Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกผักและดอก

การปลูกผักและดอก

Description: การปลูกผักและดอก

Search

Read the Text Version

คํานํา เอกสารคําแนะนําเร่อื งการปลูกผักและไมดอกทกี่ รมสง เสรมิ การเกษตรจัดทําขึ้นนี้ เปน เอกสารสาํ หรบั ประชาชนใชเ ปนคมู ือในการปลูกพชื โดยเฉพาะชนดิ ของพชื ทป่ี รากฏในเอกสาร จะเลือกกลาวถึงพชื ผักประเภทที่ใชในครัวเรอื นอยเู สมอ เชน พริกขหี้ นู โหระพา กะเพรา มะเขือบาง ชนิด สว นไมด อกไมประดับ กจ็ ะแนะนาํ ใหปลูกชนดิ ทส่ี ามารถนาํ ไปใชสอยได และเปน ชนิดทไี่ มต อง ใชเ ทคนคิ หรอื เวลาในการดแู ลรกั ษามากนัก เพื่อใหส อดคลองกบั การดําเนนิ ชวี ติ ของประชาชนอยา ง แทจ ริง ซ่ึงกรมสงเสริมการเกษตรพิจารณาวา จะเปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน หากทกุ ครอบครวั จะไดมีการปลูกพชื ทสี่ ามารถนาํ มาใชป ระโยชนไดเองบางสว น ทาํ ใหลด คา ใชจ า ย และไดบ รโิ ภคพชื อาหารทป่ี ลอดภยั จากสารพิษ หรอื บางรายทม่ี พี น้ื ทมี่ ากพอก็อาจขยาย การปลกู เพ่ือเปนอาชพี เสริมได โดยใชแ รงงานในครัวเรือน ซงึ่ ทําใหสมาชกิ ในครอบครัวโดยเฉพาะ เยาวชนรูจ กั ใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชนอกี สว นหนง่ึ ดว ย เอกสารฉบบั นอี้ าจจะกลา วถงึ การปลูกพชื ผกั และไมดอกบางชนิดเทา น้ันกจ็ ริง แต กรมสง เสรมิ การเกษตร เชอื่ วาประชาชนทไ่ี ดรับเอกสารนี้ไป คงสามารถใชความรู และดุลพินิจ นาํ ไป ปรับใช รวมทง้ั เปน แรงบนั ดาลใจใหห าวธิ กี ารปลูกพืชชนดิ อน่ื ตามความชอบ และความตอ งการใชของ ทา นตอ ไป กรมสง เสรมิ การเกษตร

สารบัญ ผัก 1 • มะเขอื เปราะ 3 • มะเขอื ยาว 5 • พรกิ ขห้ี นู 7 • โหระพา 9 • กะเพรา 11 • มะละกอ 13 ไมด อก 15 • มะลิ 17 • ชบา 18 • เข็ม • พุด ขอมูลและแหลง ท่มี า

การปลูกผักและไมด อก 1 มะเขือเปราะ มะเขอื เปราะ เปนผกั ทปี่ ลกู งา ย โตไว ใหผลตอบแทนเร็ว และสามารถเก็บเกีย่ ว ผลผลิตไดน าน พันธุ พนั ธุหยดพระยา พันธุลูกผสม ตนเตี้ย แตกแขนงดี ผลดก ผลกลมสีขาวลาย เขียวออน นาํ้ หนักผลเฉลี่ย 40 - 60 กรัม พนั ธุปงปอง พันธุลูกผสม ตนสูง ผลกลมสีขาวลายเขียวออน น้ําหนักผล เฉล่ีย 60 - 80 กรัม เก็บผลผลิตไดนาน 4 เดือน พนั ธเุ คอรมดิ พันธุลูกผสม ตนเต้ีย แตกแขนงดี ผลดก ผลกลมสีขาวลาย เขียวเขม นาํ้ หนักเฉลี่ย 40 - 60 กรัม วิธีการปลูก การปลูก ระยะปลูกระหวางตน 70 - 80 เซนติเมตร ระหวางแถว 90 -100 เซนติเมตร เจาะพลาสติกตามระยะปลูก นํากลามะเขือเปราะท่ีมีอายุ 15 วัน หรือมีใบจริง 3-4 ใบ มาปลูกตามหลุมท่ีกาํ หนด แลวกลบดิน และรดน้าํ การเตรียมดนิ ไถดินใหลึก 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 7-10 วัน ยอยดินให ละเอียด หวานปูนขาวในอัตรา 100 – 200 กิโลกรัม / ไร พรอมใสปุยหมักหรือปุยคอกอัตรา 2,000 กิโลกรัม / ไร และปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัม / ไร คลุกเคลาในแปลงและ ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กวาง 120 เซนติเมตร เสร็จรดนํา้ และคลุมดวยพลาสติก เพ่ือรักษาความช้ืนและปองกันวัชพืช กลุมสือ่ สงเสริมการเกษตร สํานักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมดอก 2 การเตรียมกลา ใสดินผสมลงในถาดเพาะกลา ( ดินท่ีรอนแลว 3 สวน ปุยคอก 1 สวน ทรายหรือแกลบ 1 สวน ) รดน้ําและหยอดเมล็ดลงในถาดหลุมๆละ 1 เมล็ดรดนํา้ เชา - เย็น การดูแลรักษา การใหนํ้า ตองใหนํา้ สมา่ํ เสมอ หลังยายกลาทุกเชา – เย็น เม่ือกลาตั้งตัว ดีแลวจึงรดน้ําเพียงวันละคร้ัง การใสปุย 1. หลังยายปลูก 7- 10 วัน ใสปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร เพื่อเรงการ เจริญเติบโต 2. ใสปุยสูตร 13 -13 -21 หรือ 8-24-24 อัตรา 50 -100 กิโลกรัม / ไร โดยทยอย แบงใสในชวงออกดอกติดผลทุกๆ 20 วัน การปองกันกําจัดศัตรูพืช 1. วัชพืช กาํ จัดวัชพืชทุกครั้งท่ีมีการใสปุยหรือเม่ือวัชพืชเกิดข้ึน 2. โรคผลเนาแหงสีดาํ หรือปลายผลดาํ ปองกันและกําจัดโดย ใสหินปูน หรือ ปูนขาวรองกนหลุม 1-2 ชอนแกง/หลุม ฉีดพนธาตุแคลเซียมในชวงระยะติดผลไปจนถึงเก็บเกี่ยว 3. โรคใบแหง โรคใบจุด ปองกันกําจัดโดยใชสารปองกันกาํ จัดเชื้อรา เชน ไดเท็นเอ็ม 45 ฉีดพนทุก 7 วัน 4. โรคราแปง ปองกันและกําจดั โดยใชสารปอ งกันกาํ จัดเชื้อรา เชน กาํ มะถันผง ชนิดละลายนา้ํ คาลาเบน เบนเลท ฯลฯ สาํ หรับกาํ มะถันควรฉีดพนในเวลาเชามืดท่ีมีอากาศเย็น หรือตอนเชา การเก็บเกี่ยว หลงั ดอกบาน 7-10 วนั จะสามารถเก็บเกย่ี วผลผลติ ไดโ ดยเก็บผลที่มขี นาดพอเหมาะ ไมอ อ นหรอื แกเ กนิ ไป โดยการเกบ็ เกยี่ วใหม ขี ว้ั มะเขอื ตดิ มากบั ผลดว ย ผลผลติ 8,000 – 12,000 กโิ ลกรมั /ไร กลมุ ส่ือสง เสรมิ การเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปลูกผักและไมด อก 3 มะเขือยาว มะเขอื ยาวเปน พืชเศรษฐกจิ อกี ชนดิ หนงึ่ ทปี่ ลกู งา ย ผลดก เก็บเกีย่ วไดน าน และ ปจ จบุ นั สามารถสงออกได พันธุ พนั ธทุ อรนาโด , พนั ธโุ ทมาฮอค , พนั ธคุ าสโิ น, พนั ธุม ัสแตง เปนตน วิธีการปลูก การปลกู เพาะเมล็ดในถาดเพาะท่มี สี วนผสมของดินที่รอนแลว 3 สวน ปุย คอก 1 สว น ทรายหรือแกลบ 1 สวน รดน้าํ และหยอดเมลด็ ลงในถาดหลุมๆละ 1 เมล็ด รดนํ้าเชา - เย็น เมอ่ื กลา อายุ 35 วนั หรอื มใี บจรงิ 3 - 4 ใบ โดยมรี ะยะปลกู ระหวา งตน 70 - 80 เซนตเิ มตร และระยะปลกู ระหวางแถว 90 -100 เซนตเิ มตร การเตรยี มดนิ ไถดนิ ลกึ ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดิน 7-10 วัน ยอยดนิ ใหร ว น หวา นปนู ขาวในอตั รา 100 – 300 กโิ ลกรมั / ไร พรอ มใสป ยุ หมกั หรอื ปยุ คอกอตั รา 2,000 กโิ ลกรมั / ไร และปยุ สตู ร 15 -15 -15 อตั รา 30 กโิ ลกรมั / ไร คลกุ เคลา ในแปลง ยกแปลงสงู ประมาณ 30 เซนตเิ มตร กวา ง 120 เซนตเิ มตร รดนาํ้ และคลุมดวยพลาสตกิ เพอื่ รักษาความชืน้ และปอ งกนั วัชพชื กอนปลกู 2 อาทติ ย กลมุ ส่อื สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมด อก 4 การดูแลรักษา การใหนา้ํ ใหอยา งสม่ําเสมอ หลงั ยา ยปลูกทุกเชา – เยน็ เมอื่ กลาตง้ั ตวั ดแี ลว จึงรดนํ้าวนั ละคร้ัง การใหปุย หลังยายปลูก 7-10 วัน ใสปุยสูตร 46 - 0 - 0 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร ใสป ยุ สตู ร 13 -13 -21 หรอื 8 -24 -24 อตั รา 50 -100 กิโลกรัม / ไร ใสชวงออกดอกตดิ ผลทกุ ๆ 20 วัน การปองกันกําจัดศัตรูพืช 1. วัชพืช กาํ จัดวัชพืชทุกคร้ังที่มีการใสปุยหรือเม่ือมีวัชพืช 2. โรคผลเนาแหงสีดาํ หรือปลายผลดํา ปองกันกาํ จดั โดยใสปูนขาวรองกน หลมุ 1 - 2 ชอนแกง /หลมุ ฉีดพนธาตแุ คลเซยี มในชว งระยะตดิ ผลไปจนถึงเกบ็ เก่ยี ว 3. โรคใบแหง โรคใบจุด ปองกันกาํ จัดโดยใชสารปองกันกําจัดเช้ือรา เชน ไดเท็นเอ็ม 45 ฉีดพนทุก 7 วัน 4. โรคราแปง ปองกนั และกาํ จัดโดยใชสารปอ งกันกาํ จดั เช้ือรา เชน กาํ มะถันผง ชนิดละลายนาํ้ คาลาเบน เบนเลท ฯลฯ สาํ หรับกํามะถันควรฉีดพนในเวลาเชามืดที่มีอากาศเย็น หรือตอนเชา การเก็บเกี่ยว หลังดอกบาน 7-10 วนั จะสามารถเกบ็ เก่ียวผลผลิตได โดยเกบ็ ผลทม่ี ขี นาดพอเหมาะ ไมอ อ นหรอื แกเ กนิ ไป โดยการเกบ็ เกยี่ วใหม ขี ว้ั มะเขอื ตดิ มากบั ผลดว ย ผลผลติ 5,000 – 7,000 กโิ ลกรมั /ไร กลมุ สื่อสงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลูกผกั และไมดอก 5 พรกิ ข้หี นู พันธุ • จนิ ดา , หวั เรอื , หว ยสที น 1 • อัตรา 50 - 100 กรมั /ไร วธิ ีการปลูก แปลงเพาะกลา ไถดินลกึ ประมาณ 15 เซนตเิ มตร ตากดนิ ประมาณ 5-7 วัน หวา นเมลด็ ใหก ระจายทว่ั แปลง หรอื อาจทาํ เปน แถวหา งกนั แถวละ 15 เซนตเิ มตร หวา นกลบดว ยปยุ คอก ปยุ หมกั หรอื ดินละเอียด รดนาํ้ คลมุ ดว ยฟางหลงั จากกลางอก ได 15 - 20 วนั จึงถอนยายปลูก แปลงปลกู ระยะปลูกทีเ่ หมาะสมคอื 50 x 100 เซนติเมตร ตากดนิ 7-10 วนั ใสป ยุ คอกหรอื ปยุ หมกั อตั รา 2 - 3ตนั /ไร ถา ดนิ มคี วามเปน กรดสงู ควรใสป นู ขาวอตั รา 200 - 300 กโิ ลกรมั /ไร จากนน้ั ทาํ การคลุกเคลา และพรวนดนิ ใหมขี นาดเล็ก หลงั จากใสปนู ขาว 15 -20 วนั จึงปลูกพรกิ ได การปลกู ควรกดดนิ โคนตน ใหแ นน และระวังอยา ใหรากลอย จะทาํ ใหพ รกิ โคน ลม ไดง าย รดน้าํ ใหชมุ แลวใชฟางคลมุ แปลง ควรทาํ เพงิ บังแดดในระยะเร่มิ ยา ยปลกู ใหมๆ เพราะตน กลา โตชา สภาพแวดลอ ม ประเภทดนิ ดนิ แทบทกุ ชนิด ชอบดนิ รว นปนทราย pH 6.0 - 6.8 ความชนื้ พอเหมาะไมแ ฉะหรอื แหงเกินไป แสงแดดเต็มทต่ี ลอดวนั อณุ หภมู ิ 24 - 29.5 องศาเซลเซยี ส กลุมสื่อสงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมดอก 6 การดูแลรักษา การใสปุย ใสปยุ สตู ร 15 -15 -15 หรือ 14 -14 -21 อตั รา 50 -100 กโิ ลกรัม / ไร แบง ใส 2 ครง้ั ครงั้ แรกปรมิ าณครง่ึ หนง่ึ ใสต อนปลกู แบบรองพน้ื ใสค รงั้ ท่ี 2 เมอื่ พรกิ อายุ 30 วนั หลงั ยา ยปลกู แบง โรยขางตน แลว พรวนกลบ การปองกันกําจัดศัตรูพืช โรคสาํ คญั ไดแ ก โรคใบดา งหงิก โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุด โรคเหี่ยว โรครากปม โรคผลเนา แมลงสาํ คัญ เพลี้ยไฟ แมลงหว่ีขาว เพลยี้ ออน สตั วศตั รพู ชื ไรขาว การเก็บเก่ียว อายุเกบ็ เกี่ยวเรมิ่ เก็บคร้ังแรกประมาณ 65 - 90 วัน การเก็บเก่ียวควรเก็บทกุ ๆ 7 วนั ใชว ธิ เี ด็ดทลี ะผลใชเลบ็ จิกตรงรอยกา นผลตอกบั ก่งิ ซง่ึ พริกจะไดผ ลผลติ นานถงึ 6 -7 เดอื น หรอื เปน ป จนกวา ตนจะเหีย่ วโทรมตายไป ผลผลติ 800 - 1,000 กิโลกรมั /ไร กลุมสือ่ สง เสริมการเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมดอก 7 โหระพา โหระพาสามารถบริโภคเปน ผักสดหรือใชประกอบอาหารอ่นื ๆได ทาํ ใหอาหารมี รสชาตแิ ละกล่นิ หอม ปลกู กนั มากแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต พันธุ จัมโบ เปน พนั ธุทมี่ ใี บใหญ กลน่ิ หอมแรงเปนที่นยิ มโดยท่วั ไป วิธีการปลกู การเตรียมดนิ ไถดนิ ใหลกึ ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 1 -2 อาทิตย ยอยดนิ ใหละเอียด ถาดนิ เปน กรด ใหใ ชป นู ขาวในอัตรา 100 – 300 กโิ ลกรมั / ไร ใสป ุยหมกั และ ปยุ คอกอัตรา 2,000 กโิ ลกรัม / ไร ปุยสตู ร 15 -15 -15 อัตรา 30 กโิ ลกรมั / ไร คลุกเคลา ใหท วั่ แลว ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนตเิ มตร กวา ง 120 เซนตเิ มตร การปลกู โหระพาสามารถปลูกไดโดยใชกงิ่ ชาํ หรือใชเมล็ดเพาะเปน ตนกลา แลว ยายปลกู โดยมรี ะยะปลูกระหวา งตน 25 เซนติเมตร ระยะหา งระหวางแถว 50 เซนตเิ มตร กลมุ สอ่ื สงเสริมการเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผกั และไมดอก 8 การดูแลรักษา การใหนาํ้ ควรใหน ํา้ พอเพยี งกับความตองการของพชื การใหปุย ใสป ุยสตู ร 15 - 15 -15 หรอื 20 -11 -11 ในอตั รา 25 - 30 กิโลกรมั /ไร หลังการเกบ็ เก่ียวทกุ ครง้ั การปองกันกําจัดศัตรูพืช วัชพชื เมือ่ มวี ชั พชื ข้นึ มา ตอ งกําจดั วัชพืชกอ น เพ่ือไมใหแ ยง อาหารโหระพา โรคและแมลงมนี อ ย การเก็บเกี่ยว ใชมีดคมๆตัดก่งิ ทเ่ี จริญเติบโตเตม็ ที่ มดั แลวนําไปจําหนา ย (อายุเก็บเกี่ยว 50 วนั ) สามารถเกบ็ เกี่ยวไดห ลายครงั้ ผลผลิตประมาณ 4,500 – 6,000 กโิ ลกรัม /ไร กลุมสอ่ื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมด อก 9 กะเพรา กะเพราเปนพืชที่ใชใบสดประกอบอาหารเพื่อดับกล่ินคาวและชวยใหอาหารมี กล่ินหอม นอกจากน้ันยังมสี รรพคณุ เปน สมนุ ไพร เปน พืชทนี่ ิยมปลกู ในแถบเอเชียตะวันออกเฉยี งใต เชน ประเทศไทย มาเลเซีย พันธุ เขยี วกา นแดง เปน พันธทุ ม่ี ใี บใหญส ีเขียว กา นแดง เปน ทน่ี ยิ มโดยทวั่ ไป วิธีการปลกู การเตรียมดนิ ไถดนิ ใหล กึ ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 1 - 2 อาทติ ย ยอ ยดินใหล ะเอยี ด หวานปนู ขาวในอตั รา 100 – 300 กโิ ลกรัม / ไร ใสป ยุ หมกั และปุย คอกอตั รา 2,000 กโิ ลกรมั / ไร ปยุ สตู ร 15 -15 -15 อตั รา 30 กิโลกรมั / ไร คลุกเคลาใหทว่ั แลวยกแปลงสงู ประมาณ 30 เซนติเมตร กวา ง 120 เซนตเิ มตร การปลกู กะเพราสามารถปลกู ไดโดยใชก ง่ิ ชําหรือใชเ มลด็ เพาะเปน ตน กลาแลว ยายปลูก โดยมีระยะปลกู ระหวางตน 40 เซนติเมตร ระยะหา งระหวา งแถว 40 เซนตเิ มตร กลุมส่อื สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลูกผกั และไมด อก 10 การดูแลรักษา การใหน้ํา ควรใหน า้ํ พอเพยี งกบั ความตองการของพชื การใหปุย ใสปุย สูตร 15 - 15 -15 ในอตั รา 30 - 50 กโิ ลกรมั /ไร หลังการเก็บเกี่ยว ทกุ ครัง้ การปองกันกําจัดศัตรูพืช วชั พชื เมือ่ มวี ัชพชื ข้นึ มา ตองกําจดั วชั พชื กอ น เพือ่ ไมใ หแยง อาหารกะเพรา โรคและแมลงมีนอ ย การเก็บเกี่ยว ใชมีดคมๆเก็บเก่ยี วโดยตัดกงิ่ กา นทแี่ กเ จรญิ เติบโตเตม็ ทแ่ี ลว ซง่ึ ในไมช ากะเพรา จะแตกก่ิงตน ออกมาเชน เดิม (อายเุ ก็บเกยี่ ว 40 - 45 วนั ) สามารถเกบ็ เก่ยี วไดห ลายครงั้ ผลผลติ ประมาณ 4,500 – 6,000 กโิ ลกรัม /ไร กลุม สื่อสงเสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมด อก 11 มะละกอ มะละกอ เปนผลไมล มลกุ ขนาดกลาง สูงประมาณ 2 - 7 เมตร ใหผ ลตลอดป เปน ที่ นยิ มบรโิ ภคทงั้ ผลดบิ และผลสกุ ผลดบิ นาํ มาปรงุ อาหาร ผลสกุ รบั ประทานเปน ผลไมม กี ลน่ิ และรสหวาน ฉํา่ ช่ืนใจ มีคณุ คาทางโภชนาการสงู เปน แหลง เบตาแคโรทีน ซง่ึ ชวยปองกันเซลลของรางกายมิใหถ กู อนุมลู อิสระทาํ ลาย มวี ติ ามนิ ซแี ละแคลเซียมสูง ยางมะละกอมสี ารพาเพอิน (papain )มีคุณสมบตั ิ ชว ยยอ ย สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนในทางอตุ สาหกรรมไดห ลายอยา ง เชน การรกั ษาแผลเรื้อรัง ลบรอยบนผวิ หนงั และชว ยยอยอาหาร มะละกอพนั ธทุ ่นี ยิ มปลูกไดแ ก แขกดํา แขกนวล ทา พระ โกโก สายน้าํ ผึ้ง เปน ตน ดอกมะละกอ มี 3 ประเภท คอื ดอกตวั ผู ดอกตัวเมีย และดอกกระเทย อยแู ยกกนั คนละตน ผลของ ตนตวั เมยี มลี ักษณะกลมปอ มเน้อื บาง ผลตน กระเทยมลี ักษณะเรียวยาว เนอ้ื หนา ซงึ่ มลี กั ษณะที่ ตลาดตอ งการ สวนตนตัวผจู ะไมต ิดผล วิธีการปลูก การปลกู เตรยี มหลมุ ปลกู ขนาด กวา ง x ยาว x ลกึ ประมาณ 50 x 50 x 50 เซนตเิ มตร ระยะปลกู 3 x 3 เมตร ยอยดินในหลุมใหล ะเอียด ใสปยุ หมกั หรือปยุ คอกประมาณ 5 กโิ ลกรัม / หลุม คลุกเคลาดินและปุยคอกใหเ ขากัน ถอดตนกลา มะละกอออกจากถงุ ดํา นาํ ตน กลาลงปลกู ในหลุมท่ี เตรียมไว กลบดนิ ลงหลมุ กดดินบริเวณโคนตน ใหแ นน รดนา้ํ ใหช ุม ถา ดนิ ยบุ ตัวใหเตมิ ดนิ อีก ใสป ยุ สูตร 15 - 15 -15 ประมาณ 1 กาํ มอื โรยรอบโคนตน ทกุ 2 - 3 เดือน กลุมสอื่ สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลูกผกั และไมด อก 12 การปองกันกําจัดศัตรูพืช การปลกู บริโภคในครวั เรือนไมค วรใชส ารเคมีในการกาํ จดั ศัตรูพชื หากพบศตั รพู ชื ให ใชสารสกดั จากธรรมชาติ เชน สารสกดั จากสะเดา การเกบ็ ใบท่ีเปนโรคและแมลงไปทาํ ลาย การใช แมลงศตั รูพชื ธรรมชาติกําจดั ทําใหไ ดผลผลติ ปลอดภัยจากสารพษิ ไวบ ริโภคในครวั เรอื น โรคแมลงทสี่ าํ คัญ 1. โรครากเนา โคนเนา บริเวณโคนตน สวนกลางหรอื สวนลางทตี่ ดิ กับผิวดินจะเกดิ เปน รอยฉ่ํานํ้า ตอ มารอยนน้ั จะเนา เปน สดี ําหรอื สีน้าํ ตาล มีกลน่ิ เหมน็ เม่ือเปน ถงึ ยอด ใบจะเฉาตดิ กับลําตน และตายในทีส่ ุด การควบคุม ถา พบตน เร่มิ เปนโรคน้ีใหถ ากบริเวณแผลออกใหห มดทาดว ย ปนู ขาว ถา เปน ตน เล็กใหถอนทงิ้ ใสป ูนขาวลงในหลมุ ทถี่ อนทงิ้ พนื้ ทปี่ ลูกควรมีการระบายนา้ํ ดี 2. โรคใบดางหรอื ใบจุดวงแหวน ใบมะละกอจะซดี เหลอื งตอ มาเปน สเี ขียวสลบั เหลอื ง เน้ือใบไมเ รยี บ ถา เปน มากใบจะแคระแกรนบิดเบี้ยว ลาํ ตนจะแสดงอาการเปน วงสีเขยี วหรอื เปนขดี เลก็ ๆ ขอ และปลอ งส้นั ผิดปกติ ผลจะเปน จดุ กลมเลก็ ๆคลา ยวงแหวนเนือ้ ในแข็งเปน ไต เมอื่ ชิม มรี สขม การควบคมุ ตอ งเลือกเมล็ดจากตน ทไี่ มมีอาการของโรค หลีกเลย่ี งการปลูกในบริเวณท่ีมพี ืช ตระกูลแตงหรือใกลต น มะละกอท่ีแสดงอาการ หากพบตน ท่แี สดงอาการใหถอนและเผาทําลาย การเก็บเกี่ยว ตน มะละกอ จะเรมิ่ ออกดอกเมอื่ อายปุ ระมาณ 3 – 5 เดอื นหลงั ปลกู สามารถเกบ็ เกย่ี ว ผลดิบไดเม่อื ผลอายุ 3 – 4 เดอื น และเก็บผลสุกเมือ่ ผลอายุ 5 - 6 เดอื นหลงั ดอกบาน หากมกี ารดูแลดี ก็สามารถเกบ็ ผลไดตลอดป ตนมะละกอสามารถใหผลผลิตไดน าน 3 – 4 ป กลมุ สอ่ื สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลูกผักและไมดอก 13 มะลิ พันธุ พันธแุ มก ลอง ทรงพุมใหญ หนาและทบึ เจริญเตบิ โตเร็ว ใบหนาปลายใบมน สีเขียวเขม ชว งขอใบหา ง ดอกใหญ กลม มีดอก 1 ชดุ ๆละ 1 ดอก ดอกไมด ก พนั ธุราษฏรบ รู ณะ ทรงพมุ เล็กกวา คอ นขางทบึ ปลายใบเรยี ว เลก็ ชวงขอใบ คอ นขางถี่ ดอกเล็ก เรียวแหลม มกั มีดอก 1 – 2 ชุดๆละดอก ดอกดก ทยอยใหด อก พนั ธชุ ุมพร คลา ยพันธรุ าษฏรบ ูรณะและทรงพุมโปรง กวา ใบเรยี วกวา สอี อนและบางกวา ขอ ใบถี่ ดอกเลก็ เรยี วแหลม ดอกมมี ากกวา 2 ชุดๆละ3ดอก ดอกดกมากแตทงิ้ ระยะออกเปน ชวงๆ วธิ ีการปลกู นยิ มปลูกในชว งตน ฤดฝู น ระยะปลกู ท่ีเหมาะสมคอื 70 x 90 เซนติเมตร หากจะปลกู มะลใิ หมีอายยุ นื ยาว ควรขดุ หลมุ ลึก กวา ง และยาวดานละ 50 เซนตเิ มตร ใสปยุ คอก ใบไมผ ุหรอื ปยุ หมกั และวสั ดอุ ื่นๆ ในอตั ราสว น 1:1:1 พรอ มกบั เตมิ ปุย ซุปเปอรฟอสเฟต (0 -46 -0)และปยุ ผสม สตู ร 15 -15 -15 อยา งละ 1 กํามอื คลกุ เคลา ใหเ ขา กนั แลว ใสก ลบั ลงไปในหลมุ ใหม ทง้ิ ไวป ระมาณ 7-10 วนั จึงนาํ เอาตน มะลิทซี่ ื้อมาหรือไดจากการปก ชําลงปลกู กลุมสือ่ สงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปลูกผกั และไมดอก 14 การดูแลรักษา การใหน ํา้ มะลจิ ะตอ งการน้ําพอสมควร การใสปุย ใหใ ชปุย สูตร 15 -15 -15 หรอื 16 -16 -16 อัตราการใสป ุยข้นึ อยกู ับ ขนาดของทรงพมุ ใสเดอื นละครง้ั โดยการหวานและรดน้าํ ตาม การตดั แตง หลังจากปลกู มะลิไปนานๆแลว มะลจิ ะแตกกง่ิ กา นสาขามากมาย ควรตดั แตท รงพมุ ใหโ ปรง การปอ งกนั กําจดั ศัตรพู ืช เพลีย้ ไฟ เพลยี้ ไฟท้ังตวั ออนและตัวเตม็ วัยทําลายโดยการดดู นา้ํ เล้ยี ง โดยเฉพาะ ดอกและใบ ทาํ ใหดอกแคระแกรน เล็กลง ใบหงกิ งอเปน คลนื่ มสี ขี าวซดี หรือถา มกี ารทาํ ลายรนุ แรง สว นนนั้ ๆจะเปน รอยดา งสนี า้ํ ตาล เหยี่ วแหง การปอ งกนั กาํ จดั ถา มกี ารระบาดมาก และจําเปน ตอ งใชส ารเคมใี หใ ช ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ คือ สารคารโบซัลแฟน (พอสซ 20 % อีซี. ) อัตรา 30 - 50 ซีซี. ตอนาํ้ 20 ลิตร , สารโปรไธโอฟอส (โตกไุ ธออน 50 % อีซี. ) อตั รา 20 - 30 ซีซ.ี ตอ น้ํา 20 ลิตร เปน ตน หนอนเจาะดอกมะลิ ตัวหนอนเจาะเขาไปอาศยั กดั กนิ อยภู ายในดอกมะลิ โดยกดั กนิ เกสรดอกและกลีบดอกดานใน ทาํ ใหเหน็ กลบี ดอกดานนอกเปนรอยช้าํ เหี่ยวแหงและรว ง ตัวเมยี วางไขบ นกลีบดอกมะลิ หรือกา นกลีบเลี้ยง ยอดออ น ใบออน ตัวหนอนเมื่อฟก ออกมาเจาะ เขา ไปในดอกทนั ที ถา ถูกทาํ ลายต้ังแตยงั เปน ดอกเลก็ ก็จะเหย่ี วแหง เปนสีนา้ํ ตาลและรว งหลน กอ นท่ี จะเจริญเปน ดอกระยะสง ตลาด การปองกนั กาํ จัด สารเคมกี าํ จดั ทไี่ ดผล ไดแก สารไพรีทรอยสงั เคราะห เชน ไซเปอรเ มทรนิ (แอซคอรด 15 % อซี .ี ) อตั รา 30 ซซี .ี ตอ นา้ํ 20 ลติ ร ไซเปอรเ มทรนิ ( รพิ คอรด 15 % อซี .ี ) อัตรา 10 ซซี ี. ตอ นาํ้ 20 ลติ ร เปน ตน การเก็บเกยี่ ว ดอกมะลติ อ งเกบ็ ขณะดอกตมู มคี วามเจรญิ เต็มที่ มลี กั ษณะสีขาวนวล วิธเี กบ็ ใหใช มือเด็ดตรงกานดอกใตกลีบเล้ยี ง หมายเหตุ ใชสารเคมปี องกนั และกําจดั ศตั รพู ืชเทาทจ่ี าํ เปนเทา นั้น กลมุ ส่อื สงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผกั และไมดอก 15 ชบา พันธุ มีมากมายหลายพนั ธุ ปจจุบนั มีการผสมพฒั นาสายพนั ธชุ บาใหมๆ ออกมาใหได ปลกู เลนประดบั สวนอยูต ลอดเวลา ดอกชบามที งั้ ดอกซอ น และดอกรา หมายถึงกลบี ดอกเดยี วไมซ อ น ทง้ั ดอกเลก็ และดอกใหญ สกี ม็ หี ลากหลายทงั้ สแี ดง ชมพู แสด ขาว เหลอื ง มวง โดยจะมีเกสรอยู ตรงกลาง ชูต้งั ขน้ึ มาเหนือดอก นอกจากสายพันธทุ หี่ ลากหลายแลว ชบายังมแี ยกออกไปอกี เชน ชบาดิน ลักษณะเปนไมพมุ เตี้ยคลุมดนิ ตน จะทอดยาวไปกบั พน้ื ดนิ ชบาดาง แตกตางจากชบาอนื่ ตรงที่ใบจะมสี ขี าวดา งประปรายเปนลาย ขอบใบ หยิกเปน ฟน เลอื่ ย ดอกเด่ยี วสีแดงสด ชบาหนู ลําตน และดอกเล็ก เปน ไมกงึ่ เลื้อย ชบาหนูใหญ ใบลกั ษณะคลา ยใบชบาทว่ั ไป เปนไมพ ุมขนาดกลาง เวลาบานดอก จะมลี กั ษณะคลายรมทหี่ บุ ยงั ไมไ ดกางออก มสี แี ดงสด นอกจากนน้ั สายพนั ธุต า งประเทศทน่ี ยิ มในปจจบุ นั เชน ชบาออสเตรเลีย ซึง่ จุดเดน อยูทีส่ สี ันและความใหญของดอก สวนลกั ษณะตน เหมอื นชบาทว่ั ไป กลมุ ส่ือสง เสริมการเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมดอก 16 วิธีการขยายพันธุ การปกชํา เลอื กก่งิ ท่ีไมแกไ มออนเกนิ ไป ตดั เอาใบแกอ อกใหเ หลือ 2-3 ใบ แลวอาจ จุม นํา้ ยาเรงราก แลวนาํ ไปปก ชาํ ในถุงดําทใี่ สขี้เถาแกลบแลวรดนํา้ ใหช มุ นาํ ถงุ พลาสติกใหญส วมทบั ถงุ ชํา มัดปากถุงใหแ นน ตงั้ ทง้ิ ไวในรมประมาณ 1 เดือน รากกจ็ ะงอกออกมา จากนนั้ นาํ ไปปลูกใน กระถางทใ่ี สดนิ ไดเ ลย การดแู ลรักษา การใหน ้าํ รดนํ้าวันละ 1 – 2 คร้งั ในตอนเชา และตอนบาย หากเปน ชว งฤดูฝน ไมตองใหน้าํ บอ ย หากใหน ํ้าจนแฉะมากเกนิ ไปจะทาํ ใหร ะบบรากเนา ได การใหป ยุ ถาปลกู ในกระถางใสป ุย สูตรเสมอเชน 16-16-16 ประมาณ 10 เมด็ ตอ ตนตอครั้ง ประมาณ 10 วนั ตอ ครัง้ ใชวธิ ีการใสน อ ยๆแตบ อยคร้งั แสงแดด ถา ตอ งการใหช บาออกดอกดก ควรปลกู ไวกลางแดด แสงแดดมสี ว น ทาํ ใหดอกมีสสี วย และถา ตดั แตงกิง่ ทตี่ ิดดอก แลวออกกิง่ ใหมก จ็ ะไดด อกอีก แตถาตดั กิ่งแลวยงั แตก กง่ิ กับใบเพ่มิ ขน้ึ มา แตไมมีดอก อาจเนือ่ งจากใหน า้ํ มากเกนิ ไป การใหน า้ํ ตอ งใหแ ตพอดี ไมม ากไม- นอ ยเกนิ ไป ถา ไมมีดอกตอ งใหปุยชวยโดยสลบั ดว ยการใชป ยุ สตู รที่มฟี อสฟอรสั สูงเชน 12 – 24 – 12 , 8 – 24 – 24 เปน ตน การปอ งกนั กําจัดศัตรูพืช เพลย้ี ไฟ ไรแดง จะระบาดมากในชวงแลง มมี ดเปน พาหะนําเพลีย้ ขึน้ ตน ถาตดั มดไดก ต็ ัดวงจรเพลย้ี ได สวนไรแดง ใชสารสะเดาฉีดปอ งกัน เมอื่ เขา ฤดฝู น เพลี้ยไฟและไรแดง จะลด นอยลง นอกจากนน้ั ยงั อาจพบแมลงศัตรอู น่ื ๆ เชน หนอมมว นใบฝา ย หนอนคืบฝา ย เพลีย้ ออน หนอนเจาะลาํ ตน กาแฟ กลมุ สอ่ื สง เสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปลูกผกั และไมดอก 17 เขม็ พันธุ พนั ธุเข็มมหี ลายชนดิ เชน เขม็ แสด จะแตกหนอ เปน กอโต เปน พรรณไมทรงเตย้ี แคระ ลาํ ตน สูง ประมาณ 1 ฟตุ มีใบหนา แขง็ ซอน ชดิ ติดกัน ดอกจะดกและแนน ออกดอก เปนชอ กา นชอตง้ั ตรงยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ชอ หนง่ึ จะมดี อกราว 50 ดอก ดอกมีสสี มออ นจนถงึ สม แก มีเกสรเหน็ เปน จุดสดี ํา เขม็ แดง เปนพรรณไมต น เต้ีย ออกดอกตรงสวนยอดของตน กา นชอ ดอกจะตงั้ แตไ มแ ข็งเทา เขม็ แสด ยาวประมาณ 20 เซนตเิ มตร ดอกมีสีสมอมแดงหรือสแี ดงสดใส ปลายเกสรมี สีมว ง ดอกจะทนถงึ 2 สปั ดาหจะออกดอกราวเดือนเมษายน – พฤษภาคม เข็มเหลอื ง หรือทเี่ รยี ก เขม็ เศรษฐี เปน พรรณไมพ มุ มลี ําตน สงู ประมาณ 8 – 15 ฟตุ ออกดอกเปน ชออยตู ามสว นยอดของลําตน ดอกจะไมค อ ยดกนกั ชอดอกใหญป านกลาง ดอกจะมี หลายสี เชน สแี ดงสม สเี หลอื งแดงแสดและสแี ดงเลือดนก แตสว นใหญจ ะพบสีแดงเลือดนก วธิ ีการขยายพันธุ ขยายพนั ธดุ ว ยการตอน และปก ชาํ กงิ่ การดแู ลรกั ษา เปนไมทชี่ อบอยูกลางแจง ควรปลูกในดนิ รว นซยุ และมคี วามชนื้ พอเหมาะ ตอ งการ นํ้านอยถงึ ปานกลาง การปองกันกําจดั ศัตรูพชื ตน เขม็ ไมค อ ยมปี ญ หาเรอ่ื งโรคและแมลง แตอ าจพบการทําลายจากหนอนเขยี วหวาน หนอนมว นใบสม หรอื หนอนหอ ใบ หนอนปลอกเลก็ หมายเหตุ ใชส ารเคมปี องกนั และกาํ จดั ศตั รพู ชื เทา ทจ่ี ําเปน เทานั้น กลมุ สอ่ื สง เสริมการเกษตร สํานักพฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

การปลกู ผักและไมด อก 18 พดุ พันธุ มหี ลายพนั ธุ เชน พดุ จีบ ทรงตน คลา ยพดุ ซอ น เปน พรรณไมพมุ เตย้ี ทรงพมุ หนาแนนและ ทึบ สงู ประมาณ 4 - 8 ฟตุ เมื่อเดด็ ใบดู จะมยี างสีขาวๆไหลซึมออกมา จะออก ดอกตามงา มกงิ่ ใกลๆกับยอด ซง่ึ จะ ออกเปน ชอๆหนึ่งมีดอกประมาณ 10 -15 ดอก และจะบานทีละดอกเทานน้ั กลบี ดอกจะซอ นกันอยู 3 ชน้ั ๆละ 5 กลบี ดอกมีสขี าว ดอกจะดก มกี ลิ่นหอมออ นๆ พุดซอ น มลี กั ษณะตน คลายพุดจบี แตจ ะไมม ยี างสขี าวอยูในตน และใบเหมอื น พดุ จบี สว นมากจะออกดอกเปน ดอกเด่ียว อยูตามงา มก่ิงตอนใกลๆ กบั ตรงสวนยอด ลกั ษณะของดอก เหมือนๆกับดอกพดุ จบี ดอกมีสขี าว และกลีบดอกจะซอ นกนั หลายชน้ั มกี ลิน่ หอมออ นๆ พุดตะแคง เปน พรรณไมพ มุ ยืนตน ขนาดเตี้ยๆ มลี าํ ตน สูงประมาณ8ฟตุ ดอกออกเปน ชออยูตามปลายกง่ิ ลักษณะดอกจะคลายๆดอกมะลิ แตจ ะผดิ กนั ทต่ี รงสเี ทา นนั้ คอื เมอื่ ดอกบานใหมๆ จะมสี ีเหลอื งนวล แตพอบานเตม็ ทีแ่ ลว จะเปนสีขาว กลีบแตล ะกลบี จะบิดงอตะแคงตามกนั เหมือน กงั หนั ดอกมีกลิ่นหอมแรง จะผลิดอกตลอดป แตจ ะดกมากในฤดฝู น วธิ ีการขยายพันธุ ขยายพนั ธุดว ยการตอน การเพาะเมล็ด และการปกชาํ การดูแลรกั ษา เปน พรรณไมกลางแจง ชอบแสงแดดจัด แตก ส็ ามารถอยูในทร่ี มราํ ไรได ขนึ้ ไดดใี น ดินทร่ี ว นซยุ และมคี วามชมุ ช้ืนพอสมควร ตอ งการนา้ํ ปานกลาง การปอ งกนั กําจัดศัตรพู ชื ตน พดุ ไมค อ ยมีปญ หาเรื่องโรคและแมลง แตอาจพบการทาํ ลายของเพล้ยี หอย หมายเหตุ ใชสารเคมปี อ งกนั และกําจดั ศัตรูพืชเทาทจี่ ําเปนเทาน้นั กลมุ สอื่ สง เสรมิ การเกษตร สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

เรียบเรยี ง กลุมสงเสรมิ การผลติ ผกั กลุมสง เสรมิ การผลติ ไมดอกไมประดับ กลุมงานอนุบาลและขยาย จดั ทํา กลุมสอ่ื สง เสริมการเกษตร สํานกั งานเกษตรกรุงเทพมหานคร กรมสงเสรมิ การเกษตร จํานวนพิมพ 5,000 ฉบบั ธนั วาคม 2548 ทม่ี า เอกสารคาํ แนะนาํ : การปลกู ผักและไมดอก กรมสงเสรมิ การเกษตร. 2548 จดั ทําและเผยแพรท างเวบ็ ไซตโดย กลุมส่อื สงเสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook