Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา

การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา

Published by panuwit13_, 2020-01-04 12:18:44

Description: การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
จัดทำโดยนายภาณุวิทย์ ถูกนึก 62206714 สาขาหลักสูรตและการสอน

Keywords: นวัตกรรม,เทคโนโลยี,เทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา EDUCATIONAL INNOVATION นายภาณวุ ิทย์ ถกู นกึ 62206714 สาขาหลกั สูตรและการสอน

คานา เอกสารเร่ือง การพฒั นานวัตกรรมการศึกษา จัดทาข้นึ เพ่ือศึกษา คน้ คว้าความรูเ้ กย่ี วกับการพัฒนานวัตกรรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การศึกษา โดยเอกสารนี้ประกอบได้ด้วยเน้ือหาอยู่ 6 ส่วน ดังน้ี ความหมายของการพัฒนานวตั กรรมการศึกษา ประเภทของนวัตกรรม การศึกษา แหล่งสืบค้น ตัวอย่างนวัตกรรม ข้ันตอนการพัฒนา นวัตกรรม การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา โดยให้ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีทง้ั สน้ิ ท้ั ง น้ี ท า ง ผู้ จั ด ท า ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า เ อ ก ส า ร เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น ประโยชน์ต่อผทู้ ่ไี ด้มาศกึ ษาเป็นอย่างดี ผจู้ ัดทา

สารบญั หนา้ ท่ี 1 รายการ 2 ความหมายของการพฒั นานวตั กรรมการศึกษา 3 ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา 4 แหลง่ สืบคน้ ตัวอยา่ งนวัตกรรม 5 ขัน้ ตอนการพัฒนานวตั กรรม 6 การเขยี นรายงานการพฒั นานวัตกรรม นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา

การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา ความหมายของ นวตกรรม หรอื นวกรรม มาจากคาวา่ นว = ใหม่ กรรม = การกระทา การกระทาใหม่ ๆ หรอื พฒั นาดัดแปลง จากสง่ิ ใด ๆ ใหด้ ขี ้นึ การพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษา (Educational Innovation) จงึ หมายถงึ การกระทาใหม่ การสร้างใหม่ หรอื พัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใด ๆ แล้วทาให้ การศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพดีมากขึ้นกว่าเดิม นวตั กรรม เปน็ ท้งั แนวความคิด การปฏบิ ัติ สิง่ ประดิษฐท์ ดี่ ัดแปลงจากของเดมิ เพ่ือให้ การทางานมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู ขนึ้ อกี ทงั้ ยงั ชว่ ยประหยัดเวลา + แรงงาน ปัจจุบันมีผู้คิดค้นนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเข้ามาประยุกต์การ เรยี นการสอนมากข้นึ โดยมุง่ หวงั ให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงแรงจูงใจใน การเรยี น

ประเภทของนวตั กรรม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท 1. นวตั กรรมด้านสอ่ื การสอน เช่น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน, ชดุ การเรยี นรู้ทางไกล, หนงั สอื เลม่ เลก็ , บทเรียนเครือข่าย, ชุดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 2. นวตั กรรมด้านวธิ ีการจดั การเรยี นการสอน เชน่ การสอนแบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning), ใชส้ ถานการณ์จาลอง, วธิ สี อนแบบบทบาทสมมตุ ิ (Role playing) 3. นวตั กรรมด้านหลกั สตู ร เช่น หลักสูตรทอ้ งถิ่น, หลักสูตรฝกึ อบรม, กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4. นวตั กรรมด้านการวัดและการประเมินผล เชน่ การสรา้ งแบบวัดตา่ ง, การสรา้ งเครอื่ งมอื , การประยกุ ต์ใชใ้ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 4.1. แนวทางการพัฒนาดา้ นการวดั และประเมินผล เช่น 4.1.1. การสร้างแบบวัดความมีวนิ ยั ในตนเอง 4.1.2. การสร้างแบบวดั ความคิดสร้างสรรค์ 4.1.3. การสรา้ งแบบวดั แววครู 4.1.4. การพัฒนาคลังข้อสอบ 4.1.5. การพฒั นาระบบการลงทะเบียนผา่ นเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ฯลฯ 5. นวัตกรรมการบริหารการจดั หาร เช่น 5.1. การบรหิ ารเชงิ ระบบ เพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอนของครู 5.2. การบรหิ ารแบบรว่ มมือรว่ มใจ เพือ่ พัฒนางาวิชาการ 5.3. การบริหารด้วยวฏั จกั รเดม่งิ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ 5.4. การบริหารโดยใชช้ มุ ชนเป็นฐาน เพ่ือพัฒนาจติ สานึกประชาธิปไตย ในสถานศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน

แหล่งสบื ค้นตัวอย่างนวัตกรรม สบื คน้ ไดจ้ าก เวบ็ ไซต์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร = www.edu.nu.ac.th > Self – Access room > สืบคน้ ฐานข้อมูลงานวจิ ยั > พมิ พค์ า สาคัญ “ชอื่ นวัตกรรมของทา่ น” เว็บไซต์ สานักวยิ าบรกิ าร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม = www.library.msu.ac.th > สบื ค้นฐานข้อมลู งานวจิ ยั > พิมพ์คาสาคัญ “ชื่อ นวัตกรรมของทา่ น” เวบ็ ไซต์ สานกั วิยาบรกิ าร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ = www.library.cmu.ac.th > e-thesis > พมิ พค์ าสาคัญ “ชือ่ นวัตกรรมของท่าน”

ข้ันตอนการพฒั นานวตั กรรม ทวั่ ไปมักกาหนดเปน็ 3 ขัน้ ตอนดังน้ี ขน้ั ท่ี 1 การสรา้ งและหาประสิทธิภาพ โดยดาเนินการในข้ันตอนยอ่ ๆ ดังน้ี 1. ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. ยกรา่ งนวัตกรรม (สื่อ วิธกี ารสอน หลกั สูตร การวดั และการประเมนิ ผล และ กระบวนการบรหิ าร) 3. เสนอผ้เู ช่ียวชาญ 4. ทดลองใช้กับกลุ่มตวั อยา่ ง / เปา้ หมาย 1,2,.... 5. อาจจะหาประสิทธิภาพ E1 / E2 ข้นั ท่ี 2 ศึกษาผลการนาไปใช้ 1. นาไปใช้กับกลุ่มตวั อยา่ ง / เปา้ หมาย 2. ทาการทดลองผลและการประเมินผลการใช้โดย 2.1. เปรียบเทยี บก่อนและหลงั ใช้ (ใช้ T-Test แบบ T-Pair) 2.2. เปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนด (ใช้ T-Test แบบ One-Sample) ขั้นที่ 3 ประเมินผล ใช้แบบวัดความพึงพอใจ, แบบวัดทศั นคต,ิ แบบวดั ความคิดเหน็ หรือใช้รูปแบบประเมิน ใด ๆ เพ่ือการประเมินผลการใชน้ วตั กรรม โดยสรุปข้ันตอนการพฒั นานวตั กรรม เปน็ การสรา้ งหรอื พัฒนา ซง่ึ หมายถึงการยกรา่ งนวัตกรรม ข้ึนมาใหม่ หรือการพฒั นานวัตกรรมท่ีมีอยู่แล้วให้ดีข้ึน เพื่อนานวัตกรรมไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง / กลุ่มเป้าหมาย เพ่ือรับรองว่ามีผลการใช้อยู่ในระดับดี โดยยืนยันจากผลการทดสอบ นาการ ประเมินผลการใช้นวตั กรรมโดยการสอบถามความคดิ เหน็ หรือความพึงพอใจที่มีต่อนวัตกรรมน้ัน ดีมีประโยชน์ มีคุณค่า สามารถนาไปใช้ได้เป็นอย่างดี โดยยืนยันจากเคร่ืองมือการวัดและ ประเมินผลนวัตกรรม ขนั้ ที่ 1 ขนั้ ที่ 2 ขนั้ ท่ี 3

การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรม รายงานการวิจยั สว่ นนา ชอ่ื เรอื่ ง บทคัดยอ่ กติ ติกรรมประกาศ สารบัญ สว่ นเน้ือหา บทนา ส่วนอา้ งอิง เอกสาร / งานวจิ ัย วิธีการดาเนนิ การ ผลการวเิ คราะห์ สรปุ / อภปิ ราย / เสนอแนะ บรรณานกุ รม เน้อื หาเพ่มิ เติม หลักฐาน ประวัติ

นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศึกษา IT NON IT การพัฒนานวตั กรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา เปน็ ไดท้ ั้ง IT และ ไม่ใช่ IT นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศที่สถานศึกษานามาใช้ในปัจจุบันโดยมากจะคานึงถึง ความเหมาะสม + ความพรอ้ มของสถานศกึ ษา + บุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษาบางแห่งท่ีขาดความพร้อม ท้ังด้านอุปกรณ์ เคร่ืองมือ งบประมาณ บคุ ลากร ช้ากว่าสถานศกึ ษาอนื่ ไม่ไดห้ มายความว่าสถานศึกษาน้ันใช้เทคโนโลยีเก่า หรือสิ่งที่ ไมใ่ ชน่ วตั กรรม แต่สถานศึกษาอาจปรับเปลี่ยนแนวคิด เทคนิค วิธีการสอน หรือนาสิ่งท่ีไม่ใช่ เทคโนโลยีมาประดิษฐ์เปน็ อุปกรณว์ ธิ ีการสอนหรือส่ือใหม่ โดยไม่จาเป็นต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี เพื่อพฒั นาการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพไดเ้ ชน่ กัน

NOT ACCEPTED INNOVATION ACCEPTED LET ME TRY นวัตกรรมท่ีเกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะนวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องการศึกษา ล้วนแตเ่ ป็นสง่ิ ใหม่ท่ยี ังไมไ่ ด้ถูกนามาใช้เป็นส่ิงท่ีต้องเรียนรู้ทาความเข้าใจ ซ่ึงอาจใช้เวลา ในการปรับเปลี่ยนการใช้นวัตกรรม จนเกิดเป็นท่ียอมรับจากคนหมู่มาก โดยกลุ่มคนที่ ยอมรบั มแี รงจงู ใจสาคัญตอ่ การเป็นสว่ นหนงึ่ ของการเปลยี่ นแปลง โดยยอมรับกับปัญหา และความเสย่ี งในระยะแรกในการใช้นวตั กรรมใหม่ ๆ เหลา่ น้ัน

Educational Innovation Curriculum 04.01.63 And Instruction 62206714


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook