95 4) อย่าใช้ข้อต่อแยก เสียบปลั๊กหลายทาง เป็นการใช้กระแสไฟเกินกาลัง อาจทาให้สายร้อนและเกดิ ไฟไหมไ้ ด้ 5) อย่าใช้วสั ดุอื่นแทนฟวิ ส์ หรือใชฟ้ ิวสเ์ กินขนาด 6) อย่าปล่อยให้สายเครือ่ งไฟฟา้ เช่น พดั ลม ลอดใต้เสื่อหรือพรม เปลือกหุ้ม หรือฉนวนอาจแตกเกิดไฟชอ็ ตได้งา่ ย 7) อย่าเดนิ สายไฟชวั่ คราวอยา่ งลวก ๆ อาจเกดิ อันตรายได้ 8) อย่าแกไ้ ฟฟา้ เองโดยไม่มีความรู้ 9) อยา่ เดนิ สายไฟติดร้ัวสังกะสหี รือเหล็กโดยไม่ใชว้ ิธรี ้อยในท่อ ไฟฟ้าอาจรั่ว เป็นอันตรายได้ 10) อย่าปล่อยให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเปียกน้า เพราะน้าจะเป็นสะพานให้ไฟฟ้า ร่วั ไหลออกมาได้ 11) อย่าใช้เครื่องมือไฟฟ้าท่ีไม่มีฉนวนหุ้มเป็นที่จับ เช่น ไขควง หัวแร้ง เครอ่ื งวัดไฟฟ้า ฯลฯ 12) อย่านาเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กระแสตรงไปใช้กับไฟกระแสสลับ ควรตรวจสอบใหด้ ีเสียกอ่ น 13) สวิตชแ์ ละสะพานไฟ (Cut Out) ทกุ แหง่ ต้องปดิ -เปิดได้สะดวก 14) อย่ายืนบนพ้ืนคอนกรีตด้วยเท้าเปล่าขณะปฏิบัติงานเก่ียวกับไฟฟ้า ควรใช้ผา้ ยางหรอื สวมใส่รองเทา้ 4.2 ความปลอดภัยในปฏบิ ัติงานไฟฟา้ 1) ก่อนปฏิบัติงานต้องตรวจดูเสียก่อนว่า เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นงานไฟฟ้า ชารุด แตก หัก หรอื เปล่า 2) ก่อนปฏิบัติงาน เช่น การต่อสายไฟ ควรยกสะพานไฟ (Cut Out) ออก เสยี ก่อน 3) ขณะทางานไม่ควรหยอกล้อกนั เปน็ อนั ขาด 4) ไมค่ วรเส่ียงอันตรายเมอ่ื ไมม่ คี วามแน่ใจ 5) ขณะทางานมือ เท้า ต้องแห้ง หรือสวมรองเท้า 6) กอ่ นปฏิบตั ิงาน ควรจะเขยี นวงจรดเู สยี กอ่ นเพ่ือความไม่ประมาท
96 7) เมื่อเสรจ็ งาน ก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้า ควรตรวจสอบวงจรไฟฟ้าให้ละเอียด และถกู ต้องเสียกอ่ น 8) เม่อื จะจา่ ยกระแสไฟฟ้าตอ้ งดูให้แน่ใจ วา่ ไมม่ ีใครปฏิบัตงิ านไฟฟา้ อยู่ 9) ไม่ควรนาฟิวส์ที่โตกว่าขนาดท่ีใช้ หรือวัสดุอ่ืน ๆ เช่น ลวดทองแดงแทน ฟิวส์ 10) รอยต่อสายไฟฟา้ ต้องใชผ้ ้าเทปพนั สายใหเ้ รียบร้อยเสียก่อน 11) ตอ่ วงจรใหเ้ สร็จเสียกอ่ น จงึ นาปลายสายทั้งคเู่ ขา้ แผงสวติ ช์ 12) สายเคร่ืองมือไฟฟ้าต้องใช้ชนิดหุ้มฉนวน 2 ช้ัน ถ้าขาดต้องเปล่ียนใหม่ ทงั้ เสน้ SC113001 อาชีพช่างไฟฟา้
97 แบบฝกึ หดั ที่ 1 ใหผ้ ู้เรียนเลอื กคาตอบทถี่ ูกต้องท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซ่ึงไหลมาจากแหล่งกาเนดิ ผ่านสายไฟ สะพานไฟและเคร่ืองใช้ไฟฟ้า หมายถงึ ข้อใด ก. วงจรไฟฟา้ ข. กระแสไฟฟา้ สถิต ค. เข็มขดั รัดสายไฟฟา้ ง. ถกู ทุกข้อ 2. ขอ้ ใดเป็นคณุ สมบตั ขิ องวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ก. แรงดันไฟฟ้าเทา่ กันทกุ จุด ข. กระแสไฟฟา้ ท่ีไหลในวงจรมคี ่าเท่ากนั ตลอด ค. กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านโหลดแต่ละตัวไม่เทา่ กนั ง. แรงดนั ไฟฟา้ แต่ละตวั ของวงจรเทา่ กับแรงดนั ของแหล่งจา่ ย 3. วัตถุใดนาไฟฟา้ ไดด้ ที ี่สดุ ก. อลมู ิเนยี ม ข. ทองแดง ค. เหลก็ ง. เงิน 4. ข้อใดไม่ใช่หลกั การติดต้ังและใชไ้ ฟฟ้าท่ีถูกต้อง ก. ไมค่ วรติดตง้ั และใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ในพืน้ ท่ที ่ีมคี วามช้ืนแฉะมาก ๆ ข. ไม่ควรติดตง้ั และใช้เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ทใ่ี ช้กระแสตรงกับไฟกระแสสลับ ค. ควรตดิ ตัง้ และใชข้ อ้ ตอ่ แยก หรอื ปล๊ักหลายทาง ทาใหป้ ระหยัดพลงั งานไฟฟา้ ง. การเดินสายไฟตดิ ร้วั สงั กะสีหรอื เหล็กตอ้ งรอ้ ยสายไฟในทอ่ เพอื่ ป้องกนั การรั่ว ของไฟฟา้ 5. ข้อใดเป็นการปฏบิ ตั ิงานได้ถูกต้องเกีย่ วกบั การซ่อมบารงุ ไฟฟา้ ก. การซอ่ มแซมไฟฟ้าทุกครง้ั ควรตัดไฟฟา้ ออกก่อนเสมอ ข. หากฟิวสข์ าดและหาซือ้ ไมไ่ ด้ เราสามารถใชล้ วดทองแดงแทนฟิวส์ได้ ค. หากมรี อยต่อสายไฟฟ้า ควรใช้ริบบ้ิน แผ่นยาง หรือผ้าเทปพันสายปดิ รอย ง. สายเครือ่ งมอื ไฟฟ้าไม่จาเปน็ ต้องมีหุม้ ฉนวนกไ็ ด้ ถ้าชา่ งไฟฟา้ สวมใส่ถงุ มือ ---------------------------------------
98 แบบฝกึ หดั ที่ 2 จงศกึ ษาการต่อวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้ และตอบคาถาม สวติ ชไ์ ฟ หลอดไฟ สะพานไฟ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ ก. จากภาพ เปน็ การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบใด…………………………………………… ข. องคป์ ระกอบวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………….................................................................................................................
99 เฉลยแบบฝกึ หัด บทที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ข 10. ข แบบฝึกหดั ท่ี 1 1. ง 2. ก 3. ข 4. ง 6. ง 7. ข 8. ก 9. ข แบบฝกึ หัดท่ี 2 ตอนที่ 1 จงเขียน คาถาม/ปัญหาและสมมตุ ฐิ านจากสถานการณ์ท่กี าหนดให้ 1. วันน้ีแม่ไปซ้อื มะเขือมาจากตลาด ให้มะลิช่วยห่ันมะเขือ เพ่ือจะทาแกงเขียวขวาน หลงั ท่ี มะลหิ น่ั มะเขอื เสร็จแลว้ นัน้ เหน็ เน้อื มะเขอื ทีถ่ ูกห่ันจะค่อย ๆ กลายเป็นสีน้าตาล คาถาม/ระบปุ ญั หา มีดมีผลทาให้มะเขือเป็นสีน้าตาลหรือไม่ ตง้ั สมมตุ ฐิ าน ถ้ามีดมผี ลต่อการทาให้มะเขือเป็นสีน้าตาลแสดงว่ามะเขือทถี่ ูก ห่นั กจ็ ะเปน็ สีนา้ ตาลทุกคร้ัง 2. มานะเปิดฝาตุ่มเพื่อรองนา้ เวลาฝนตกหลังจากผ่านไป 7 วนั มานะเห็นมีลกู น้าในตมุ่ คาถาม/ระบุปญั หา เปิดฝาต่มุ ทมี่ ีน้าจะพบลูกนา้ ใชห่ รอื ไม่ ตัง้ สมมุตฐิ าน ถ้าเปิดฝาตมุ่ ไวน้ าน ๆ จะพบการเปล่ยี นแปลงในตมุ่ นา้ 3. พ่อกลับจากทางานเรียกให้มานี ลูกสาวเอาน้าเย็นมาให้ดื่ม มานีรินน้าดื่มจากตู้เย็นใส่ แกว้ ขณะเดินถอื มาพบวา่ มอื ของมานีทีจ่ ับแก้วนา้ เปียก คาถาม/ระบุปญั หา ทาไมแก้วน้าถงึ มหี ยดนา้ เกาะอยขู่ า้ งแกว้ ตงั้ สมมุติฐาน อุณหภูมิมีผลต่อการระเหยของน้าเย็นจึงทาให้เกิดไอน้าเกาะ ข้างแก้วนา้
100 4. ห้องนอนของมาลัยอยู่ด้านทิศตะวันตกก่อนนอนมาลัยจะเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเข้า นอน 1 ชั่วโมงแต่มาลัยรู้สึกว่าแอร์ไม่ค่อยเย็นทั้ง ๆ ที่เครื่องปรับอากาศทางานเป็นปกติ และไดม้ ีการซ่อมบารุงเปน็ ประจา คาถาม/ระบุปัญหา ทศิ ทางการนอนมีผลตอ่ เครอ่ื งปรบั อากาศหรอื ไม่ ต้งั สมมุติฐาน ทิศทางและอุณหภมู ิหอ้ งมีผลต่อการทางานของ เครอื่ งปรับอากาศ 5. มาลีซ้อื ต้นไมม้ าปลูกทีบ่ า้ นรดนา้ พรวนดินตามปกติ วันตอ่ มามาลีซ้อื ปยุ๋ มาใสต่ น้ ไม้ หลงั จากนน้ั 3 วนั ต้นไมเ้ รมิ่ เหี่ยวเฉาและตาย คาถาม/ระบุปญั หา ปุ๋ยมีผลต่อการเหี่ยวเฉาหรือตายของตน้ ไมห้ รอื ไม่ ตั้งสมมุตฐิ าน ถา้ ป๋ยุ ไม่มผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโตของต้นไม้ดังนั้นเราก็ไมต่ อ้ ง ใสป่ ุย๋
101 ตอนท่ี 2 สารวจสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั ในท้องถ่ิน ชุมชนทวั่ ไป (ตวั อยา่ ง) ตารางบันทกึ ผลการสารวจและตอบคาถาม สง่ิ มชี วี ิต สิ่งไมม่ ีชีวติ สภาพทั่วไป ดว้ ง เหด็ แสงแดด-ร่มเงา อุณหภมู ิอากาศ ความชน้ื กิง้ กอื ใบไม้แหง้ หอยทาก ก่ิงไม้ผุ ค่อนขา้ งร่ม ปกติ มีความช้นื มด หนิ ปลวก ดิน แสงแดดราไร เล็กนอ้ ย ไส้เดอื น ทราย ทอ่ นไมผ้ ุ จากเงาของ ต้นไม้ใหญ่ 1. มีแสงแดดราไร ขอนไม้ผุมีความชื้นมาก พบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่จานวนหนึ่ง เช่น ด้วง ก้ิงกือ หอยทาก มด เห็ด 2. พืช ได้แก่ เหด็ มอสน้า ฯลฯ สตั ว์ ไดแ้ ก่ ด้วง กง้ิ กอื หอยทาก มด ปลวก ใส้เดอื น ฯลฯ 3. น้ามีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิต ที่อาศัยอยู่ในขอนไม้ผุ เพ่ือให้สิ่งมีชีวิต สามารถดูดอาหารไปหลอ่ เล่ียงชวี ิตได้ 4. ความชื้นช่วยทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ โดยการดูดสารอาหารจากขอนไม้ผุ และยงั ใชเ้ ปน็ ท่อี ยูอ่ าศยั ได้อีกด้วย 5. แสงแดดส่องถึงในปริมาณท่ีเหมาะสม ร่มเงาได้จากต้นไม้ ใบไม้ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงจะ ช่วยควบคมุ ความชน้ื และอณุ หภูมไิ ด้ดี
102 ตอนที่ 3 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์คือ การศึกษาเพ่อื พบข้อความรู้ใหม่ สิง่ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ดว้ ยตนเอง โดยใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปญั หา 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ มี 4 ประเภท ดังน้ี 1. ประเภททดลอง 2. ประเภทสารวจ 3. ประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4. ประเภททฤษฎี 3. ตวั อยา่ งโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. โครงงานประเภททดลอง เช่น โครงงานการทากระดาษจากกาบกล้วย และโครงงาน เซลล์ไฟฟ้าพลังดนิ 2. โครงงานประเภทสารวจ เช่น โครงงานสารวจประเภทการใช้ซิมมือถือของนักศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และโครงงานการศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โตของลกู ออ๊ ด 3. โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ เช่นโครงงานการประดิษฐ์โคมไฟขากขวดน้าพลาสติก และโครงงานการประดิษฐเ์ คร่อื งจบั ขโมย 4. โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานการศึกษาค้นคว้าตารายาแผนโบราณและโครงงาน การกาเนิดของแผ่นดินไหวในประเทศไทย บทที่ 2 ส่ิงมชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม แบบฝึกหดั ท่ี 1 1. ค 2. ง 3. ค 4. ง 5. ง 6. ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ก 11. ง 12. ข 13. ก 14. ค 15. ข 16. ก 17. ง 18. ก 19. ค 20. ค
103 แบบฝึกหดั ท่ี 2 ตวั อยา่ ง ชอื่ พชื ................ชมพู่.............. สถานท่สี ารวจ.....บ้านนักศึกษา............. จานวนท่ีพบ..1 ต้น.. ลกั ษณะทศี่ กึ ษา ลกั ษณะท่ีสังเกตเหน็ สรปุ ผลการศึกษา / เหตุผล 1. ส่วนประกอบ ของต้นพชื 1.1 ราก มรี ากแก้วและแตกแขนงเปน็ รากฝอย รากแกว้ มีขนาดใหญ่ รากฝอย 1.2 ลาตน้ ลาต้นเปน็ ไมพ้ มุ่ อยเู่ หนือดิน ข้อปล้อง เหนือดนิ ไมช่ ัดเจน มขี นาดใหญ่ แข็งแรง ใตด้ นิ 1.3 ใบ ใบมจี านวนมาก ลักษณะเปน็ รปู รี ยาว ใบเดย่ี ว ปลายแหลม สีเขียว เป็นมัน ใบประกอบ 1.4 เส้นใบ ลักษณะเสน้ ใบเปน็ รา่ งแห แบบขนาน แบบรา่ งแห 1.5 ดอก ดอกประกอบด้วย เกสรตวั ผู้ เกสรตัว ...................................................... ประกอบด้วย เมยี จดั เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ...................................................... สว่ นต่าง ๆ ดงั นี้ ...................................................... 2. การขยาย ขยายพันธุ์ดว้ ยวิธีการ เพาะเมล็ดหรอื ...................................................... พนั ธ์โุ ดย ตอนกง่ิ ...................................................... วิธีการใด ...................................................... ไดบ้ า้ ง เป็นพืชใบเลี้ยงเด่ยี ว เป็นพืชใบเลีย้ งคู่ เพราะ เสน้ ใบเป็นตาขา่ ยแบบรา่ งแห 3. ชนดิ ของพืช จาแนกตาม ลกั ษณะใบ
104 บทที่ 3 สารเพอ่ื ชีวิต แบบฝึกหัดท่ี 1 1. ก 2. ค 3. ก 4. ง 5. ก แบบฝกึ หัดที่ 2 เหตุการณท์ ่ี 1 ใชฝ้ ่ามอื สัมผสั กอ้ นน้าแข็ง 1. วัตถุวตั ถทุ ี่มคี วามร้อนสูงกว่า คือ ฝา่ มือ วัตถุท่มี รี ะดับความรอ้ นตา่ กวา่ คอื กอ้ นนา้ แข็ง 2. ความรอ้ นจะถ่ายเทจาก ฝา่ มอื ไปสกู่ อ้ นนา้ แขง็ 3. วัตถุคายความร้อน คอื ฝา่ มอื วัตถุดดู ความรอ้ น คอื ก้อนนา้ แข็ง 4. เมอ่ื นา้ แขง็ ดูดความร้อนเขา้ ไปน้าแข็งเปลี่ยนสถานะ เปน็ ของเหลว เหตุการณ์ท่ี 2 ตม้ นา้ ด้วยกาต้มน้า คทู่ ี่ 1 การต้มน้าดว้ ยกาต้มนา้ เมื่อติดไฟเป็นผลสาเร็จแล้ว 1. วัตถทุ ีม่ ีระดับความรอ้ นสูงกว่า คือ อากาศบรเิ วณเปลวไฟ วัตถทุ ่มี รี ะดับความร้อนตา่ กวา่ คือ กาน้าอลมู ิเนยี ม 2. ความรอ้ นจะถา่ ยเทจาก อากาศบริเวณเปลวไฟไปสูก่ าน้าอลูมิเนียม 3. วัตถุดดู ความรอ้ น คือ กาน้าอลูมเิ นยี ม คู่ท่ี 2 เปรียบเทยี บกาต้มนา้ อลูมิเนียมกับนา้ ท่บี รรจุอยู่ในกาตม้ นา้ ขณะตม้ 1. วตั ถุท่มี ีระดบั ความรอ้ นสูงกว่า คือ กาตม้ นา้ อลูมเิ นยี ม วตั ถทุ ม่ี รี ะดบั ความรอ้ นต่ากว่า คือ นา้ ในกาตม้ น้า 2. ความรอ้ นจะถา่ ยเทจาก กาต้มนา้ อลมู เิ นยี มไปส่นู า้ ในกาตม้ น้า 3. วัตถคุ ายความรอ้ น คอื กาตม้ น้าอลมู เิ นียม วัตถดุ ดู ความร้อน คือ นา้ ในกาต้มนา้ 4. เม่อื น้าไดร้ ับความร้อนนา้ จะเปล่ยี นสถานะจากน้ากลายเป็นไอ
105 เหตุการณท์ ่ี 3 เมือ่ อากาศรอ้ น/เมอื่ แสงแดดแผดเผามาทีผ่ ิวนา้ 1. ความร้อนถ่ายเทจากอากาศรอ้ น ไปยงั นา้ ในบงึ 2. นา้ ในบึงไดร้ บั ความร้อนแลว้ จะเปลย่ี นแปลงสถานะกลายเป็นไอ 3. การระเหยของนา้ คือ การเปลี่ยนแปลงจาก นา้ ไอน้า (ลอยสู่บรรยากาศ) เปน็ การเปลย่ี นแปลงแบบดดู ความรอ้ น เหตุการณท์ ่ี 4 บรรจุก้อนนา้ แข็งลงในแกว้ เพียงครึ่งแก้ววางทิง้ ไว้ จงอธิบายวา่ หยดน้าท่มี า เกาะรอบ ๆ แกว้ เกดิ ขึ้นไดอ้ ยา่ งไร 1. วตั ถุทม่ี ีความร้อนสงู กวา่ คือ ไอนา้ ในอากาศ วัตถุทมี่ คี วามร้อนต่ากว่า คือ นา้ เยน็ /น้าแข็งในแก้ว 2. ความรอ้ นถา่ ยเทจากไอนา้ ในอากาศไปสนู่ ้าเยน็ /น้าแข็งในแกว้ 3. ไอนา้ ในอากาศรอบ ๆ แกว้ นา้ เปลีย่ นสถานะจากของแข็งเปน็ ของเหลว 4. ถา้ จะให้ไอน้าเปล่ียนสถานะเป็นนา้ ต้องให้ไอน้าไปสมั ผัสกับวัตถทุ ่ีมรี ะดับความร้อนตา่ กว่า ระดับความร้อนของไอน้านัน้ เหตุการณท์ ี่ 5 การเกิดฝน 1. เมอื่ เมฆฝนซึง่ เป็นกล่มุ ไอนา้ ขนาดใหญ่ลอยไปเหนือผืนฟา้ ซึง่ เยน็ กว่า ความรอ้ นจะถา่ ยเท จากผืนฟา้ ไปยังเมฆฝน 2. ถ้าเมฆฝนคายความรอ้ นออกไปเมฆจะเปลยี่ นสถานะกลายเปน็ หยดนา้ 3. ถ้าเมฆฝนลอยไปบริเวณทีไ่ มม่ ีป่าไม้ ซ่งึ ระดับความร้อนสูงกวา่ เมฆฝนจะเปลย่ี นสถานะเป็น นา้ ฝนไมไ่ ด้ เน่อื งจากมรี ะดบั ความร้อนสงู เมฆไมส่ ามารถกล่นั ตัวเป็นหยดนา้ ได้
106 สรุปผลการทากจิ กรรม 1. การเปลี่ยนแปลงของนา้ นา้ แขง็ → นา้ → ไอน้า เปลีย่ นแปลงแบบดูดความรอ้ น ไอนา้ → น้า → นา้ แขง็ เปลีย่ นแปลงแบบคายความรอ้ น 2. การเปลี่ยนสถานะของสาร ของแข็ง→ ของเหลว จากการหลอมเหลว ของเหลว → ก๊าซ จากการระเหย กา๊ ซ → ของเหลว จากการควบแนน่ ของเหลว → ของแขง็ จากการแขง็ ตวั บทท่ี 4 แรงและการเคลอื่ นทข่ี องแรง 4. ง 5. ง แบบฝกึ หดั ที่ 1 4. 5. ตอนท่ี 1 9. 10. 1. ก 2. ค 3. ค ตอนที่ 2 1. 2. 3. 6. 7. 8.
107 แบบฝึกหัดท่ี 2 ตอนที่ 1 กจิ กรรมเร่ือง แรงและการเคลือ่ นทข่ี องแรง จากภาพ 1. แรงเสยี ดทาน 2. แรงเสยี ดทานมปี ระโยชน์ เช่น 1) ใชใ้ นระบบเบรก เพ่ือปอ้ งกันการเกดิ อบุ ัตเิ หตทุ างรถยนต์ 2) การใหพ้ ืน้ รองเทา้ มีลวดลาย เพ่อื ใหม้ แี รงเสยี ดทานปอ้ งกนั การลน่ื ล้ม 3) การผลิตนอ็ ตให้มีเกลยี วเพอื่ เพม่ิ แรงเสยี ดทาน จากภาพ 1. แรงลอยตวั 2. แรงลอยตวั มปี ระโยชน์ เชน่ 1) การสรา้ งเรอื ให้สามารถลอยน้า ไม่จม 2) การทาเส้อื ชชู พี ป้องกันการจมนา้ 3) การทาเคร่ืองมอื วัดความหนาแน่นของวตั ถุ
108 จากภาพ 1. แรงดงึ ดดู 2. แรงดึงดูดมีประโยชน์ เช่น 1) การทาให้นา้ ไหลจากทส่ี ูงไปทต่ี ่า เกิดน้าตกหรือน้าไหลลงทะเล ไมท่ ่วมขงั 2) การทาใหน้ ้าไหลจากท่ีสงู ไปทต่ี ่า และนาพลงั งานจลนท์ ่ีได้ใชใ้ นการผลติ ไฟฟา้ 3) การทาใหว้ ัตถตุ า่ ง ๆ บนโลก ไม่หลดุ ลอยออกไปจากโลก จากภาพ 1. แรงดัน 2. แรงดันมปี ระโยชน์ เช่น 1) การใชข้ บั ลูกสบู ไปกลบั เพ่อื ให้วัตถุหมนุ เชน่ ล้อรถ หรอื เพลา 2) การขับกงั หนั ไอนา้ ให้เกดิ พลงั งาน แล้วแปลงพลงั งานนัน้ ไปใชใ้ นการผลติ ไฟฟ้า 3) การคานวณความสงู ของชั้นบรรยากาศ และการวัดความลึกของระดบั น้าทะเล
109 ตอนที่ 2 กิจกรรมเร่อื ง พลงั งานในชีวติ ประจาวันและการอนุรักษพ์ ลงั งาน 1. วธิ ีการชว่ ยลดการใชพ้ ลังงานและการใชไ้ ฟฟา้ อาทิ 1) ปดิ สวิตช์ไฟ และเครื่องใชไ้ ฟฟ้าทุกชนิดเม่อื เลกิ ใชง้ าน 2) เลือกซอื้ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ทไี่ ด้มาตรฐาน 3) ปดิ เครอ่ื งปรับอากาศทกุ ครัง้ ที่จะไมอ่ ยู่ในหอ้ ง และหม่ันทาความสะอาดแผ่นกรอง อากาศ 4) ลดและหลกี เล่ยี งการเก็บเอกสาร หรอื วสั ดุอืน่ ใดทไ่ี ม่ เพ่ือลดการสูญเสยี และใช้ พลังงานในการปรับอากาศภายในอาคาร 5) ตดิ ตั้งฉนวนกนั ความรอ้ นโดยรอบหอ้ ง เพ่อื ลดการสญู เสยี พลงั งานจากการถา่ ยเท ความรอ้ นเข้าภายในอาคาร 6) ปลูกต้นไมร้ อบ ๆ อาคาร เพราะใหม้ ีความรม่ รื่น 7) หากอากาศไม่รอ้ นเกนิ ไป ควรเปิดพัดลมแทนเครือ่ งปรบั อากาศ 8) ใชห้ ลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยดั แทนหลอดอ้วน ใชห้ ลอด ตะเกียบแทนหลอดไส้ หรือใชห้ ลอดคอมแพคท์ฟลอู อเรสเซนต์ 9) ควรใชบ้ ลั ลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเลก็ ทรอนกิ ส์คู่กบั หลอดผอมจอมประหยัด จะชว่ ยเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการประหยัดไฟได้อีกมาก 10) ควรใชส้ ีออ่ นตกแตง่ อาคาร ทาผนังนอกอาคารเพ่ือการสะท้อนแสงที่ดี และทาภายใน อาคารเพือ่ ทาให้ห้องสวา่ งได้มากกว่า 2. พลงั งานทดแทน คือ พลงั งานท่มี อี ยูต่ ามธรรมชาติ สามารถนามาใช้ทดแทนพลังงาน แบบเดิม หรอื พลงั งานหลกั ที่ใช้กนั อยูท่ วั่ ไปในปัจจบุ ัน เช่น น้ามันเช้ือเพลงิ 3. พลังงานทดแทนแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคือ 1) พลงั งานทดแทนจากแหลง่ ทใี่ ช้แลว้ หมดไป เช่น ถ่านหิน กา๊ ซธรรมชาติ หินน้ามนั 2) พลังงานทดแทนทีส่ ามารถหมนุ เวียนมาใช้ได้อีก เชน่ พลงั งานแสงอาทติ ย์ ลม ชวี มวล นา้ โดยพลงั งานทดแทนทส่ี ามารถหมนุ เวียนมาใช้ไดอ้ กี 4. ประโยชนข์ องพลงั งานทดแทน อาทิ 1) ด้านเศรษฐกิจ ใชผ้ ลผลติ ทางธรรมชาตทิ ดแทนการนาเขา้ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ 2) ด้านผลผลติ ทางการเกษตร เช่น แกลบ อ้อย สามารถนามาผลิตเปน็ พลงั งานทดแทน ได้
110 3) ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม ชว่ ยลดมลพษิ ทางอากาศทีเ่ กิดจากการเผาไหม้ 4) ช่วยอานวยความสะดวกในด้านสาธารณูปโภค เชน่ การผลติ ไฟฟา้ ใช้ภายในชมุ ชน จากพลงั งานแสงอาทติ ย์ 5) การอบอาหารแหง้ และผลผลิตทางการเกษตรดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์ 5. จากสถานการณ์ “การใช้พลงั งานจากทรพั ยากรธรรมชาติ ฯ” ก. ปัญหาทีเ่ กิดข้นึ คือ พลังงานหมดไปเน่ืองจากเปน็ พลงั งานส้นิ เปลือง และเกิดผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม ข. การใช้พลังงานฟอสซลิ มาก ๆ จะสง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม อาทิ เกดิ มลพิษทางดนิ ทางอากาศ ทางเสยี ง ทางน้า เปน็ ต้น นอกจากนี้ยงั ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน หรือภาวะ เรอื นกระจก ค. ผู้เรยี นมีวธิ ีการแกไ้ ขปัญหานี้โดยการลดการใช้พลงั งานเชอ้ื เพลงิ ให้หนั มาใชพ้ ลังงาน ทดแทนให้มากข้นึ เช่น พลังงานลม พลงั งานนา้ พลงั งานแสงอาทิตย์ และอน่ื เพื่อลดผลกระทบทเี่ กิดกับส่งิ แวดล้อม 6. วิธีการอนุรกั ษแ์ ละประหยัดพลงั งานไฟฟ้า ก. วิธกี ารอนุรกั ษ์และประหยัดพลงั งานไฟฟ้าเครอื่ งรบั โทรทัศน์ อาทิ ปิดโทรทัศนเ์ มือ่ ไม่มี คนดู ปรบั หน้าจอให้พอดี ไมส่ วา่ งจนเกนิ ไป ไม่เปิดเสียงดงั เกนิ ความจาเป็น เป็นต้น เพราะทาใหเ้ ปลืองไฟและอายุเคร่อื งสัน้ ลง ข. วิธีการอนุรักษ์และประหยดั พลังงานไฟฟา้ เตารดี ไฟฟา้ อาทิ รีดผา้ ครง้ั ละมาก ๆ และ ตดิ ตอ่ กนั จนเสรจ็ รดี ผา้ บาง ๆ กอ่ นในขณะทเ่ี ตารีดยงั ไมร่ ้อน ถอดปล๊ักออกทกุ ครง้ั เมอ่ื ไม่ใชง้ าน เป็นตน้ ค. วธิ ีการอนรุ กั ษ์และประหยัดพลงั งานไฟฟ้าไฟฟ้าแสงสว่าง อาทิ ใช้หลอดตะเกยี บแทน หลอดไส้ หรือหลอดคอมแพคท์ฟลูออเรสเซนต์ ใชบ้ ัลลาสต์ประหยดั ไฟ เป็นต้น ง. วิธกี ารอนุรกั ษแ์ ละประหยัดพลงั งานไฟฟ้าตเู้ ย็น อาทิ ปิดตูเ้ ย็นให้สนิท ไมเ่ ปิด-ปิดตู้ บ่อย ๆ หมั่นทาความสะอาดตู้เยน็ และละลายนา้ แขง็ อย่เู สมอ ไมน่ าของรอ้ นไปแช่ ตเู้ ย็น เป็นตน้ จ. วิธีการอนุรกั ษแ์ ละประหยดั พลังงานไฟฟ้าเคร่อื งทาความรอ้ น อาทิ เลือกใช้เครื่อง ทาน้าอุน่ ทม่ี ถี ังนา้ ภายในตวั เครื่องและมีฉนวนหุม้ ปิดวาล์วน้าทนั ทเี ม่ือเลกิ ใช้งาน
111 บทที่ 5 ดาราศาสตรเ์ พอื่ ชวี ติ แบบฝกึ หัดที่ 1 1. ค 2. ค 3. ก 4. ค 5. ข แบบฝกึ หดั ที่ 2 1. การเกดิ กลางวัน กลางคืน เกิดจากการท่โี ลกหมนุ รอบตวั เองทาใหโ้ ลกไมร่ ับแสงอาทิตย์ ไม่พร้อมกนั ส่วนทไ่ี ด้รับแสงจะเป็นกลางวันสว่ นทไี่ ม่ได้รบั แสงจะเป็นกลางคนื 2. การเกิดขา้ งขึน้ ขา้ งแรม เกดิ จากการท่ีดวงจนั ทรห์ มนุ รอบโลกถา้ ดวงจันทรอ์ ยูด่ ้านตรงข้าม กับดวงอาทิตย์จะเปน็ ข้างข้นึ ถ้าดวงจนั ทรอ์ ยู่ดา้ นเดยี วกบั ดวงอาทติ ย์จะเป็นข้างแรม 3. การเกิดน้าข้นึ นา้ ลง เกดิ จากการท่ีโลก ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์อยใู่ นแนวเดยี วกนั จะมีการ กระทาต่อโลกมากเมอ่ื ดวงจันทร์เคลือ่ นท่ไี ปในแนวอน่ื แรงกระทาก็จะนอ้ ย 4. การเกิดสุรยิ ปุ ราคาและการเกิดจันทรปุ ราคา เกิดจากการทด่ี วงจันทรห์ มุนรอบโลกและ ดวงอาทิตย์ โลก ดวงอาทติ ย์ และดวงจันทร์อยใู่ นแนวระนาบเดยี วกนั 5. การเกิดลมบก ลมทะเล เกิดจากการทโ่ี ลกหมนุ รอบตัวเองในเวลากลางวันพืน้ ดินและพื้นนา้ จะไดร้ ับแสงแดดเตม็ ทแ่ี ตพ่ นื้ ดินมีน้อยกวา่ พนื้ นา้ กลางวนั บนบกจงึ ร้อนกว่าทะเลลมจะพัด จากทะเลเขา้ หาฝง่ั 6. การเกิดฤดกู าล เกิดจากการท่ีโลกหมุนรอบดวงอาทติ ย์เน่อื งจากแกนโลกเอยี ง 23.44 องศา ดงั นนั้ เม่ือเคล่ือนที่รอบดวงอาทิตยท์ าให้ข้ัวโลกเหนือและขวั้ โลกใตไ้ ด้รับแสงอาทิตย์ ไม่เท่ากนั แต่ละเดือน บทท่ี 6 อาชพี ชา่ งไฟฟ้า แบบฝกึ หดั ที่ 1 1. ก 2. ข 3. ง 4. ค 5. ก แบบฝึกหดั ที่ 2 การตอ่ วงจรไฟฟา้ ก. การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ข. องค์ประกอบวงจรไฟฟ้าประกอบดว้ ย แหล่งจ่ายไฟฟ้าหรือแหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า สะพาน ไฟ และหลอดไฟ
112 บรรณานุกรม สานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาต.ิ 2549. รใู้ ช้ รู้เทคนคิ ในห้อง ปฏิบตั ิการ. กรงุ เทพ ฯ : รักลกู แฟมิลกี่ รปุ๊ จากดั . สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. (2554). หนังสือเรียนสาระ ความร้พู ้นื ฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์ (พว11001) ระดับประถมศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. (เอกสารอัดสาเนา) สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2558). เอกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ ้องรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (พว11001) หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. (เอกสารอัดสาเนา) เอกรินทร์ ส่ีมหาศาลและคณะ. วทิ ยาศาสตร์ ป.6. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั . เว็บไซต์ กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน, กระทรวงพลังงาน. พลงั งานทดแทน. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: http://www.ku.ac.th/e magazine/jun51/know/ know3.htm. 2 กุมภาพนั ธ์ 2560. ปญั หามลพิษทางน้าและเสียง. (ออนไลน)์ . แหล่งทมี่ า : https://sites.google.com/site/ 30267jankk/naewthang-pxngkan-laea-kae-khi-payh. 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2560. สมบตั ขิ องคลนื่ เสยี ง. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: www.atom.rmutphysics.com/charud/ oldnews/0/286/.../property-1.htm. 2 กมุ ภาพันธ์ 2560. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.nc.ac.th/WEB%20E_BOOK/unit1_4_4.htm. (ออนไลน)์ . แหลง่ ทีม่ า: http://my.thaimail.com/mywebboard/readmess. php3?user=mr.neo&idroom=2&idforum=45&login=&keygen=&nick= (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php. (ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : http://www.school.net.th/library/create-web/10000/ science/ 10000-6250.html.
113 (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2412212100/ 16.htm. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki. (ออนไลน)์ . แหล่งทมี่ า : http://gotoknow.org/file/chiew-buncha/salt_farm.jpg. (ออนไลน์). แหล่งทม่ี า : http://media.photobucket.com/image/. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.thaitambon.com/thailand/Trat/230103/ 0683184742/FB849_1674A.jpg. (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา : http://www.boatbook.co.th/prdimg/600-6075.jpg. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http://www.bloggang.com/data/oordt/picture/ 1228099928.jpg. (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http://www.thaidbmarket.com/uploads/20090309-130917- .jpg. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา: http://www.siamonlineshop.com/picpost/Qshow51637.jpg. (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http://www.thaitarad.com/shop/kaisong/images/product/ 711996b4c4e3881b5dd42c07395cc02e.jpg. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.lancome-th.com/upload/product/thumbnail/ pm-299-5421.jpg. (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : http://www.igetweb.com/www/shoppergirl/catalog/ p_32791.jpg. (ออนไลน์). แหลง่ ท่มี า : http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php. (ออนไลน์). แหลง่ ทม่ี า : http://www.dbh2008.com/lesson/show.php?id=21.
114 ทป่ี รกึ ษา คณะผจู้ ัดทา 1. นายประเสรฐิ 2. นายชาญวทิ ย์ บุญเรือง เลขาธิการ กศน. 3. นายสรุ พงษ์ ทบั สุพรรณ รองเลขาธิการ กศน. 4. นางวทั นี จาจด รองเลขาธิการ กศน. 5. นางกนกพรรณ จันทร์โอกลุ ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน 6. นางศุทธินี สุวรรณพิทักษ์ ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการเผยแพรท่ างการศึกษา งามเขตต์ ผอู้ านวยการกลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผู้เขยี นและเรยี บเรยี ง 1. นายอชุ ุ เชอื้ บอ่ คา ข้าราชการบานาญ กศน.อาเภอปางศิลาทอง จงั หวัดกาแพงเพชร 2. นายอนันต์ คงชมุ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาเอกมัย อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ 3. นายสพุ จน์ นิธินันทน์ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาลาปาง ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษารงั สิต 4. นางสาวนนั ทยา ทวศี ักดิ์ กศน.อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท กศน.อาเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี 5. นางประทุม โพธง์ิ าม กศน.อาเภอจอมบึง จงั หวัดราชบุรี กศน.เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร 6. นายอภชิ าติ คอยคา 7. นางอาพันธ์ุ คาทวี 8. นางสาวอญั ชลี ภูวพานชิ 9. นายวิโรจน์ สขุ เทพ 10. นางสาวสายใหม่ คงเมอื ง บรรณาธิการ 1. นายอุชุ เชอ้ื บ่อคา ข้าราชการบานาญ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษาลาปาง 2. นางประทมุ โพธงิ์ าม กศน.อาเภอจอมบงึ จังหวัดราชบรุ ี ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษารงั สติ 3. นายวิโรจน์ สขุ เทพ กศน.เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร 4. นายอภิชาติ คอยคา 5. นางสาวสายใหม่ คงเมือง
115 คณะทางาน กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นายสรุ พงษ์ มน่ั มะโน กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป์ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสว่าง กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาไพศรี กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวชมพนู ท สงั ขพ์ ชิ ัย กล่มุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู้ ิมพ์ตน้ ฉบบั กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางสาวจุรีรัตน์ หวังสริ ริ ัตน์ 2. นางสาวชาลนิ ี ธรรมธิษา กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผู้ออกแบบปก นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป์
116 คณะผู้จัดทากจิ กรรมทา้ ยบทเอกสารสรุปเนอื้ หาทตี่ ้องรู้ ระหว่างวนั ท่ี 1 - 3 มถิ นุ ายน 2559 ณ ห้องประชุมบรรจง ชสู กุลชาติ ชั้น 6 สานกั งาน กศน. ท่ปี รึกษา เลขาธิการ กศน. 1. นายสุรพงษ์ จาจด รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายกติ ตศิ กั ดิ์ รตั นฉายา ผูอ้ านวยการกลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางพรรณทพิ า ชนิ ชัชวาล ผูเ้ ขียน/ผู้เรยี บเรียง และบรรณาธิการ ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษานครพนม 1. ว่าท่ี ร.ต. พรศักดิ์ ธรรมวานิช กศน.อาเภอชมุ ตาบง จังหวัดนครสวรรค์ 2. นายอภิชาต คอยคา กศน.อาเภอชมุ แสง จังหวัดนครสวรรค์ 3. นายอนันต์ คงชมุ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษารังสิต 4. นางสาวเสาวลกั ษณ์ พิมพภ์ ลู าด คณะทางาน กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 1. นางเกณกิ า ซิกวาร์ทซอน กลุม่ พฒั นาระบบการทดสอบ 2. นายธานี เครืออยู่ กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางสาวจรุ รี ัตน์ หวังสิรริ ัตน์ กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 4. นางสาวอษุ า คงศรี กลมุ่ พัฒนาระบบการทดสอบ 5. นางสาวกรวรรณ กววี งษ์พพิ ัฒน์ กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ 6. นายภาวิต นิธิโสภา กลมุ่ พัฒนาระบบการทดสอบ 7. นางสาวหทัยมาดา ดฐิ ประวรรตน์
117 คณะทางานปรับปรงุ เอกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี ้องรู้ ระหวา่ งวนั ที่ 1 – 3 กมุ ภาพันธ์ 2560 ณ หอ้ งประชมุ สถาบัน กศน.ภาคตะวนั ออก จงั หวัดระยอง ท่ปี รึกษา เลขาธิการ กศน. นายสุรพงษ์ จาจด ผู้อานวยการกลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ นางตรีนชุ สขุ สุเดช และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผ้อู านวยการ สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก นายวราวธุ พยัคฆพงษ์ รองผอู้ านวยการ สถาบัน กศน.ภาคตะวันออก นายเอกวัฒน์ บญุ ใบ คณะทางานปรบั ปรงุ เนื้อหา/กิจกรรมท้ายบท และบรรณาธกิ าร นางกุลธดิ า รัตนโกศล ครู คศ. 4 สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก นางญาณิศา เจรีรัตน์ ครู คศ. 3 สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก นางศิริพรรณ พนั จนิ า ครู คศ. 2 สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก นางสาวคามนต์ นวลมะณีย์ ครู คศ. 2 สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก นางสาวปาริชาติ บญุ โฉม ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอศรรี าชา สานกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี นางสาวรฐั ภรณ์ ดีรอด ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอบางประกง สานกั งาน กศน.จงั หวดั ฉะเชิงเทรา นางสาววภิ าวดี อาจอานวย ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอนิคมพัฒนา สานกั งาน กศน.จังหวัดระยอง นางสาวปยิ ะนชุ แยงคา ครู ศรช. กศน.อาเภอนคิ มพฒั นา สานักงาน กศน.จงั หวัดระยอง บรรณาธิการ/จดั ทาตน้ ฉบบั /จัดทา QR Code วดี ทิ ัศน์ (Clip VDO) นางกัญญาทพิ เสนาะวงศ์ ครู คศ. 3 สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก ผอู้ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124