากนี้รัฐบาลทุกรัฐบาลไดFใหFความปกปFองและสนับสนุนระบบบริการพยาบาล โดยปรับปรุง คุณภาพและมาตรฐานของการพยาบาลเพื่อชLวยใหFประชาชนมีความสุขและความปลอดภัยแกLชีวิตดFวยการ ปฏิบัติของพยาบาลทุกคน ในปัจจุบันมีระดับของบุคลากรทางการพยาบาลประกอบดFวยพยาบาลวิชาชีพ คือ ผูFถือใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOชั้นหนึ่ง พยาบาลวิเทคนิคคือ ผูFถือใบประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภOชั้นสอง และยังมีเจFาหนFาที่ทางการพยาบาลระดับอื่น ไดFแกL ผูชF Lวย พยาบาล พนักงานดูแล และอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมูบL Fาน

๓. ความสำคัญของวิชาชีพการพยาบาล ความสำคัญขององคOความรFูทางการพยาบาลตLอการปฏิบัติการพยาบาลในวิชาชีพการพยาบาลถือวLา มีความสำคัญและเ ป9นก าร ส รFางอง คO ควา ม รูFที่ทำ ใหFเ กิ ดก าร ยอม รับ ใ นคว าม เ ป็ น วิชา ชีพ ของ พยา บ า ล มี พ้ืน ฐานความรูFของตนเอง สามารถ ทดสอบความรูFไดFอยLางเป็นระบบ มีขอบเขตเนื้อหาท่ีชัดเจน อีกทั้งยังสามารถ ทำใหFพยาบาลผูFปฏิบัติการพยาบาลสามารถมองผูรF บั บริการไดFตั้งแตLการประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยสาเหตุ ของปัญหา การใหFการพยาบาล และการประเมินผล อีกทั้งยังชLวยใหFการพยาบาลมีประสิทธิภาพเนื่องจากองคO ความรูF ทางการพยาบาลทำใหFเห็นแนวทางการประเมินสถานการณO การกำหนดเปœาหมาย การประเมินผลลัพธO ไดF อยLางเป็นอิสระและมีความเป็นเอกสิทธใิ์ นตนเองและวิชาชีพอยLางยั่งยืน (Meleis, ๒๐๑๑, PP ๒๕๖) ดFวยการ พัฒนาศาสตรOและองคOความรูFทางการพยาบาล เพื่อเป9นแนวทางการพัฒนาการกระทำตLอมนุษยO เกี่ยวกับการ ดูแลและการชLวยเหลือเมื่อเจ็บปLวย การฟš›นฟูสภาพ การปœองกันโรค และการสLงเสริมสุขภาพ รวมทั้งการ ชLวยเหลือแพทยOกระทำทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตรOและศิลปะการพยาบาล จึงจำเป9นตFองมีองคOประกอบของ ระบบความเป็นสาขาวิชาหรือองคOความรFูที่เกี่ยวขFองกับพื้นฐานวิชาชีพ และความเป9นวิชาชีพท่ีรับผิดชอบและ สามารถพัฒนาความเป9นเอกลักษณOของวิชาชีพ ภายใตFกลไกของการบริหาร การวิจัย การ บริการ การพัฒนา ศาสตรOทางการพยาบาลยังเป็นกระบวนการพัฒนาความรูFเกี่ยวกับปรากฏการณOในสาขาวิชาชีพ ขFอเท็จจริง แนวคดิ ทฤษฎี โดยอาศัยกระบวนการวิจยั เพือ่ หาชดุ คำตอบที่ ทฤษฎีการพยาบาล (Nursing Theory) จึงเป9นองคOความรูFทางการพยาบาลที่พัฒนาใหFเป็นศาสตรO ทางการพยาบาล ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาองคOความรFูของพยาบาล เพราะทฤษฎีการพยาบาลคือ ชุด ขFอเสนอเกี่ยวกับคำถามสำคัญในการ คFนหาคำตอบอยLางเป็นระบบเพื่อพรรณนา อธิบาย ทำนาย หรือ ควบคุม ปรากฏการณOทางการพยาบาลใหFไดF ขFอสรุปท่ีเกิดจากวิธีการที่ทำใหFโครงสรFางของแตLละบุคคลอยูLในสภาพที่ ปราศจากโรคหรือสามารถฟš›นตัวจากโรคไดF (RiegelI, CrossettiII, MartiniI, and NesIII, ๒๐๒๑, PP ๓) จาก การดูแลสุขภาพ การชLวยเหลือเมื่อเจ็บป™วย การฟš›นฟูสภาพ การปœองกันโรค และการสLงเสริมสุขภาพใหF ครอบคลุมการบริการสุขภาพ และสามารถสนับสนุนใหFมนุษยOมีแบบแผนการดำเนินชีวิตไปในทิศทางแหLงการมีสุข ภาวะที่ดี สามารถนำความรูFที่ไดFไปวางแผนใหFการบริการที่สามารถจัดใหFประชาชนทุกคนโดยเนFนใหFทุกคน พึ่งตนเอง ครอบครัวสามารถดูแลซึ่งกันและกัน และชุมชนมีสLวนรLวมในการดูแลสุขภาพ ดังน้ันสาระความสำคัญของวิชาชพี การพยาบาลสามารถสรปุ ไดดF ังน้ี ๑. ศาสตรOทางการพยาบาลเป็นองคOความรูFที่เกี่ยวขFองกับปรากฏการณOในสาขาวิชาชีพที่ตFองการ กระบวนการรวบรวมขFอความรูF ชุดความรูF ท่ีสังเคราะหOจากงานวิจัยและทฤษฎีทีLผLานการทดสอบแลFว สามารถ นำมาใชFในการอFางองิ ความรFูในการปฏิบัติการการพยาบาล ๒. วิชาชีพการพยาบาลเป9นกระบวนการพัฒนาการเรียนรFใู นการดูแลสุขภาพเพื่อนำใชFขFอความรูF หรือชุดความรูFท่ีไดFเป็นขFอเท็จจริง แนวคิด ทฤษฎี และคำอธิบายความแตกตLางท่ี สามารถเห็นความสัมพันธO

ของทฤษฎี ความรFู ศาสตรOทางการพยาบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการพยาบาล โดยอาศัย วิธีการทางวิทยาศาสตรO ศิลปะศาสตรO เขFามามี บทบาทรLวมกันในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ๓. การพยาบาลเป9นกลไกเชิงระบบของการดูแลที่สามารถพรรณนา อธิบาย ทำนาย หรือควบคุม ปรากฏการณOทางการพยาบาลใหFไดFขFอสรุปตามแผนการรักษาจากผลของการพยาบาลท่ีเกิดจากการดูแลสุขภาพ การชLวยเหลือ เมื่อเจ็บปLวย การฟš›นฟูสภาพ การปœองกันโรค และการสLงเสริมสุขภาพใหFครอบคลุมการบริการ สุขภาพ ๔. ประสบการณOพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลสรFางมาจากพื้นฐานของความเอื้ออาทร ความเมตตา กรุณาปราณี ซึ่งเป9นรากฐานของความมีคุณธรรมจริยธรรมขั้นพื้นฐานที่ชLวยทำใหFบุคคล ครอบครัว และชุมชนมีสุข ภาวะที่ดี ประกอบกับการจัดการสิ่งแวดลFอมที่ชLวยทำใหFลดภาวะการติดเชื้อจากโรคหรือสภาพแวดลFอมไมL เหมาะสมตLอการมสี ขุ ภาพท่ดี ี ๕. วิชาชีพการพยาบาลเป9นการปฏิบัติที่เนFนทักษะการดูแลสุขภาพอยLางสม่ำเสมอ ผสมผสานกับ ทักษะการพฒั นาการดูแลอยาL งตอL เน่ืองเพ่อื สงL ผลลัพธOทด่ี ีตLอสขุ ภาพของบุคคล ครอบครวั และชุมชน บทสรปุ เปœาหมายของวิชาชีพการพยาบาลเป9นมืออาชีพของตนเพื่อใหFแนLใจวLาการดูแลที่มีคุณภาพสำหรับทุกคน ในขณะที่รักษาประจำตัวจรรยาบรรณของมาตรฐานและความสามารถและการศึกษาตLอเน่ืองของพวกเขา มี จำนวนของเสFนทางการศึกษาไปสูLการเป9นพยาบาลมืออาชีพซึ่งแตกตLางกันมากทั่วโลก แตLท้ังหมดเกี่ยวกับ การศึกษาที่กวFางขวางของ ทฤษฎีการพยาบาล และการปฏิบัติและการฝ^กอบรมในดFานทักษะ ทางคลินิก การดูแล รักษาพยาบาลสำหรับบุคคลทุกเพศทุกวัยและภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่มีสุขภาพดีและไมLดี ในแบบองคOรวม ขึ้นอยูL กับลักษณะของแตLละบุคคลทั้งรLางกายอารมณOความตFองการทางดFานจิตใจสติป_ญญา สังคมและจิตวิญญาณ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ อาชีพจึงตFองใชFพื้นความรูFรวมวิทยาศาสตรOทางกายภาพ วิทยาศาสตรOสังคม ทฤษฎีการ พยาบาลและ เทคโนโลยีในการดูแลบุคคลเหลLานั้นเพื่อทำงานในวิชาชีพการพยาบาล เพราะพยาบาลทั้งหมด ทำงานไดFตามขอบเขตของการปฏิบัติ และ การศึกษาทางการพยาบาล เพื่อใหFความเป็นวิชาชีพมีความชัดเจนมาก ยงิ่ ขนึ้

คำถามท%ายบท ๑. ขFอใดคอื องคOประกอบของระบบการพยาบาล ๑. การรกั ษาโรค ๒. การจัดการสิง่ แวดลFอม ๓. การกระตุFนใหเF กดิ การมีสวL นรวL ม ๔. การพฒั นาการความรFูวิชาชีพ ๒. การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลใดตรงกบั ความหมายของการประกอบอาชพี พยาบาล ๑. การทำแทนแพทยO ๒. การสอนใหFคำแนะนำเร่ืองยา ๓. การเฝFาระวงั การเกดิ โรคระบาด ๔. การใหวF ัคซนี ปอœ งกนั โรคไอพีดี ๓. ลักษณะงานบริการใดไมใL ชLระบบบรกิ ารการพยาบาล ๑. การรักษาโรคทFองเสีย ๒. การใสหL Lวงอนามยั แกLสตรีหลังคลอด ๓. การแกไF ขปญั หาครอบครัวแตกแยก ๔. การขลิบปลายอวัยวะเพศเด็ก ๔. ขFอใดเปน็ การจดั ระบบบรกิ ารการพยาบาลตามพระราชบัญญัตสิ ุขภาพแหงL ชาติ ๑. กำหนดเกณฑOมาตรฐานในการใหบF รกิ าร ๒. การใชFเทคโนโลยีข้ันสงู ในการวนิ จิ ฉยั แยกโรค ๓. ประชาชนมีสวL นรวL มในการจัดกิจกรรมรLวมกบั พยาบาล ๔. การใชสF อ่ื หลากหลายชLองทางประชาสัมพันธOการบรกิ าร ๕. ขFอใดแสดงถึงความสัมพนั ธรO ะหวLางการท างานในระบบบริการการพยาบาลกบั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ ๑. ระบบการสงL ตLอ ๒. ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน ๓. การจัดสรรงบประมาณตามโรค ๔. การจดั อัตรากำลงั แบบสหสาขาวชิ าชีพ

๖. ขFอใดไมใL ชLการเสFนทางการพัฒนาของการพยาบาลในประเทศไทย ๑. การปรุงยากบั มิชชน่ั นารี ๒. การดูแลความสะอาดท่พี กั อาศัย ๓. การทำลกู ประคบดFวยสมนุ ไพรลดปวด ๔. การพฒั นาเน้ือหาวิชาการพยาบาลใหเF ป็นวิชาชพี ๗.ประสบการณขO องพยาบาลวชิ าชีพในตLางประเทศดาF นใดแตกตLางจากพยาบาลในประเทศไทย ๑. การผดุงครรภO ๒. การเยย่ี มผูFเจบ็ ปว™ ย ๓. การดูแลผFเู จบ็ ปว™ ยในสนามรบ ๔. การเฝาœ ระวงั การแพรLบาดของโรค ๘. ใครคอื ผูปF ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภOในตLางประเทศ ๑. ผดงุ ครรภO ๒. ผชFู Lวยพยาบาล ๓. อาจารยพO ยาบาล ๔. พยาบาลวชิ าชพี ๙. พยาบาลในตLางประเทศมีหนFาท่ี ยกเว2นขFอใด ๑. ควบคมุ จริยธรรมในการประกอบวชิ าชพี ๒. เปน็ ตัวแทนเจรจาตLอรองกบั สหสาขาวิชาชพี ๓. ควบคุมมาตรฐานการจดั สถาบนั ทางการพยาบาล ๔. ออกกฎหมายขFอบังคบั ประกาศในการควบคมุ พฤตกิ รรมพยาบาล ๑๐.พยาบาลวิชาชีพในตLางประเทศ แตกตาL งจากพยาบาลในประเทศอยLางไร ๑. จัดการความเจบ็ ปวL ยเบอื้ งตนF ๒. ความเออื้ อาทร เอาใจใสL ๓. นำใชFทฤษฎีการพยาบาลอยาL งชดั เจนในการใหFบริการ ๔. ประเมนิ ผลการดแู ลบคุ คล ครอบครัวและชมุ ชนรLวมกบั หนLวยงานท่ีเกี่ยวขอF ง บรรณานุกรม พิชญากร ศรีประโค. (๒๕๕๗). การพัฒนาวิชาชีพพยาบาล : การพัฒนาภาวะผูFนำทางการพยาบาล. วารสาร พยาบาลทหารบก, ๑๕(๓), ๑-๘. สืบคFนจาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30207/26043

พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO พ.ศ. ๒๕๒๘ และแกFไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภO (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐. (๒๕๔๐, ๒๓ ธันวาคม). ราชกิจจา นุเบกษา. เลมL ๑๑๔, ตอนท่ี ๗๕ ก, หนFา๑ -๙. สืบคFนเม่ือวนั ท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/A/075/1.PDF ภาวิณี บุนนาค. (๒๕๖๔). ประวัติศาสตรOการพยาบาลและการผดุงครรภOในสยาม พ.ศ. ๒๔๓๙ ถึง ๒๔๗๘ : การทำใหFทันสมัยในบริบทอาณานิคม. วารสารประวัติศาสตรJธรรมศาสตรJ. ๘(๑). ๔๘ - ๘๑. มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตรO. (๒๕๖๐). ประวัติศาสตรJการพยาบาลไทย. สืบคFนวันท่ี ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๐. จาก https://www.hfocus.org/content/2017/12/15053 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตรO. (๒๕๔๖) มโนมติและกระบวนการพยาบาล หนLวยที่ ๑-๖. พมิ พคO รั้งที่ ๓. นนทบรุ ี : สำนักพมิ พOมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาพยาบาลศาสตรO. (๒๕๕๓). มโนมติและกระบวนการพยาบาล (Nursing Concept and Process) เลLม ๑ (หนLวยที่ ๑-๖) ปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี ๑ พ.ศ.๒๕๔๔. พิมพOครั้ง ท่ี ๑๓ นนทบุรี : สำนักพมิ พมO หาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. สมใจ ศิระกมล. (๒๕๕๖). กฎหมายที่เกี่ยวข2องการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภJ. เชียงใหมL : ครองชLาง. พริ้นต้ิง. สภาการพยาบาล. (๒๕๖๓). (รLาง) ข2อบังคับสภาการพยาบาลวLาด2วยข2อจำกัดและเง่ือนไขในการประกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภJ พ.ศ. ๒๕๖๔. เอกสารอัดสำเนา. หทัยชนก บวั เจรญิ , จริยาวัตร คมพยัคฆ,O วนิดา ดุรงคOฤทธิชัย, และ รัชดา พLวงประสงคO. (๒๕๕๓). การพยาบาลใน ระบบสขุ ภาพ. สมุทรปราการ : มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียว เฉลมิ พระเกยี รติ. หทัยชนก บัวเจริญ. (๒๕๖๐). มโนมติทางการพยาบาลและแนวคิดทฤษฎีการพยาบาล. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม. American Nurses Association. (๒ ๐ ๑ ๘ ) . The history of the American Nurses Association. Retrieved from https://www.nursingworld.org/ana/about-ana/history/ Bousso, S. R., Poles, K., Monteiro da Cruz, L.A.D. (๒๐๑๓). Nursing Concept and Theory. Revista da Escola de Enfermagem da USP. ๔๘(๑) : ๑ ๔๑-๑๔๕. สบื คFนวันท่ี ๑๕ กุมภาพันธO ๒๕๕๒. Retrieved from: https://www.scielo.br/j/reeusp/a/BpDkhRpD4mz5mw39sm6bQkJ/?lang=en. Brenda, S. and Mindy, T. (๒๐๑๘). Transitioning From RN to MSM. Retrieved from https://connect.springerpub.com/content/book/978-0-8261-3807- 1/part/part01/chapter/ch01

Halloran, E. (๑๙๙๖). Virginia Henderson and her timeless writings'. Journal of Advanced Nursing. ๒๓. ๑๗-๒๔. สบื คFนวนั ที่ ๑๕ กุมภาพนั ธO ๒๕๖๐. Retrieved from: https://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.610.4642&rep=rep1&type=p df Kleinberg, M., ( ๑ ๙ ๙ ๘ ) . An Historical Overview of Nursing. Ner York: Jones and Bartlett Publishers. สืบคนF วันที่ ๑๕ กุมภาพนั ธO ๒๕๕๒. Retrieved from http://samples.jbpub.com/9780763755966/55966_ch02_021_040.pdf Meleis, L. A. (๒๐๑๑). Theoretical Nursing: Development and Progress. Philadelphia: Lippincott Willams and Wikins. RiegelI, F., CrossettiII, G.O.M., MartiniI, G.J. and NesIII, G. A.A. (๒๐๒๑). Florence Nightingale’s theory and her contributions to holistic critical thinking in nursing. Rev Bras Enferm. ; ๗๔ (๒): ๑-๕. สืบคFนวนั ที่ ๑ กมุ ภาพนั ธO ๒๕๖๔. Retrieved from: [https://www.scielo.br/j/reben/a/hLkJwbxtP5hGFPJSpzP9RMd/?lang=en&format=pdf] World Health Organization. (๑๙๙๖) Report of a WHO expert committee. Geneva: World Health Organization.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook