สภาพทางภูมศิ าสตร์สง่ ผลให้กรงุ ศรอี ยธุ ยาและหัวเมอื งตา่ งๆ ในราชอาณาจักร มีความอดุ มสมบรู ณเ์ หมาะแกก่ ารเกษตรกรรม ทาเลท่ีตัง้ ของกรุงศรีอยุธยาซึง่ เปน็ ศนู ย์กลางของอาณาจกั ร ส่งผลใหอ้ าณาจกั ร อยุธยาเปน็ ศูนย์กลางทางการค้าท้ังภายในและภายนอกราชอาณาจกั ร นโยบายทางการคา้ การเมืองการปกครอง และความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ ของพระมหากษัตริย์
อาณาจกั รอยธุ ยาตั้งอยใู่ นบรเิ วณทร่ี าบลุม่ แม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง ทีเ่ กิดจาก การทับถมของดินตะกอน ท้าให้ดินบริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การท้า เกษตรกรรมเป็นอยา่ งมาก อาณาจกั รอยุธยามีบทบาทส้าคัญในฐานะเป็นศูนย์กลางการค้าซ่ึงได้สร้างความม่ังคั่ง ให้แก่อาณาจักรอย่างต่อเน่ือง ท้ังนี้เพราะสภาพท่ีตั้งของกรุงศรีอยุธยาเหมาะสมกับการ ติดต่อคา้ ขายทั้งภายในอาณาจกั รและการค้ากบั ตา่ งชาติ ดังน้ี
การค้าขายภายในอาณาจักร ศนู ยก์ ลางการค้าภายในของกรุงศรีอยุธยาอยู่ที่ ยา่ นหรอื ป่า ซึ่งเปน็ สถานทผ่ี ลิต และขายสินค้า เช่น ย่านป่าขนม และตลาดน้าที่พ่อค้าแม่ค้าชาวพ้ืนเมืองน้าสินค้ามา แลกเปลย่ี นกนั สนิ คา้ พื้นเมอื งท่ขี ายตามตลาดส่วนใหญ่เปน็ สินคา้ หตั ถกรรม การค้าระหว่างประเทศ อาณาจกั รอยุธยามชี ัยภมู ิเหมาะสมกบั การค้าระหว่างประเทศ เน่ืองจากเปน็ เมือง ทา่ ที่อยู่กง่ึ กลางเสน้ ทางการเดินเรอื คา้ ขายระหว่างประเทศจีนกับอนิ เดีย ประกอบกับ ความเขม้ แข็งทางการเมืองและนโยบายการค้าของผู้น้า ท้าให้เป็นศูนย์รวมของสินค้า จากเมืองท่าตา่ งๆ
เป็นแหลง่ รวมของสนิ ค้าประเภทของปา่ เปน็ ศนู ยก์ ลางของการค้าสง่ ผ่าน ลกั ษณะการค้าของอาณาจักรอยุธยา การคา้ กับตา่ งประเทศในสมยั อยธุ ยาตอนตน้ เปน็ การค้าก่งึ ผกู ขาด เป็นการคา้ สา้ เภากบั ชาติตา่ งๆ ในภมู ิภาคเอเชยี ด้วยกัน ซ่ึงส่วนใหญ่ เป็นการคา้ ทด่ี า้ เนนิ การโดยพระมหากษตั ริย์ เจ้านายและขุนนาง แต่สามารถติดต่อค้าขาย กับราษฎรและพอ่ คา้ ชาติอ่นื ที่อยู่ในกรงุ ศรีอยธุ ยาได้โดยตรง
ลักษณะการคา้ ของอาณาจักรอยธุ ยา เป็นผู้ดแู ลเกยี่ วกับการคา้ ของอาณาจกั ร โดยแบง่ ออกเป็น ๒ สว่ น คือ กรมท่าขวาซึง่ จะควบคมุ การค้ากบั ชาติตะวันตก กรมทา่ ซา้ ยจะควบคุมดูแลการคา้ กับจีนและฮอลนั ดา หน้าทีห่ ลกั ของกรมทา่ คอื การผกู ขาด สินคา้ ก้าหนดชนิดของสินค้าตอ้ งห้ามและเก็บค่าธรรมเนยี มการคา้
การจดั เก็บรายไดข้ องอาณาจักร จงั กอบ สว่ ย อากร ฤชา รายจา่ ยของอาณาจกั ร
พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานวุ งศ์ ขุนนาง
ไพร่ ไพร่หลวง ไพร่สม
ทาส ทาสสนิ ไถ่ ทาสในเรือนเบี้ย ทาสทไี่ ด้มาดว้ ยการรับมรดก ทาสท่านให้ ทาสทช่ี ่วยไวจ้ ากโทษทัณฑ์ ทาสท่ีช่วยจากทุพภกิ ขภัย ทาสเชลย
ชาวตา่ งชาติในสมัยอยุธยา สงั คมสมยั อยุธยาถือเป็นสงั คมท่ีมหี ลายชนชาติหลายศาสนารวมอยดู่ ้วยกนั ไดแ้ ก่ ชาวเอเชีย พอ่ คา้ ทีเ่ ขา้ มาคา้ ขายและต้งั หลักแหลง่ ในกรงุ ศรอี ยุธยา อนิ เดีย อาหรับ มลายู และญปี่ นุ่ ซ่งึ ราชส้านกั อยุธยาได้ให้ความอุปถมั ภช์ าวต่างชาติ เหล่าน้ี เช่น จัดสถานที่ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่เป็นชุมชนนอกก้าแพงเมือง ชาวต่างชาติ เหล่าน้มี เี สรีภาพในการนบั ถือศาสนา และปฏบิ ตั ติ ามประเพณขี องตนไดอ้ ย่างเต็มที่
พ่อค้าต่างชาตไิ มต่ อ้ งถกู เกณฑ์แรงงานเหมอื นกบั ราษฎรทั่วไป แต่ในเวลาสงคราม อาจถูกขอความช่วยเหลอื ในเรื่องเงินและก้าลังคนช่วยรบดว้ ย ชาวตะวันตก สมัยสมเด็จพระรามาธิบดที ี่ ๒ ชาวตะวันตกได้เขา้ มาคา้ ขาย และต้ังถิ่นฐานในอยุธยา โดยโปรตุเกสเข้ามาเป็นชาติแรก ตามมาด้วยชาติอื่นๆ ซ่ึงได้แก่ สเปน ฮอลันดา อังกฤษ และฝร่ังเศส เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต มีจุดประสงค์ อน่ื คอื เข้ามาท้าการค้าขายและเผยแผ่ครสิ ตศ์ าสนา
สงั คมสมัยอยธุ ยาประกอบด้วยผ้คู นหลากหลายชนชาติ ทา้ ใหเ้ กดิ การประสานและผสม กลมกลืนทางวัฒนธรรมอนั เป็นรากฐานส้าคญั ต่อพฒั นาการทางสงั คมตลอดสมัยอยธุ ยา
การเลือกสถานท่ตี ้ังกรุงศรอี ยธุ ยา กรุงศรอี ยธุ ยาเปน็ ปัจจยั หน่งึ ที่ทา้ ให้อาณาจกั ร อยุธยาเป็นอาณาจกั รที่เจรญิ รงุ่ เรอื ง
การควบคุมกาลังไพรพ่ ลในระบบศักดนิ าและระบบไพร่ การควบคุมคนอยา่ งเป็น ระเบียบ เรยี กวา่ ระบบศักดนิ า และระบบไพรข่ ึ้น ระบบศกั ดนิ าเปน็ ข้อก้าหนดทีก่ า้ หนด หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบ สทิ ธิ และฐานะของชนชัน้ ต่างๆ ระบบไพร่เป็นการควบคุมก้าลังคนท่ีกระจายอยู่ในท้องท่ีต่างๆ ให้เข้ามาสังกัดเป็น หมวดหมู่ เพอื่ ประโยชนใ์ นการเปน็ แรงงานในระบบเศรษฐกิจในยามสงบ และเป็นไพรพ่ ล ในกองทัพในยามสงคราม ไพรแ่ บ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ไพร่หลวง และไพร่สม
การผสมผสานความเชอ่ื ในศาสนา ความคิดความเช่อื ระหวา่ งศาสนาพราหมณ์ กบั พระพุทธศาสนา มีอทิ ธิพลตอ่ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ห์ ลายดา้ น โดยเฉพาะในพระ ราชพิธีต่างๆ เช่น พระราชพิธีถือน้าพระพิพัฒน์สัตยา (ธรรมเนียมท่ีเจ้านาย ขุนนาง แสดงความจงรกั ภักดตี ่อพระมหากษัตรยิ ด์ ้วยการดมื่ นา้ )
จิตรกรรม ภาพจิตรกรรมสมยั อยุธยามีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื สื่อสะท้อนศรทั ธา จติ รกรรมสมยั อยุธยาตอนต้น นยิ มเขยี นภาพประดบั ศาสนสถาน เชน่ โบสถ์ วิหาร แสดงให้เห็นอทิ ธพิ ลของศลิ ปะแบบเขมร
จติ รกรรม จิตรกรรมสมัยอยุธยาตอนกลาง อิทธิพลของศิลปะแบบสุโขทัยเร่ิมเข้ามาแทนท่ี ศิลปะแบบเขมร ภาพที่วาดมีท้ังภาพพระพุทธ องค์และภาพประกอบเรือ่ งทว่ี าดลงบนสมดุ ข่อย จติ รกรรมสมยั อยธุ ยาตอนปลาย ภาพวาดไดร้ ับการผสมผสานและปรับปรงุ ให้ เปน็ แบบของตนเอง นยิ มวาดภาพเล่าเรอ่ื ง
ประติมากรรม ประตมิ ากรรมสมยั อยุธยาตอนตน้
ประตมิ ากรรม ประติมากรรมสมัยอยุธยาตอนกลาง ปรบั รูปแบบของศลิ ปะแบบเขมร และแบบสุโขทัยเข้าด้วยกันจึงเกิดรูปแบบใหม่ข้ึน ถือเป็นศิลปะรูปแบบสมัยอยุธยา อย่างแท้จริง
ประติมากรรม ประติมากรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย นิยมสรา้ งพระพทุ ธรปู ทรงเคร่ือง แบบราชาธิราชมีท้งั แบบท่เี รยี กวา่ ทรงเครื่องใหญแ่ ละทรงเครือ่ งน้อย
สถาปัตยกรรม การกอ่ สรา้ งอาคารทีอ่ ย่อู าศัยสมัยอยธุ ยามักใชไ้ มเ้ ปน็ วสั ดุหลกั ดังนน้ั จึงสญู หายไปเกอื บหมดตามกาลเวลา ปัจจุบันเป็นสถาปัตยกรรม ทเ่ี กี่ยวเนอ่ื งกบั พระพทุ ธศาสนา เช่น โบสถ์ วหิ าร และสถูปเจดีย์ต่างๆ ที่ก่อสร้าง ด้วยวสั ดุคงทนประเภทอฐิ ศลิ าแลง สถาปตั ยกรรมสมยั อยุธยาตอนตน้
สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมสมยั อยุธยาตอนกลาง
สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมสมยั อยุธยาตอนปลาย
งานจ้าหลักไมท้ ีย่ ังหลงเหลอื อยูใ่ นปจั จุบัน ได้แก่ บานประตูพระเจดีย์สามองค์ วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นรูปเทวดา ยืนถือพระขรรค์ เหนือเศียรเป็นฉัตร สรา้ งในสมัยพระบรมราชาธริ าชที่ ๔
นาฏศลิ ป์ นาฏศิลปใ์ นสมัยอยธุ ยาที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานคือ โขน และหนังใหญ่ เปน็ การละเล่นที่นยิ มกันมาก
นาฏศิลป์ การละเล่นดนตรีคือ วงมโหรี เปน็ วงดนตรีทม่ี ีเคร่ืองดนตรีครบทกุ ประเภท คอื ดดี สี ตี เป่า ภาษาไทย หนงั สือ จนิ ดามณี เปน็ ต้าราแบบเรยี นภาษาไทยท่ใี ชก้ นั ในสมัยอยธุ ยา
วรรณกรรม ลลิ ติ โองการแชง่ นา้ วรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย ลิลิตยวนพา่ ย สมทุ รโฆษคาฉันท์ วรรณกรรมสมัยอยธุ ยาตอนกลาง โคลงทศรถสอนพระราม โคลงพาลสี อนน้อง
วรรณกรรม วรรณกรรมสมยั อยุธยาตอนตน้ เจ้าฟ้าธรรมธเิ บศรไดท้ รงนิพนธ์ เร่ือง นันโทปนันทสูตรคาหลวง และ พระมาลัยคาหลวง ในสมัยอยธุ ยาตอนปลายนยิ มแต่งวรรณกรรมประเภทนิทานเปน็ กลอนบทละคร เช่น ดาหลัง ของเจ้าฟ้ากุณฑล อิเหนา ของเจ้าฟ้ามงกุฎ นอกจากนี้มีบทละครนอกอีกหลาย เรอื่ ง เชน่ รามเกียรต์ิ สังข์ทอง พิกุลทอง
พระราชประวตั ิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประสูติท่ีเมืองพิษณุโลกเมื่อ พ.ศ.๒๐๙๘ เป็น พระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและ พระวิสุทธกิ ษัตรี
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงเป็นที่รู้จกั ในฐานะวรี กษัตริย์ หรอื ในพระนาม พระองค์ ดา หรือ พระนเรศ โดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระปรีชาสามารถในการสงคราม และการปกครอง อีกทงั้ พระองค์ยังเป็นนักการต่างประเทศทที่ รงพระปรีชาสามารถในการ ด้าเนินนโยบายอยา่ งกลา้ หาญอีกด้วย พระราชกรณียกจิ ด้านการปกครอง พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการทหาร
พระราชกรณียกิจด้านการตา่ งประเทศ รักษาความสมั พนั ธอ์ นั ดกี บั นานประเทศ ท้งั ดา้ นการทูตและการค้า
พระราชประวัติ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชหรอื อกี พระนามหนึ่ง คือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสรรเพชญ์ เปน็ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ ในสมัย ของพระองค์มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าในทุกด้าน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การต่างประเทศ การศกึ ษา ศลิ ปวฒั นธรรม วรรณคดีที่สา้ คัญหลายเรือ่ งเกิดข้ึนในสมัยของพระองค์ จนได้ชอ่ื วา่ เป็นยุคทองของวรรณคดใี นสมยั อยธุ ยา พระราชกรณียกิจดา้ นการตา่ งประเทศ
พระราชกรณียกจิ ดา้ นสัมพนั ธไมตรกี ับฝร่งั เศส
วีรกรรมของชาวบ้านบางระจนั เป็นพลังของ ประชาชนชาวบ้านท่ีมีต่อแผ่นดิน โดยสามารถ รบต่อต้านข้าศึกด้วยความกล้าหาญ แสดงพลัง แหง่ ความสามัคคี นับเปน็ การเสยี สละที่ย่งิ ใหญ่
ปจั จยั ภายใน ไดแ้ ก่ ความเสอ่ื มของสถาบนั กษตั ริย์ ความออ่ นแอของผนู้ าสมยั อยุธยาตอนปลาย ความออ่ นแอทางกาลังทหาร
ปจั จยั ภายนอก เม่ือ พ.ศ. ๒๓๐๙ พม่ากย็ กทพั เขา้ ล้อมกรงุ ศรีอยธุ ยา และดว้ ยปญั หาตา่ งๆ น้ามาซ่ึงความไม่พรอ้ มในการรบ ท้าให้อาณาจักรอยุธยาพ่ายแพ้สงครามแกพ่ มา่ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: