Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียงปลาย

เศรษฐกิจพอเพียงปลาย

Description: เศรษฐกิจพอเพียงปลาย

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ทช31001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หามจําหนา ย หนงั สือเรียนเลมนี้ จดั พิมพดว ยเงนิ งบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลิขสิทธ์เิ ปนของ สํานกั งาน กศน. สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที่ 21/2554

คํานาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการ จัดทําหนังสือเรียนชุดใหมนี้ข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนา ผูเ รยี นใหมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ตปิ ญ ญาและศักยภาพในการประกอบอาชพี การศกึ ษาตอ และสามารถดํารงชีวติ อยใู นครอบครวั ชมุ ชน สงั คมไดอยางมคี วามสุข โดยผเู รียนสามารถ นาํ หนงั สอื เรยี นไปใชใ นการเรยี นการสอนดว ยวธิ กี ารศกึ ษาคน ควา ดว ยตนเอง ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม รวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเม่ือศึกษาแลวยัง ไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษา หนงั สอื เรยี นนี้ โดยนาํ ความรไู ปแลกเปลยี่ นกบั เพอื่ นในชน้ั เรยี น ศกึ ษาจากภมู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ จากแหลงเรยี นรแู ละจากสอ่ื อืน่ ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการ ศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรว มมอื ทดี่ จี ากผทู รงคณุ วฒุ แิ ละผเู กย่ี วขอ ง หลายทานซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่ สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาคณะ ผเู รยี บเรียง ตลอดจนคณะผจู ัดทําทกุ ทา นทีไ่ ดใ หความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั หวงั วา หนงั สอื เรยี น ชุดน้ีจะเปน ประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคณุ ยงิ่ สํานกั งาน กศน.



สารบญั หนา คาํ นาํ คาํ แนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น โครงสรา งรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง บทท่ี 1 ความพอเพยี ง ........................................................................................1 บทท่ี 2 ชุมชนพอเพยี ง.........................................................................................7 บทที่ 3 การแกป ญ หาชมุ ชน................................................................................19 บทที่ 4 สถานการณของประเทศไทยและ สถานการณโลกกบั ความพอเพียง............................................................26 บรรณานุกรม .......................................................................................36 ภาคผนวก .......................................................................................40 คณะผูจดั ทาํ .......................................................................................42

คาํ แนะนําในการใชหนังสอื เรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน หนงั สอื เรยี นทจ่ี ดั ทาํ ขน้ึ สาํ หรบั ผเู รยี นทเ่ี ปน นกั ศกึ ษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สือเรยี นสาระ ผูเรยี นควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเ ขา ใจในหวั ขอ และสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสาํ คญั ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั และขอบขา ยเนอื้ หาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ี กําหนด และทํากิจกรรมตามกําหนด แลวตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามท่ีกําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใหเขาใจ กอนท่ีจะ ศกึ ษาเรอ่ื งตอๆ ไป 3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมทายเร่อื งของแตล ะเร่ือง เพ่ือเปน การสรปุ ความรู ความเขาใจ ของเน้อื หาในเรอื่ งน้ันๆ อีกครั้ง และการปฏิบตั ิกจิ กรรมของแตละเนอ้ื หา แตล ะเรื่อง ผูเ รียน สามารถนําไปตรวจสอบกับครแู ละเพอ่ื นๆ ท่ีรวมเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดียวกันได หนังสือเรยี นเลม นมี้ ี 4 บท บทที่ 1 ความพอเพยี ง บทท่ี 2 ชุมชนพอเพียง บทที่ 3 การแกป ญ หาชมุ ชน บทที่ 4 สถานการณข องประเทศไทยและสถานการณโลกกบั ความพอเพียง

โครงสรา งรายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทช31001 สาระสําคัญ เศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรชั ญาท่พี ระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ทรงพระราชดาํ รัส ช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินชีวิตไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก า วทนั ตอ โลกยคุ โลกาภวิ ตั น ความ พอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถงึ ความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งมีระบบ ภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตอผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอก และภายใน ทั้งน้ีจะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิ่งใน การนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสรมิ สรา งพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาตใิ หม ีสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสตั ยส ุจรติ และ ใหม ีความรอบรูทเ่ี หมาะสมดาํ เนนิ ชีวิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ตปิ ญ ญาและความ รอบคอบ เพื่อใหสมดลุ และพรอ มตอ การรองรบั การเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ และกวา งขวาง ทง้ั ดา นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ มและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยางดี ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง 1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ 3. เห็นคณุ คาและปฏิบัติตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 4. ปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา งในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใน ชมุ ชน 5. แนะนาํ สง เสรมิ ใหส มาชกิ ในครอบครวั เหน็ คณุ คา และนาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ติ 6. มสี ว นรว มในชุมชนในการปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ความพอเพยี ง บทท่ี 2 ชุมชนพอเพียง บทที่ 3 การแกปญหาชมุ ชน บทท่ี 4 สถานการณข องประเทศไทยและสถานการณโลกกบั ความพอเพยี ง



บทที่ 1 ความพอเพียง สาระสาํ คญั เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน ปรชั ญาทยี่ ดึ หลกั ทางสายกลาง ทช่ี แ้ี นวทางดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ิ ของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแตครอบครัวไปจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหาร ประเทศ ใหดําเนินไปในทางสายกลางมีความพอเพียง และมีความพรอมท่ีจะจัดการ ตอ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ซง่ึ จะตอ งอาศยั ความรู ความรอบคอบ และระมดั ระวัง ในการวางแผน และดาํ เนินการทกุ ขั้นตอน เศรษฐกจิ พอเพยี งไมใ ชเ พอื่ การ ประหยดั แตเปนการดําเนินชีวิตอยา งสมดลุ และยั่งยืน เพื่อใหส ามารถอยูไดแ มใ นโลกโลกา ภิวัฒนท ม่ี กี ารแขงขันสงู ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั นกั ศกึ ษามคี วามรคู วามเขา ใจ และวเิ คราะหแ นวคดิ หลกั การปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได ขอบขา ยเน้ือหา เร่อื งท่ี 1 ความเปนมา ความหมาย หลกั แนวคดิ เร่อื งที่ 2 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรอื่ งที่ 3 การจดั การความรู

2 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) เรอื่ งที่ 1 ความเปน มา ความหมาย หลกั แนวคิด พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชไดพ ฒั นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อที่จะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขา ถงึ ทางสายกลางของชวี ติ และเพอ่ื คงไวซง่ึ ทฤษฎีของการ พฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ทฤษฎนี เ้ี ปน พน้ื ฐานของการดาํ รงชีวิตซ่งึ อยูร ะหวา ง สังคมระดับทอ งถ่ินและ ตลาดระดับสากล จดุ เดน ของแนวปรชั ญานค้ี อื แนวทางทส่ี มดุล โดยชาตสิ ามารถทันสมยั และกา วสคู วามเปน สากลได โดยปราศจากการตอ ตา นกระแสโลกาภวิ ฒั น ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง มีความสําคญั ในชว งป พ.ศ. 2540 เมื่อปท ป่ี ระเทศไทยตอ งการรกั ษาความมัน่ คง และเสถียรภาพเพ่ือที่จะยืนหยัดในการพ่ึงตนเองและพัฒนานโยบายท่ีสําคัญเพ่ือการฟนฟู เศรษฐกจิ ของประเทศโดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได ซึ่งคนไทยจะสามารถ เลีย้ งชพี โดยอยูบ นพืน้ ฐานของความพอเพยี งพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวมีพระราชดาํ รวิ า “มนั ไมไ ดม คี วามจาํ เปน ทเี่ ราจะกลายเปน ประเทศอตุ สาหกรรมใหม (NIC)” พระองคไ ดท รง อธบิ ายวา ความพอเพียงและการพ่งึ ตนเอง คอื ทางสายกลางท่จี ะปอ งกันการเปลยี่ นแปลง ความไมม ่ันคงของประเทศได เรอ่ื งท่ี 2 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง “ การพฒั นาประเทศจาํ เปนตอ งทําตามลําดบั ข้นั ตอ งสรา งพ้ืนฐาน คอื ความพอมี พอกนิ พอใชข องประชาชนสว นใหญเ ปน เบอ้ื งตน กอ น โดยใชว ธิ กี ารและใชอ ปุ กรณท ปี่ ระหยดั แตถ กู ตอ งตามหลกั วชิ าเมอื่ ไดพ น้ื ฐานมน่ั คงพรอ มพอควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ ลว จงึ คอ ยสรา งคอ ย เสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกจิ ขน้ั ทสี่ งู ขนึ้ โดยลาํ ดบั ตอ ไป หากมงุ แตจ ะทมุ เทสรา งความ เจรญิ ยกเศรษฐกจิ ขนึ้ ใหร วดเรว็ แตป ระการเดยี ว โดยไมใ หแ ผนปฏบิ ตั กิ ารสมั พนั ธก บั สภาวะ ของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ งดวย กจ็ ะเกดิ ความไมสมดุลในเรื่องตา งๆ ข้นึ ซ่ึงอาจกลายเปน ความยงุ ยากลมเหลวไดใ นทสี่ ุด” พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ณ หอประชมุ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร วนั พฤหสั บดที ี่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 “คนอนื่ จะวา อยา งไรกช็ า งเขาจะวา เมอื งไทยลา สมยั วา เมอื งไทยเชย วา เมอื งไทยไมม ี สิง่ ใหมแ ตเ ราอยู อยา งพอมพี อกนิ และขอใหท ุกคนมคี วามปรารถนาทีจ่ ะใหเ มอื งไทยพออยู พอกนิ มคี วามสงบชว ยกันรกั ษาสวนรว ม ใหอยูทีพอสมควร ขอยํา้ พอควร พออยพู อกิน มี ความสงบไมใ หคนอน่ื มาแยง คณุ สมบตั ไิ ปจากเราได” พระราชกระแสรบั สงั่ ในเรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี งแกผ เู ขา เฝา ถวายพระพรชยั มงคล เนอื่ งในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาแตพ ุทธศกั ราช 2517 “การจะเปน เสอื นนั้ มนั ไมส าํ คญั สาํ คญั อยทู เ่ี ราพออยพู อกนิ และมเี ศรษฐกจิ การเปน อยแู บบพอมพี อกนิ แบบพอมพี อกนิ หมายความวา อมุ ชตู วั เองได ใหม พี อเพยี งกบั ตวั เอง ” พระราชําดํารัส “เศรษฐกิจแบบพอเพียง” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช พระราชทาน เมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 3 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีทรงปรับปรุงพระราชทานเปนท่ีมาของนิยาม “3 หว ง 2 เงอ่ื นไข” ทคี่ ณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาํ นกั งานคณะกรรมการ พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ นาํ มาใชใ นการรณรงคเ ผยแพร ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผา นชองทางตางๆ อยูใ นปจ จุบัน ซงึ่ ประกอบดวยความ “พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี ูมิคมุ กัน” บนเง่อื นไข “ความรู และ คณุ ธรรม” อภชิ ยั พนั ธเสน ผอู าํ นวยการสถาบนั การจดั การเพอ่ื ชนบทและสงั คม ไดจ ดั แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงวาเปน “ขอเสนอในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของ พุทธธรรมอยางแทจริง” ทั้งนี้เน่ืองจากในพระราชดํารัสหน่ึง ไดใหคําอธิบายถึง เศรษฐกิจ พอเพยี งวา “คอื ความพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโ ลภมาก และตอ งไมเบยี ดเบยี นผอู ่นื ” ระบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง มงุ เนน ใหบ คุ คลสามารถประกอบอาชพี ไดอ ยา งยงั่ ยนื และ ใชจ า ยเงนิ ใหไ ดม าอยา งพอเพยี งและประหยดั ตามกาํ ลงั ของเงนิ ของบคุ คลนนั้ โดยปราศจาก การกหู น้ยี ืมสนิ และถา มเี งนิ เหลอื กแ็ บง เกบ็ ออมไวบ างสว น ชวยเหลอื ผูอ่ืนบางสวน และ อาจจะใชจ า ยมาเพ่ือปจจยั เสรมิ อกี บางสวน (ปจจัยเสรมิ ในทน่ี ้ีเชน ทอ งเท่ียว ความบนั เทิง เปน ตน ) สาเหตทุ แี่ นวทางการดาํ รงชวี ติ อยา งพอเพยี ง ไดถ กู กลา วถงึ อยา งกวา งขวางในขณะ นเี้ พราะสภาพการดาํ รงชวี ติ ของสงั คมทนุ นยิ มในปจ จบุ นั ไดถ กู ปลกู ฝง สรา ง หรอื กระตนุ ให เกิดการใชจายอยางเกินตัวในเรื่องท่ีไมเก่ียวของหรือเกินกวาปจจัยในการดํารงชีวิต เชน การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบความสวยความงาม การแตงตัวตาม แฟชั่น การพนันหรอื เสีย่ งโชค เปน ตน จนทาํ ใหไ มมีเงนิ เพียงพอเพอื่ ตอบสนองความตอง การเหลาน้นั สง ผลใหเกิดการกหู น้ยี ืมสนิ เกดิ เปน วฏั จกั รทบี่ ุคคลหนง่ึ ไมสามารถหลดุ ออก มาได ถาไมเ ปลย่ี นแนวทางในการดํารงชีวติ ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน เง่อื นไขความรู เง่อื นไข คณุ ธรรม (รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง) (ซื่อสตั ย สุจรติ ขยนั อดทน แบงปัน) ชวี ติ เศรษฐกิจ สังคม สมดลุ ม่นั คง ย่ังยืน

4 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) เศรษฐกิจพอเพียง คือการยดึ หลกั 5 ประการ ทส่ี าํ คญั ในการดาํ เนินการไดแก 1. ทางสายกลางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ตง้ั แตร ะดบั ครอบครวั ชมุ ชน และระดบั รฐั รวมถงึ เศรษฐกจิ ในทกุ ระดบั 2. มีความสมดุล มีความสมดุลระหวางคน สังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ มี ความสมดุลในการผลติ ท่หี ลากหลาย ใชทรัพยากรทม่ี อี ยอู ยา งมีประสิทธิภาพ 3. มคี วามพอประมาณ ความพอเพียงในการผลิตและการบริโภค บนพ้นื ฐานของ ความพอประมาณอยางมีเหตุผล ไมขัดสน ไมฟุมเฟอย ในการใชทรัพยากรธรรมชาติและ เทคโนโลยที ม่ี ีความพอเพียง 4. มีระบบภมู คิ ุมกนั มีภูมิคมุ กันในการดาํ รงชวี ิต มสี ุขภาพดี มีศกั ยภาพ มที กั ษะ ในการแกไ ขปญ หาและมคี วามรอบรอู ยา งเหมาะสมพรอ มรบั ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง ทงั้ จากภายนอกและภายในประเทศ 5. รเู ทาทันโลก มคี วามรู มสี ตปิ ญญา ความรอบคอบ มคี วามอดทน มคี วามเพยี ร มจี ิตสาํ นกั ในคณุ ธรรม และความซอ่ื สตั ย นายแพทยปราชญ บุญยวงศวิโรจน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขบรรยายเรื่อง การขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงระดับชุมชนในลกั ษณะบูรณาการ เร่อื งที่ 3 การจัดการความรู แมวา การอธบิ าย ถงึ คุณลกั ษณะและเงือ่ นไขในปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะใชค าํ วา ความรู อนั เปน ทตี่ กลงและเขา ใจกนั ทวั่ ไป แตห ากพจิ ารณาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทไ่ี ดทรงพระกรุณาปรบั ปรุงแกไ ข และพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ใหน าํ ไปเผยแพร อยางละเอียดนั้น กลับพบคําวา “ความรอบรู” ซ่ึงกินความมากกวาคําวา “ความรู” คือ นอกจากจะอาศยั ความรใู นเชงิ ลกึ เกยี่ วกบั งานทจี่ ะทาํ แลว ยงั จาํ เปน ตอ งมคี วามรใู นเชงิ กวา ง ไดแกความรูความเขาใจในขอเท็จเก่ียวกับสภาวะแวดลอม และสถานการณท่ีเกี่ยวพันกับ งานทจี่ ะทําท้ังหมด โดยเฉพาะท่พี ระองคทานทรงเนน คือระบบชวี ิตของคนไทยอันไดแก ความเปน อยู ความตองการ วัฒนธรรม และความรสู าํ นกึ คิดโดยเบ็ดเสร็จ จงึ จะทํางานให บรรลเุ ปาหมายได การนําองคประกอบดานความรูไปใชในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชใน ทางธุรกจิ จงึ มิไดจ าํ กดั อยเู พยี งความรู ทีเ่ กยี่ วของกับมติ ทิ างเศรษฐกิจ ที่คาํ นึงถึงความ อยูรอด กําไร หรือการเจริญเติบโตของกิจการแตเพียงอยางเดียว แตรวมถึงความรูที่ เกี่ยวของกับมิติทางสังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมของคนในทองถิ่นนั้นๆ สอดคลอง ตามหลัก การไมตดิ ตํารา เชน ไมควรนําเอาความรจู ากภายนอก หรือจากตางประเทศ มา ใชก ับประเทศไทยโดยไมพิจารณาถึงความแตกตาง ในดานตา งๆอยา งรอบคอบระมัดระวงั

หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 5 หรือไมค วรผูกมัดกบั วชิ าการทฤษฎี และเทคโนโลยที ไ่ี มเ หมาะสมกบั สภาพชวี ติ และความ เปน อยทู แ่ี ทจ รงิ ของคนไทยและสงั คมไทย ยง่ิ ไปกวา นน้ั ความรู ทป่ี รากฏในปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยงั ประกอบไปดว ย ความระลกึ ร(ู สต)ิ กบั ความรชู ดั (ปญ ญา) ซงึ่ ถอื เปน องคป ระกอบสาํ คญั ทวี่ ชิ าการหรอื ทฤษฎี ในตะวนั ตกท่เี กี่ยวกบั การ”จัดการความรู ยังไมค รอบคลมุ ถงึ หรือยังไมพ ัฒนากา วหนา ไป ถึงขั้นดังกลาว จึงไมมีแนวคิด หรือเคร่ืองมือทางการบริหารจัดการความรูใดๆ ที่มี ความละเอียดลกึ ซงึ้ เทา กับท่ีปรากฏอยูในปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงอีกแลว พพิ ฒั น ยอดพฤตกิ าร ไดก ลา วไวใ นบทความ เรอ่ื งทม่ี กั เขา ใจผดิ เกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง วาเศรษฐกจิ พอเพียงมรี ากฐานมาจากแนวคดิ ในการสรา งความ “พอม”ี (คือการ ผลิต) “พอกนิ -พอใช” (การบริโภค)ใหเกดิ ข้นึ แกป ระชาชนสวนใหญข องประเทศ เพราะถา ประชาชนสว นใหญข องประเทศยงั ยากไรข ดั สน ยงั มชี วี ิตความเปนอยูอยา งแรนแคน การ พัฒนาประเทศกย็ ังถือวา ไมประสบความสําเรจ็ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สําหรบั คนทกุ กลุม มใิ ชแคเ กษตรกร การสรา งความความ “พอกิน-พอใช” ในเศรษฐกิจพอเพยี งนี้ มุงไปทปี่ ระชาชนในทกุ กลมุ สาขาอาชพี ที่ยังมีชีวิต แบบ “ไมพอกิน-ไมพอใช” หรือยังไมพอเพียง ซึ่งมิไดจํากัดอยูเพียงแคคนชนบท หรือ เกษตรกร เปนแตเพยี งวา ประชาชนสวนใหญของประเทศทีย่ งั ยากจนนน้ั มีอาชพี เกษตรกร มากกวาสาขาอาชีพอื่น ทําใหความสําคัญลําดับแรกจึงมุงเขาสูภาคเกษตรหรือชนบทที่ แรน แคน จนมรี ปู ธรรมของการประยกุ ตป รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งออกมาเปน เกษตรทฤษฎใี หม อันเปนที่ประจักในความสําเร็จของการยกระดับชีวิตความเปนอยูของเกษตรกรให “พอมี” “พอกิน-พอใช” หรือสามารถพงึ่ ตนเองได ในหลายพน้ื ท่ีทั่วประเทศ 

6 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) กจิ กรรมท่ี 1 1. ใหน กั ศึกษาแบง กลมุ แลกเปล่ยี นและวิเคราะหประเดน็ ภายในกลมุ แลว เลือกผแู ทนกลุม ออกมานาํ เสนอ ตามใบงานตอ ไปนี้ ใบงานที่ 1 1. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึงอะไร ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... 2. เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทา นสามารถปรับใชใ นการดําเนินชวี ติ อยางไร ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... .....................................................................................................................

บทที่ 2 ชุมชนความพอเพยี ง สาระสําคัญ ชุมชนท่ีมีความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ เปนกําลัง สาํ คัญในการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพยี ง นกั วชิ าการหลายทา นไดศ กึ ษาและวเิ คราะหเ รือ่ ง การพฒั นาชมุ ชน เพื่อมงุ สูก ารเปนชุมชนที่พอเพียง รวมทั้งตัวอยางของชุมชนพอเพียงที่ ประสบความสําเร็จ และตัวอยางของชุมชนพอเพียงดา นพลังงาน ผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง 1. นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ าย และวเิ คราะหก ารบรหิ ารจดั การชมุ ชน องคก รตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. อธบิ ายการบรหิ ารจดั การชุมชน องคก ร และประยกุ ตใ ชในการดาํ เนินชีวติ อยา ง สมดุล พรอมรับตอ การเปลยี่ นแปลงของชุมชนได ขอบขายเน้ือหา เรอื่ งที่ 1 ความหมายโครงสรา งของชมุ ชน เร่ืองท่ี 2 การพัฒนาชมุ ชน

8 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) เรื่องที่ 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน ความหมายของชมุ ชน ชุมชน หมายถึงถนิ่ ฐานทอี่ ยขู องกลุม คน ถ่นิ ฐานนีม้ ี พื้นท่อี างองิ ได และกลุมคนนี้มกี ารอยอู าศยั รว มกัน มีการทาํ กิจกรรม เรียนรู ตดิ ตอ สื่อสาร รว มมอื และพึ่งพาอาศัยกัน มีวฒั นธรรมและภมู ปิ ญ ญาประจําถนิ่ มจี ติ วิญญาณ และความ ผูกพนั อยกู ับพ้ืนท่แี หงนน้ั อยภู ายใตการปกครองเดียวกัน โครงสรางของชุมชน ประกอบดวย 3 สว นคือ 1. กลมุ คน หมายถงึ การทคี่ น 2 คนหรอื มากกวา นน้ั เขา มาตดิ ตอ เกยี่ วขอ งกนั และ มปี ฏิสัมพนั ธตอ กนั ทางสังคมในชั่วเวลาหนง่ึ ดวย ความมุง หมายอยางใดอยางหนึง่ รว มกัน 2. สถาบันทางสงั คม เมื่อคนมาอยรู วมกนั เปนกลมุ แลว และมีวิวัฒนาการไปถงึ ขัน้ ตง้ั องคก รทางสงั คมแลว กจ็ ะมกี ารกาํ หนดแบบแผนของการปฏบิ ตั ติ อ กนั ของสมาชกิ ในกลมุ เพื่อสามารถดําเนนิ การตามภารกิจ 3. สถานภาพและบทบาทสถานภาพ หมายถึง ตําแหนงทางสังคมของคนในกลุม หรอื สงั คมบทบาท หมายถงึ พฤตกิ รรมทค่ี นในสงั คมตอ งทาํ ตามสถานภาพในกลมุ หรอื สงั คม เรื่องท่ี 2 การพัฒนาชมุ ชน ชุมชนที่มีความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ตองมี องคประกอบสําคัญหลายประการและสามารถพัฒนาหรือควบคุมองคประกอบเหลานั้นได โดยผศู ึกษาไวด งั น้ี มนี กั วชิ าการหลายทา นทไ่ี ดศ กึ ษาและวเิ คราะหอ งคป ระกอบการพฒั นา ชุมชนไวต ามแนวคดิ การพัฒนาชุมชน ดงั ตอ ไปนี้ สนทยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ไดกลา วถึงการพัฒนาชุมชนวา มอี งคประกอบ 2 ประการ สรุปไดด งั น้ี 1. การเขา มสี ว นรว มของประชาชนเอง เพอ่ื ทจี่ ะปรบั ปรงุ ระดบั ความเปน อยใู หด ขี นึ้ โดยจะตอ งพง่ึ ตนเองใหม ากทส่ี ดุ เทาทจ่ี ะเปน ได และควรเปน ความริเรม่ิ ของชุมชนเองดวย 2. การจัดใหมีการบริการทางเทคนิคและบริการอ่ืนๆ ท่ีจะเรงเราใหเกิดความคิด รเิ รม่ิ การชวยตนเอง 3. ชว ยเหลอื กนั และกนั อันเปน ประโยชนม ากท่ีสุด คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ (2539 : 1 – 2) ไดก ลา ว ถึงลักษณะการพฒั นาคนและสิ่งแวดลอ ม ซง่ึ อาจถอื วาเปน องคก ารพัฒนาชุมชนดว ย สรุป ไดด งั นี้ 1. การพฒั นาคนประกอบดว ย 4 ดานดังน้ี ดานจติ ใจ ดานรางกาย ดา นสติปญ ญา ดา นบุคลกิ ภาพ

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 9 2. การพัฒนาสภาพแวดลอ มใหเ อื้อตอ การพฒั นา ประกอบดว ย 4 ดานดังนี้ ดานเศรษฐกิจ ดานครอบครวั และชุมชน ดานทรัพยากรและส่งิ แวดลอม ดานการบรหิ ารจดั การและการเมอื ง สุพัตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ไดกลาวถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการ เปลี่ยนแปลงทางสงั คม ซึง่ เปน องคประกอบการพฒั นาชมุ ชน วา มี 7 ประการดงั น้ี 1. สง่ิ แวดลอ มทางธรรมชาติ หากมคี วามสมบรู ณจ ะสง ผลใหช มุ ชนมกี ารพฒั นาได รวดเรว็ และมนั่ คง 2. การเปล่ยี นแปลงดา นประชากร การเพมิ่ ประชากรทม่ี ีคณุ ภาพสามารถทําใหเกดิ การพัฒนาดา นเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งทีท่ ันสมัยขนึ้ 3. การไดอ ยโู ดดเดย่ี วและตดิ ตอ เกย่ี วขอ ง ชมุ ชนใดทม่ี กี ารตดิ ตอ กนั ทาํ ใหก ารพฒั นา เปน ไปอยา งรวดเรว็ 4. โครงสรางของสังคมและวัฒนธรรม ชุมชนท่ีมีการเคารพผูอาวุโสจะมีการ เปลี่ยนแปลงนอ ย คา นยิ มตา งๆ ชว ยใหร วู าชุมชนมกี ารเปล่ยี นแปลงเกิดการพัฒนาข้นึ มาก นอยเพียงไร 5. ทศั นคตแิ ละคา นยิ ม การมคี า นยิ มดา นอาชพี ดา นบรโิ ภค เปน สว นของการจดั การ พัฒนาในชุมชนน้นั ได 6. ความตอ งการรบั รู การยอมรบั สง่ิ ประดษิ ฐใ หมๆ จะเปน เครอ่ื งชที้ ศิ ทางและอตั รา การเปล่ียนแปลงของชุมชน 7. พน้ื ฐานทางวฒั นธรรม ถา มฐี านทด่ี สี ง่ิ ใหมท จ่ี ะเกดิ ขน้ึ ยอ มดตี ามพน้ื ฐานเดมิ ดว ย พลายพล คมุ ทรพั ย (2533 : 44 – 47) ไดก ลา วถงึ ปจ จยั ทส่ี ามารถใชใ นการพฒั นา ชุมชน ซ่งึ เปน องคป ระกอบการพัฒนาชมุ ชน วา ประกอบดว ย 3 ปจจัย ดังน้ี 1. โครงสรางทางสังคม ครอบครัวที่มีขนาดเล็กและมีโครงสรางไมซับซอนจะสง ผลใหช ุมชนนน้ั พฒั นาไดด กี วาชมุ ชนทม่ี ีโครงสรา งทางครอบครัวที่ซบั ซอน 2. โครงสรางทางชนช้ัน ในชุมชนที่มีโครงสรางแบบเปด ที่สามารถเปล่ียนแปลง ฐานะทางสงั คมไดง า ย ชุมชนนั้นจะเกิดการพฒั นา 3. ความแตกตางทางเผาพันธุ เชอื้ ชาติ และศาสนา ความแตกตางหากเกดิ ข้ึนใน ชมุ ชนใดยอมเปนอปุ สรรคตอการพฒั นา ตามลําดบั ความแตกตา ง ยุวัฒน วฒุ เิ มธี (2531 : 58 – 63) กลา วถงึ ปจ จัยท่ีเก้ือกลู ใหการพัฒนาชนบท บรรลุความสําเร็จ จําเปนตอการพัฒนา วาดวยองคประกอบ และสวนประกอบยอยของ องคป ระกอบ ดงั น้ี 1. นโยบายระดบั ชาติ ฝา ยบรหิ ารจะสามารถดาํ เนนิ การแผนพฒั นาไดต อ เนอื่ ง และ

10 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) มีเวลาพอท่ีจะเห็นความถูกตอง คุมคา มีแนวทางประสานประโยชนระหวางรัฐและเอกชน และความรวมมอื ระหวางประเทศจะตอ งเก้อื กูลตอ การพฒั นา 2. องคการบริหารการพัฒนาชนบท ที่มีองคกรกลางทําหนาท่ีประสานนโยบาย แผนงานและโครงการอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและมอี าํ นาจเดด็ ขาดในการลงทนุ ในหนว ยปฏบิ ตั ิ ตองดําเนนิ การตามนโยบาย แผนงาน และโครงการในแผนระดบั ชาติ และจดั งบประมาณ การตดิ ตามควบคุมทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ 3. วทิ ยาการทเ่ี หมาะสมและการจดั การบรกิ ารทส่ี มบรู ณ เลอื กพน้ื ทแ่ี ละกลมุ เปา หมาย ทสี่ อดคลองกับความเปนจริง และเลือกวทิ ยาการทป่ี ระชาชนจะไดร ับใหเหมาะสม 4. การสนับสนนุ ระดับทอ งถนิ่ ความรบั ผิดชอบของการสนบั สนนุ งานในทองถ่ินท่ี มปี ระสทิ ธิภาพจะเกดิ การพฒั นาอยางแทจ ริงในระยะยาว 5. การควบคุมดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงาน ควรเปนไปตามแผนงานและ โครงการทุกระดับและครอบคลุมทุกพื้นท่ี พรอมทั้งใหสถาบันการศึกษาทองถิ่นติดตาม ประเมินผล อัชญา เคารพาพงศ (2541 : 82 – 83) กลาวถงึ ปจจัยสว นประกอบท่มี อี ิทธพิ ล ตอการพัฒนา สรปุ ไดดงั น้ี 1. ผนู ํา ไดแก ผูนาํ ทองถน่ิ ท้งั เปน ทางการและไมเ ปนทางการในหมูบาน และจาก องคก รภาครฐั มสี ว นใหช มุ ชนพฒั นาในทางทดี่ ขี นึ้ เปน ประโยชน ชมุ ชนมเี จตคตทิ ดี่ ยี อมรบั สิง่ ใหมแ ละสรางพลงั ตอสเู พ่ือการเปลี่ยนแปลง 2. สงั คม – วฒั นธรรม การไดร ับวฒั นธรรมจากสงั คมเมืองมาปฏิบัตทิ าํ ใหชุมชน เกิดการเปลีย่ นแปลง 3. สง่ิ แวดลอ ม การปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ มภมู ศิ าสตรช มุ ชน สง ผลใหท ด่ี นิ อดุ มสมบรู ณ ราคาสินคา เกษตรดี ความเปนอยูส ะดวกสบายกวา เดิม 4. ประวตั ศิ าสตร เหตกุ ารณส าํ คญั ในอดตี มผี ลตอ การพฒั นาความสามคั คี รกั พวกพอ ง ชวยเหลือซึ่งกนั และกนั ปรยี า พรหมจนั ทร (2542 : 25) ไดส รปุ องคป ระกอบทเ่ี ปน ปจ จยั การพฒั นาชมุ ชน ไดด ังน้ี 1. ดานเศรษฐกิจ ชุมชนทีเ่ ศรษฐกิจดีการพัฒนาชมุ ชนสามารถพฒั นาไดดีดว ย 2. ดา นสังคม วัฒนธรรม และส่งิ แวดลอม เปน บริบททป่ี รับเปลีย่ นสภาพชมุ ชนไป ตามปจจยั 3. ดา นการเมอื ง หมายรวมถงึ การเมืองระดบั ชาติและชมุ ชนระดับทองถนิ่ 4. ดานประวัติศาสตร โดยอาศัยประสบการณและวิกฤตของชุมชนเปนฐานและ บทเรยี นการพัฒนาชุมนุม นอกจากนี้ปรียา พรหมจันทร ยังไดจําแนกออกเปนองคประกอบท่ีเปนปจจัยการ

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 11 พัฒนาชุมชนปจ จัยโดยตรง เชน คน ทนุ ทรพั ยากร การจัดการ เปน ตน และปจจัยโดยออม เชน ภาวะเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง การปกครอง เปนตน ไพบูลย วัฒนศิริธรรม (2549) ไดกลาวถึงการสรางและพัฒนาคนรุนใหมเพื่อ พฒั นาชมุ ชนทอ งถน่ิ มปี จ จยั สาํ คญั 4 ประการ ซง่ึ ถอื เปน องคป ระกอบการพฒั นาชมุ ชน ดงั นี้ 1. สงั คมดี สง่ิ แวดลอมดี มีโอกาสในอาชพี และกจิ กรรมท่ีหลากหลาย รวมไปถงึ วถิ ชี วี ติ ศลิ ปวฒั นธรรม ความอบอนุ ความสขุ ความเจรญิ กา วหนา ทพ่ี งึ คาดหวงั ในอนาคตดว ย 2. ระบบการศึกษาของชาติ มีเปาหมายในการผลิตคนเพ่ือการพัฒนาชุมชนหรือ ทอ งถนิ่ ใหเ ปน ทพี่ งึ ปรารถนาของทองถิ่นเพยี งไร 3. รัฐธรรมนูญและนโยบายของรัฐ ที่เอื้อตอการพัฒนาชุมชนทองถ่ินใหเปนท่ีพึง ปรารถนานา อยู บทบาทของชมุ ชน มสี ง่ิ สาํ คญั 3 ประการ คอื ความรกั และความดี การเรยี นรู ท่ีมากกวาความรู และการจดั การกบั ปจจัยชมุ ชนตา งๆ กิจกรรมทชี่ มุ ชนตองรับผดิ ชอบคือ - ต้ังคณะกรรมการบริหาร - ประเมนิ สภาพของชมุ ชน - เตรียมแผนการปฏิบตั ิ - หาทรพั ยากรท่จี าํ เปน - ทําใหแ นใจวากจิ กรรมของชุมชนท้ังหมด จะตอ งมกี ารติดตามและการบรหิ ารท่มี ี ประสทิ ธิภาพสงู สดุ สาํ หรบั การปฏบิ ตั งิ าน แบบจําลองชุมชนทม่ี กี ารบริหารจัดการท่ีดี

12 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) แผนชมุ ชนทีม่ ีพลงั กระบวนการชุมชน 1. วิเคราะหช ุมชน 2. การเรียนรแู ละการตัดสินใจของชุมชน 3. การวางแผนชมุ ชน 4. การดาํ เนนิ กิจกรรมชุมชน 5. การประเมินผลการดาํ เนินงานของชุมชน องคประกอบการขับเคล่อื นชมุ ชน 1. โครงสรา งพื้นฐานทางสงั คมของชุมชน 2. ความคิดพื้นฐานของประชาชน 3. บรรทดั ฐานของชุมชน 4. วิถปี ระชาธปิ ไตย

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 13 ตวั อยา งชมุ ชนพอเพยี งทีป่ ระสบความสาํ เรจ็ กดุ กะเสยี น วนั น้ที ย่ี ม้ิ ได เวลาติดขัดก็ไปกู...เขามาทําทุน พอหาได ขายไดก็เอาไปฝาก...เขา” เขาในความ หมาย ของคนในชุมชนกดุ กะเสยี น คือ สถาบันการเงนิ ชมุ ชนกดุ กะเสยี นรว มใจ ทามกลางภาวะเศรษฐกิจเงินเฟอพุง ดอกเบ้ียเพิ่ม ทั้งเงินกู เงินฝาก (ติดลบเม่ือ เทยี บกับเงินเฟอ ) ทกุ อยา งอยใู นชว งขาขึน้ (ราคา) จะมที ี่ลดลงคงเปนกาํ ลงั ใจประชาชนโดย เฉพาะคนเมอื ง ยม้ิ ฝนๆ เผชญิ ชะตาในยุคขาว(แก)ยาก นํา้ มนั แพงกันไป แตกตางจากคนในชุมชนบานกุดกะเสียน ต.เข่ืองใน อ.เข่ืองใน จ.อุบลราชธานี หมบู า นรางวลั พระราชทาน “เศรษฐกจิ พอเพยี ง อยเู ยน็ เปน สขุ ” สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า สยามบรมราชกมุ ารี ซง่ึ มนี ายสมาน ทวศี รี กาํ นนั ตาํ บลเขอ่ื งใน เปน ผนู าํ สรา งรอยยมิ้ ใหค นใน ชมุ ชน จากหมูบานท่ีมีอาชีพทํานาปละ 2 คร้ัง แตเนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ลุมมีนํ้า ทวมถึง ทําใหมีปญหานํ้าทวมนา จึงตองหาปลาแลกขาว ตอมาประกอบอาชีพคาขาย สยี อมผา ทาํ ใหม ปี ญ หาหน้สี ินเพราะตองไปกูน ายทนุ ดอกเบยี้ สูง

14 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) แตสภาพในปจจบุ นั ของกดุ กะเสยี น ผคู นยิ้มแยม แจม ใจ เนอ่ื งจากเศรษฐกจิ ของ หมบู า นดขี นึ้ มาก สบื เนอ่ื งจากการรเิ รมิ่ ของผนู าํ ชมุ ชนทเ่ี หน็ ปญ หาของหมบู า น จงึ ไดส ง เสรมิ ใหม กี ารตงั้ กลมุ ออมทรพั ยจ นกระทงั่ พฒั นามาเปน ธนาคารกดุ กะเสยี นรว มใจ โดยการปลอ ย สินเช่ือในอัตราดอกเบี้ยต่ําใหคนในชุมชนไปประกอบอาชีพ อาชีพหลักทํานา คาขาย เฟอรน ิเจอร เครือ่ งใชไ ฟฟา ชดุ เคร่ืองนอน ชุดเครื่องครัว ฯลฯ ท้ังมกี ารรวมกลุมอาชพี กลมุ เลย้ี งโค กลมุ ทํานาํ้ ยาลางจาน นํ้ายาสระผม กลมุ เพาะเหด็ กลมุ เกษตรกรทาํ นา กลมุ จักสาน หน่งึ ในชมุ ชนตัวอยา งทกี่ รมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย คัดเลือกมา เปน ตน แบบในการสง เสรมิ การบรหิ ารการจดั การชมุ ชนใหเ ขม แขง็ อยา งยง่ั ยนื นายปรชี า บตุ รศรี อธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชนกลาววา ประเดน็ ยุทธศาสตรหนึง่ ในการสงเสริมการบรหิ ารการ จัดการชุมชน คือ การเพิ่มขีดความสามารถผูนําชุมชนเพ่ือใหผูนําชุมชนเปนกําลังหลักใน การบริหารการจดั การชมุ ชนใหช ุมชนเขมแข็งและพง่ึ ตนเองไดใ นท่สี ุด ยทุ ธศาสตรใ นการทํางานของกรมการพัฒนาชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดวย การพัฒนาทุนชุมชนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนใหเขมแข็ง การเพ่ิมขีดความสามารถผูนํา ชมุ ชนนาํ ขบั เคลอื่ นแผนชมุ ชน และการสง เสรมิ การจดั การความรชู มุ ชน บนพน้ื ฐานปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ มเี ปา หมายสรา งผนู าํ ชมุ ชน ระดบั แกนนาํ ทว่ั ประเทศจาํ นวน 691,110 คน ภายใน 4 ป ในป 2551ดาํ เนินการใน 217 หมูบ า นทัว่ ประเทศ เพื่อใหไ ดผ ูนําชุมชน ที่มี ภาวะผนู ํา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม องคความรู เปนกลมุ แกนนาํ ในการขบั เคลือ่ นและผลักดัน นโยบายของรฐั ในระดบั ชมุ ชน ใหม ที ศิ ทางการพฒั นาชมุ ชน สอดคลอ งกบั การพฒั นาประเทศ “สง่ิ ทที่ าํ ใหห มบู า นไดร บั การคดั เลอื กมาจากการดาํ เนนิ การทง้ั 6 ดา น ประกอบดว ย การลดรายจา ย เพมิ่ รายได การเรยี นรู อนรุ กั ษ เออ้ื อาทร และการประหยดั สงิ่ ทคี่ ณะกรรมการ มาดแู ลว ประทบั ใจทส่ี ดุ คอื สถาบนั การเงนิ ” นายสมานกลา ว ซง่ึ ไดน าํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 15 มาใชใ นการดําเนนิ การบริหารธนาคารชุมชน กดุ กะเสียนรว มใจ การประหยดั อดออม ออม เพื่อนําไปใชในการผลิต ไมนําไปใชฟุมเฟอย ใหกูโดยถือหลักความพอประมาณ ถือหลัก มีเหตมุ ีผล และมภี ูมคิ มุ กันในตวั ทดี่ ี ภายใตเ งอื่ นไขความรู คอื รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง และเงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทนและแบงปนปจจุบันมีเงินทุนหมุนเวียน ประมาณ 14 ลานบาท สมาชิกสถาบันการเงินชุมชน ประกอบดวยหมูท่ี 10,11,12 บานกุดกะเสียน ตําบลเขื่องใน ซึ่งมีสมาชิก 246 ครัวเรือน 285 คน มีจํานวนสมาชิก เงนิ ฝาก 464 คน “สรางผลดใี หช มุ ชน ผูกู กถู กู คนฝากไดด อกเบี้ยสงู ต้งั แตร อยละ 2 สงู สุดหากมี เงนิ ฝาก 5 แสนบาทขน้ึ ไปดอกเบย้ี รอ ยละ 5 บาทไมห กั ภาษดี อกเบยี้ กงู า ยกวา แตใ หก เู ฉพาะ คนในชุมชน เทาน้ัน สวนผูฝากนอกชุมชน ก็ฝากไดดอกเบี้ยเทาคนในชุมชน แตกูไมได ทาํ ใหป ระชาชนประหยดั ดอกเบย้ี เงนิ กไู ด ชมุ ชน กพ็ งึ พอใจ เสยี ดอกเบยี้ นอ ยกวา และยงั ได สวัสดิการกลับคืนสูชุมชน “ นายสมาน ทวีศรี ประธานกรรมการสถาบันการเงินชุมชน กดุ กะเสียนรวมใจกลาว ในมุมมองของคนในชุมชน บานกุดกะเสียนตางบอกเปนเสียงเดียวกันวาท่ีมี วนั นไี้ ดเ พราะ “ผนู าํ ด”ี เปน ผนู าํ ชมุ ชน ทเี่ ขม แขง็ นอกจากการยอมรบั ของคนในชมุ ชน แลว ยงั มรี างวลั มากมายรบั รอง อาทิ ผใู หญบ า นยอดเยยี่ มแหนบทองคาํ ป 2523 กาํ นนั ยอดเยยี่ ม แหนบทองคาํ ป 2546 ประกาศเกียรตคิ ณุ “คนดีศรอี ุบล” ป 2550 และรางวลั ผูน ําชมุ ชน ดีเดน ระดับเขตป 2550 ในฐานะท่เี ปนแกนนําสรางรอยยิม้ ใหชมุ ชน ตวั อยางของชมุ ชนพอเพยี งดา นพลังงาน ตลอด 3 ป (2549-2551) ของการเดนิ หนาโครงการจดั ทาํ แผนพลงั งานชุมชน 80 ชุมชน สนองพระราชดําริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานกั งานปลัดกระทรวงพลงั งาน ดวยมองเหน็ ศักยภาพชุมชนในการจดั การดา นพลังงานท่ี ชุมชนทําเองได ภายใตการบริหารจัดการทรัพยากรทองถิ่นที่สามารถนํามาเปลี่ยนเปน พลงั งานทดแทนใชในการดาํ เนนิ ชวี ติ นัน้ ทาํ ไดจริง “แผนพลงั งานชมุ ชน” คอื สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ทกุ ชมุ ชนทเ่ี ขา รว มในระยะเวลาทตี่ า งกนั พรอ มกับกลไกการทํางานรวมกัน ระหวางภาคชมุ ชนและภาควิชาการ โดยเฉพาะเจา หนาที่ พลงั งานจงั หวดั หรอื สาํ นกั งานพลงั งานภมู ภิ าค ซงึ่ เปน ตวั แทนกระทรวงพลงั งานไปเผยแพร ความรสู รา งความเขา ใจ “พลังงานเรอื่ งใกลตัว” และนาํ เสนอเทคโนโลยพี ลงั งานทางเลือก หรอื พลงั งานทดแทนหลากหลายประเภท ใหช าวบา นเลอื กนาํ ไปใชไ ดอ ยา งเหมาะสมกบั ความ ตองการ เพ่ือประโยชนสูงสุดของการใชพลังงานอยางคุมคา และไมทําลายส่ิงแวดลอม ปรากฏการณที่เกิดข้ึนในชุมชนสวนใหญท่ีเขารวม คือ การตอยอด หรือนําเทคโนโลยีท่ี กระทรวงพลงั งานนํามาใหน ั้น นาํ ไปประยุกตตอเพอื่ การใชงานท่สี ะดวก และสอดคลอ งกับ ความตอ งการของแตล ะคน แตล ะชมุ ชนทแี่ ตกตา งกนั การลองทาํ ลองใช ใหเ หน็ ผลกระจา ง ชัดแลว จึงบอกตอ

16 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) “สาธติ พรอ มอธบิ าย” จงึ เปน พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขนึ้ โดยอตั โนมตั ขิ องวทิ ยากรตวั คณู พลงั งาน หรอื นักวางแผนพลังงานชุมชนทไ่ี มห วงแหนความรู เกิดเครือขา ยวทิ ยากรตวั คูณ พลังงานข้ึนอยูในทุกกลุมคนของชุมชนไมวาจะเปนอันดับแรก คือ แกนนํา ตอมาคือ ชาวบานท่ีสนใจ และนําไปทําจริงจึงขยายผลตอกับเพ่ือนบานใกลเคียงหรือในหมูญาติมิตร กับอีกกลมุ คือ เยาวชนทเี่ ปน พลงั เสริมแตยัง่ ยืน ภาพท่ีเกิดข้ึนในชุมชนที่ทําตามแผนพลังงานชุมชนอยางแข็งขัน คือ เกิดการ เปลยี่ นแปลงวิถีชวี ิต สรา งวถิ ีพลงั งานชมุ ชนท่ไี ปไดด กี บั แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง จุดเดน ของเทคโนโลยพี ลงั งานท่ีถกู นําไปปรับใช ไมไ ดเ กิดประโยชนเ ฉพาะตวั ผปู ฏิบัติ แตยงั สราง ผลดีตอชุมชนคนรอบขาง และสังคมประเทศโดยรวมเมื่อเราสามารถสรางทางเลือกการใช พลงั งานทดแทนขึ้นไดเอง และมกี ารจัดการอยางครบวงจร การจัดการพลังงานอยางย่ังยืน จึงเกิดขึ้นไดภายใตสองมือของทุกคนท่ีชวยกัน ไมตองหว่ันวิตกกับภาวะความไมแนนอน ของนา้ํ มนั ทต่ี อ งนาํ เขา จากตา งประเทศอีกตอ ไป เมอื่ ยอมรบั วา พลงั งานเปน เรอื่ งใกลต วั การจดั การพลงั งานของชมุ ชนทชี่ ว ยเสรมิ สรา ง ความเขม แข็งชุมชนจึงเกดิ ขึ้นในหลายดา น อาทิ 1. ดานเทคโนโลยีพลังงานชุมชนเกิดผลชัดเจนในหลายตําบล ตัวอยางเชน ชาว อบต.พลับพลาชัย จ.สุพรรณบุรี สิ่งท่ีเกิดคือความคึกคักของชุมชนกับการเลือกใช เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน การทําถานอัดแทงจากข้ีเถาแกลบดําของโรงไฟฟาชีวมวลใน พืน้ ทคี่ ลา ยกนั กบั อบต.นาหมอบญุ จ.นครศรธี รรมราช ที่ อบต.และบรรดาแกนนาํ พรอ มใจ กันผลักดันเต็มที่ ทั้งคน เคร่ืองมือ และงบประมาณ ทําใหยังคงใชพลังงานเทาเดิมแต คา ใชจ า ยดา นพลงั งานกลบั ลดลงเรอ่ื ยๆ โดยมเี ทคโนโลยเี พอ่ื การจดั การพลงั งานในแบบเฉพาะ ของคนนาหมอบุญเปนเครือ่ งมือ 2. ดานการพัฒนาประชาธิปไตย (การมีสวนรวม) ตัวอยางเชน อบต.ถ้ํารงค อ.บานลาด จ.เพชรบุรี มีจุดเดนของการขยายผลแผนพลังงานชุมชน ผานกระบวนการ จดั ทาํ แผนพลงั ชมุ ชนทกุ ดา นเกดิ ขน้ึ จากการมสี ว นรว มของชาวชมุ ชน ทมี่ กี จิ กรรมพลงั งาน แทรกอยูในวิถีชีวิตประจําวัน และวิถีอาชีพที่เห็นตรงกันวาตองเปนไปเพ่ือการอนุรักษ พลงั งานดว ย เชน กจิ กรรมทอ งเทย่ี วชุมชนที่ใหใ ชจ ักรยานแทนการใชร ถยนต 3. ดา นการพฒั นาวิสาหกิจชุมชน (กลุมอาชีพดานพลังงาน) มี 7ชุมชนท่ไี ดร บั การนาํ เสนอวา เกิดรูปธรรมจริง คือ อบต.หนองแซง อ.หันคา จ.ชัยนาท อบต.หนองโพรง อ.ศรมี หาโพธิ จ.ปราจีนบรุ ี อบต.ตาออ็ ง อ.เมืองสุรินทร จ.สรุ ินทร อบต.กุดน้ําใส อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน อบต.กอ เอ อ.เขือ่ งใน จ.อบุ ลราชธานี อบต.ทุง อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี อบต. ทา ขาม อ.หาดใหญ จ.สงขลา ในทุกชุมชนเกิดอาชีพที่มาจากการตอยอดเทคโนโลยีพลังงานชุมชนออกมาเปน ผลิตภัณฑสินคาชุมชน ทํารายไดเปนอาชีพเสริม จากผลพวงการบริหารจัดการพลังงาน ทดแทนในชุมชนไมวาจะเปนถานจากก่ิงไมที่เคยไรคาถานผลไมเหลือทิ้งในบรรจุภัณฑเกๆ ใชดดู กลิน่ ในตูเยน็ นา้ํ สม ควันไมท่ีใชประโยชนไดส ารพัด

หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 17 ที่สําคัญหลายชุมชนเกิดกลุมอาชีพชางผลิตเตาเผาถาน เตาซูเปอรอ้ังโลประหยัด พลงั งาน เตาชวี มวล ในแบบทถ่ี กู ประยกุ ตใ หเ หมาะกบั การใชข องแตล ะพน้ื ที่ จาํ หนา ยใหก บั คนในตาํ บลและนอกพน้ื ท่ี 4. ดา นการศกึ ษา (กจิ กรรมการเรยี นการสอนดา นพลงั งาน) ชมุ ชนสว นใหญม อง ภาพความยั่งยืนดานการจัดการพลังงานชุมชน โดยมุงเปาหมายไปที่การปลูกฝงเด็กและ เยาวชน ในรว้ั โรงเรยี นและในชมุ ชนเกดิ ความรู ความเขา ใจวา เรอ่ื งพลงั งานเปน อกี ปจ จยั หนง่ึ ท่ีเก่ียวของในชีวิตประจําวันของทุกคน และมีพลังงานหลายชนิดสามารถบริหารจัดการให เกดิ ความยงั่ ยนื ไดจ ากทรพั ยากรทม่ี อี ยใู นชมุ ชนสรา งพฤตกิ รรมการใชพ ลงั งานอยา งรคู ณุ คา 5. ดา นการทอ งเทย่ี ว (ศนู ยก ารเรยี นรเู พอื่ เปน ทศ่ี กึ ษาดงู าน) มตี วั อยา ง 2 ชมุ ชน ท่ีทําเรื่องนอ้ี ยา งเขมขน คอื อบต.ดอนหญานาง อ.ภาชี จ.พระนครศรีอยุธยา เปน ชุมชนท่ี เนนการเลือกนําเทคโนโลยีพลังงานไปใชใหสอดคลองกับความตองการท่ีหลากหลายของ คนในชมุ ชน ซงึ่ มที ง้ั ทาํ นา ทาํ สวน และคา ขาย รวมทงั้ เดนิ หนา สรา งจติ สาํ นกึ ผา นการทาํ งาน กบั โรงเรยี น และนักเรยี นในพ้ืนที่หวงั การเรียนรทู ซี่ มึ ลกึ วาพลงั งาน คอื สวนหน่งึ ของชีวิตที่ ตอ งใสใ จและจดั การ จงึ เกดิ แหลง เรียนรจู ากการทาํ จรงิ กระจายอยทู วั่ ชุมชน 6. ดา นสขุ ภาวะและสง่ิ แวดลอ ม ผลอกี ดา นหนง่ึ ของการจดั การพลงั งานชมุ ชนไป ใชอ ยา งมเี ปา หมาย ดงั ตวั อยา ง ต.คอรมุ อ.พชิ ัย จ.อุตรดิตถ ทมี่ สี าํ นักงานพลงั งานภูมภิ าค ที่ 9 เขา มาเสริมตอแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ท่ีชมุ ชนทาํ อยูเดมิ อยา งเขม แขง็ น้ันใหมนั่ คง ย่งิ ข้นึ มกี ารอบรมทําปยุ อินทรยี  ซ่งึ การลดการใชส ารเคมีจะชว ยใหสขุ ภาพของคนในชมุ ชน และส่ิงแวดลอมดีข้ึน มีจุดเผยแพร ศนู ยเรยี นรพู ลังงาน มีการอบรมการทําไบโอเซล อบรม เผาถาน เปน ตน 7. ดานบัญชีพลังงานครัวเรือน การทําบัญชีคาใชจายดานพลังงานถือเปนหัวใจ หรอื จดุ เรม่ิ ตน ของการไดม าซงึ่ ขอ มลู ในการสรา งความรว มมอื หาทางออกของการประหยดั ลดคา ใชพ ลงั งาน แทบทกุ ชมุ ชนใชเ ปน เครอ่ื งมอื รวมทง้ั อบต.บางโปรง อ.เมอื งจ.สมทุ รปราการ ทสี่ ํานักงานพลงั งานภูมภิ าคที่ 1 ไดเขา ไปเชอ่ื มตอแนวทางการพฒั นาชุมชนในวิถเี ศรษฐกจิ พอเพียง ในแบบเฉพาะของสังคมกึ่งเมืองก่ึงอุตสาหกรรม ท่ีมีทรัพยากรท่ีจะแปลงมาเปน พลังงานทดแทนไดน้ันมีนอย ชุมชนจึงเดินหนาดวยการสรางจิตสํานึกกับเคร่ืองมือ “บญั ชพี ลงั งานครวั เรอื น” ทไี่ มต อ งลงทนุ เพราะทกุ คนทาํ ไดด ว ยตวั เองและทาํ ไดต ลอดเวลา นี่คือ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนจากการรูจักการบริหารจัดการและการใชพลังงาน ชมุ ชนอยางมีประสทิ ธิภาพ เปน วถิ ีพลงั งานชุมชนของคนพอเพียง ทก่ี ําลังขยายผลออกไป อยางกวางขวาง และเราทกุ คนสามารถมสี วนรว มได และเร่มิ ไดต ลอดเวลา เราสามารถชวย จดั การกบั ปญ หาพลงั งานใหห มดไปได เมอื่ เรารจู กั พง่ึ ตนองและใชช วี ติ ดว ยความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และมภี มู คิ มุ กนั อนั เปน หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทจ่ี ะนาํ ไปสกู ารจดั การ พลงั งานชมุ ชนอยางยัง่ ยืน

18 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) กจิ กรรมท่ี 2 ใบงานท่ี 2 จากขอ ความตอ ไปนี้ ใหผ ูเรยี น วเิ คราะหเขียนสง อาจารยป ระจาํ กลมุ และ นําเสนอ เพ่ือแลกเปลีย่ น “การโฆษณาในจอทวี ี และวทิ ยปุ จ จบุ นั ถา ยงั โฆษณากนั อยา งบา เลอื ดอยอู ยา งน้ี จะ ไปสอนใหค นไมซ อ้ื ไมจ า ย และใหบ รโิ ภคตามความจาํ เปน ไดอ ยา งไร ในเมอ่ื ปลอ ยใหม กี ารกระ ตนุ การบรโิ ภคแบบเอาเปน เอาตายอยเู ชน น้ี ผคู นกค็ ดิ วา อะไรทต่ี วั เองตอ งการตอ งเอาใหไ ด ความตอ งการถกู ทาํ ใหก ลายเปน ความจาํ เปน ไปหมด” ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

บทท่ี 3 การแกปญ หาชุมชน สาระสาํ คญั การแกปญหาชุมชนโดยใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐานก็คือการพึ่งพา ตนเอง เปนหลัก การทําอะไรเปนขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตสุ มผล และการพรอ มรับความเปลี่ยนแปลง การสรา งความ สามัคคีใหเกิดบนพ้ืนฐานของความสมดุล ในแตละสัดสวนแตละระดับ ครอบคลุมทั้งดาน จิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มรวมถงึ เศรษฐกจิ ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง 1. สํารวจและวิเคราะหปญหาของชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอมและ วัฒนธรรม พ้ืนฐานของหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. อธิบายแนวทางพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ตามหลักแนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได 3. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการแกปญหา หรือพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สง่ิ แวดลอมและวัฒนธรรมโดยใชป รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. มีสวนรวมในการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง ของบคุ คล ชมุ ชนที่ประสบผลสําเร็จ ขอบขา ยเนือ้ หา เร่ืองท่ี 1 ปญ หาของชมุ ชน เรือ่ งที่ 2 การจดั ทาํ แผนชมุ ชน เร่อื งท่ี 3 การประยุกตใ ชเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื แกไขปญหาชมุ ชน

20 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) เร่ืองท่ี 1 ปญ หาชุมชน ในแตล ะชมุ ชนจะมปี ญ หาทแ่ี ตกตา งกนั ออกไป ขน้ึ อยกู บั บรบิ ทของชมุ ชน แตโ ดย ทวั่ ไป เราสามารถแบงปญหาของชมุ ชน ออกในดานตา งๆ ดงั น้ี 1. ปญหาดานการศึกษา อาทิเชน จํานวนผูไมรูหนังสือ ระดับการศึกษาของ ประชาชนอตั ราการศึกษาในระดบั ตา งๆ และแหลง เรียนรูใ นชุมชน เปนตน 2. ปญ หาดา นสขุ ภาพอนามัย ไดแ ก ภาวะทโุ ภชนาการ คนพกิ าร โรคตดิ ตอ โรค ประจําตัว อัตราการตายของทารกแรกเกิด สถานพยาบาลในชุมชน การรับบริการดาน สาธารณสุข เปน ตน 3. ปญ หาดา นสงั คม การเมอื ง การปกครอง ไดแ ก การเกดิ อาชญากรรม แหลง อ บายมขุ ความขัดแยง ทางการเมอื ง กจิ กรรมท่ีเกย่ี วของกับการเลอื กตัง้ ในระดบั ตางๆ 4. ปญ หาดา นสง่ิ แวดลอ ม และทรพั ยากรธรรมชาตไิ ดแ ก ปญ หามลภาวะตา งๆ การ ทาํ ลายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม ของมูลฝอยกบั ธรรมชาติตา งๆ 5. ปญ หาดา นศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ไดแ ก การสบื ทอด อนรุ กั ษแ ละการปฏบิ ตั ิ ศาสนกิจของประชาชน ท่สี งผลถงึ ความรัก และความสามคั คขี องคนในชาติ เชน - ดานการศกึ ษา - สุขภาพอนามยั - ดา นสังคม/การเมืองการปกครอง - สง่ิ แวดลอ ม - ศาสนาวัฒนธรรม คณุ ธรรม ควรแยกปญหาเปนดานๆ มากวาการยกมาเปนอยางๆ ใหผูเรียนจําแนกและคน หาปญ หาในชมุ ชนของตนเอง แนวทางการแกป ญ หาชุมชน เนนเร่ืองปญหา เปนการเปลี่ยนแปลงที่เอาปญหามาเปนตัวตั้ง แลวหาแนวทาง จดั การหรอื แกป ญ หานนั้ ๆ ชมุ ชนเปลย่ี นแปลงไปหรอื ไมอ ยา งไร ดทู ปี่ ญ หาวา มอี ยแู ละแกไ ข ไปอยา งไร เนน เรอ่ื งอาํ นาจ เปน การเปลย่ี นแปลงทมี่ องตวั อาํ นาจเปน สาํ คญั ชมุ ชนเปลยี่ นแปลง ไปหรอื ไมอ ยา งไร ดทู ใ่ี ครเปน คนจดั การ อาํ นาจในการเปลยี่ นแปลงอยทู ไี่ หน ศกั ยภาพในการ เปลี่ยนแปลงเพ่มิ ขน้ึ หรือไม และสุดทายมกี ารเปลยี่ นโครงสรางอํานาจหรอื ไม เนนการพัฒนา เปนการเปลี่ยนแปลงท่ีเนนท่ีพลังจากภายในชุมชน ดําเนินการ เปลยี่ นแปลงชมุ ชนโดยการตดั สนิ ใจ การกระทาํ ของคนในชมุ ชนเอง ไมไ ดไ ปเปลยี่ นทค่ี นอน่ื หากเปนการเปล่ียนที่ชุมชน และไมไดเอาตัวปญหาเปนตัวตั้ง แตเปนความพยายามที่จัด สรางชุมชนที่พง่ึ ตนเอง และสามารถยืนอยูไ ดดวยตนเอง

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 21 เร่ืองที่ 2 การจัดทําแผนชมุ ชน การแกป ญ หาชมุ ชนทเี่ ปน รปู แบบและขน้ั ตอน นา จะใชก ารแกป ญ หาในรปู แบบชมุ ชน โดยชมุ ชนจะตอ งมคี ณะทาํ งานทม่ี าจากหลายภาคสว น เขา มามสี ว นรว มในการแกป ญ หาของ ชุมชนดว ยตนเอง โดยนาํ เอาปญหา และประการณของชมุ ขน มาวิเคราะห จดั ลาํ ดับและ แนวทางการแกไ ข มารวมกันพจิ ารณา ปญหาในบางเรื่อง ชมุ ชนสามารถแกไ ขไดดวยตน เอง ปญ หาใหญๆ และซบั ซอ นอาจตอ งจดั ทาํ เปน โครงการ ประสานงาน หนว ยงาน องคก าร ภาครัฐ หรอื องคกรปกครองสวนทอ งถ่ินหรือหนว ยงานทีม่ กี ารรับผิดชอบ และมีศกั ยภาพ โดยตรง ตลอดจนโครงการของรฐั บาล การจดั ทาํ แผนชมุ ชนนา จะเปนเนอื้ หา สาระหน่ึงท่ี ชุมชนจะตองไดร บั การฝก ฝน เพราะในปจ จบุ นั น้ี ทางราชการไดใ ชแ นวทางของแผนชมุ ชนเปน แนวทางในการพฒั นา ไมว า จะเปนโครงการ กองทุนเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการ SML และโครงการขององคก ารตา งๆ แมก ระทงั่ องคการปกครองสวนทองถิ่น เรอื่ งท่ี 3 การประยุกตใ ชเ ศรษฐกิจพอเพยี งเพือ่ แกป ญ หาชุมชน ดา นจติ ใจ มจี ติ ใจเขม แขง็ พงึ่ ตนเองได / มจี ติ สาํ นกึ ทดี่ ี / เออ้ื อาทร / ประนปี ระนอม นึกถึงผลประโยชนส วนรวมเปนหลกั ดานสังคม ชว ยเหลอื เก้อื กูลกัน / รูรกั สามัคคี / สรางความเขมแข็งใหค รอบครวั และชมุ ชน ดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม รจู กั ใชแ ละจดั การอยา งฉลาดและรอบคอบ / เลอื กใชท รพั ยากรที่มีอยูอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด / ฟนฟูทรัพยากรเพ่ือใหเกิด ความยงั่ ยืนสงู สุด ดานเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการและ สภาพแวดลอม(ภมู สิ ังคม) / พัฒนาเทคโนโลยีจากภมู ิปญ ญาชาวบา นเองกอ น / กอ ใหเ กิด ประโยชนกบั คนหมมู าก การประยกุ ตใชป รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - โดยพ้นื ฐานกค็ อื การพง่ึ พาตนเอง เปนหลกั การทาํ อะไรเปนขัน้ ตอน รอบคอบ ระมัดระวงั - พจิ ารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะพอควร ความสมเหตสุ มผลและการพรอมรบั ความเปลย่ี นแปลง - การสรา งสามคั คใี นเกดิ ขนึ้ บนพนื้ ฐานของความสมดลุ ในแตล ะสดั สว นแตล ะระดบั - ครอบคลุมทั้งดานจิตใจ สังคม เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมถงึ เศรษฐกจิ การ

22 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 5. จัดระเบียบชุมชน 1. การชวยตนเอง (Self – help) หมายถงึ การเปล่ียนแปลงทีช่ ุมชนคนหาปญหา รบั สมัครสมาชิก และใหบริการกันเอง โดยรับความชวยเหลือจากภายนอกใหนอ ยท่สี ุด 2. การสรา งพนั ธมติ ร (Partnership) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงการดาํ เนนิ การโดย คนในชุมชนท่มี ปี ญหา รวมตัวกันรบั ความชว ยเหลือจากภายนอก โดยเฉพาะดา นการเงนิ 3. การทาํ งานรวมกัน (Co production) หมายถงึ การจัดต้ังกลุมองคก รในชมุ ชน ขน้ึ มารบั ผดิ ชอบกิจกรรมรว มกบั หนวยงานภาครฐั 4. การกดดัน (Pressure) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงทีค่ นในชมุ ชนคน หาประเดน็ ปญหาของตนมาจัดการ แตเปนการจัดการภายใตกฎเกณฑของบานเมือง ดวยการ โนม นา วใหน กั การเมอื งและขาราชการเปลีย่ นแปลงนโยบาย 5. การประทว งคดั คา น (Protest) หมายถงึ การรวมตวั กนั ของประชาชน และมกี าร จัดระเบียบทม่ี งุ กอใหเ กิดการเปล่ยี นอปลงระบบเศรษฐกิจและการเมือง ทาํ อยา งไรจงึ จะจัดชมุ ชนใหม กี ารทาํ งานอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ กจิ กรรมทีช่ มุ ชนตอ งรับผิดชอบคอื - ตง้ั คณะกรรมการบริหาร - ประเมินสภาพของชุมชน - เตรียมแผนการปฏบิ ตั งิ าน - หาทรัพยากรท่จี ําเปน - ทําใหแนใ จวา กจิ กรรมของชมุ ชนทั้งหมด จะตอ งมกี ารตดิ ตามและการบริหารท่ี มปี ระสิทธิภาพสงู สุดสาํ หรบั การปฏิบัตงิ าน การประเมินสภาพชมุ ชน - ชมุ ชนการดาํ เนินกิจกรรมของตนเองโดยองิ ขอมูลสารสนเทศ - วิเคราะหชุมชนหรือเรื่องราวของชุมชน คณะกรรมการบริหารจะตองทําการ ประเมนิ ดว ยคณะกรรมการเอง - มองปญ หาและหาทางแกไ ข ทรพั ยากรและขอ จาํ กดั - ประเมนิ สง่ิ ทคี่ น พบใหผ สมผสานกนั เปน องคร วมทจ่ี ะเสนอใหช มุ ชนไดร บั ทราบ - การประเมนิ เปน สงิ่ ทต่ี อ งกระทาํ กอ นทจ่ี ะมกี ารวางแผนปฏบิ ตั งิ านของชมุ ชนให แนใจวาชุมชนมคี วามเขา ใจที่ถกู ตอ งตรงกนั กับส่ิงทีค่ ณะบริหารไดส ังเกตมา และเปน ความ เหน็ รวมกันเก่ียวกบั ธรรมชาติ และขอบเขตของปญหาและศักยภาพ การเตรียมแผนปฏิบัตกิ ารชมุ ชน - ชมุ ชนเปน ผูกําหนดอนาคตของตนเอง - การตดั สนิ สงิ่ ทต่ี อ งการเฝา สงั เกตสงิ่ ทมี่ อี ยู และทาํ ความเขา ใจขนั้ ตอนทตี่ อ งการ เพ่ือใหไ ดสิง่ ทตี่ องการทั้งหลายทั้งปวง คอื พ้ืนฐานการวางแผน

หนังสือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 23 - เนื้อแทของการวางแผนการจัดการ เราตองการอะไร เรามีอะไรอยใู นมอื เราจะใชส งิ่ ทีอ่ ยูในมืออยา งไร ใหไ ดสิง่ ท่เี ราตองการ อะไรจะเกดิ ขึ้นเมอ่ื เราทํา แผนปฏิบตั ิการของชมุ ชน ควรชี้ใหเหน็ ถงึ - เดยี๋ วน้ี ชมุ ชนเปน อยา งไร - เมือ่ สิ้นสดุ แผนแลวตอ งการท่จี ะเปนอยางไร - จะไดอะไรจากการเปลี่ยนแปลง - คณะกรรมการบรหิ ารจะเปน ผรู า งแผนปฏบิ ตั จิ ากขอ มลู สะทอ นกลบั ของชมุ ชน จากการประเมนิ ปจ จบุ นั รา งแผนปฏบิ ตั กิ าร ควรนาํ เสนอตอ ชมุ ชนทง้ั หมดเพอ่ื การปรบั แผน และการอนมุ ัตจิ ากชมุ ชน 

24 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 5-10 คน ศกึ ษาปญ หาของชมุ ชน จดั ปญ หาเปน กลมุ ๆ และหาแนวทางแกปญหา ใบงานที่ 3 ทา นคดิ อยา งไรเกี่ยวกบั ประเดน็ ตอไปนี้ “มเี รือ่ งจรงิ เกีย่ วกบั นา สาวกบั หลานชายจากปลายทงุ อยธุ ยาซึง่ มที ัง้ ปลาและพชื ผกั พื้นบานอุดมสมบูรณ นามีการศึกษาสูงจึงยายไปเปนครูอยูในเมืองใหญ เวลากลับไปเยี่ยม บานเธอจะรับประทานอาหารจําพวกปลาและผักพื้นบานดวยความพอใจ สวนหลานชาย มักบน วาปลาและผักพื้นบานเปนอาหารลาสมัย หนุมนอยคนนั้นจึงชอบขับมอเตอรไซค เขาไปในตลาดเพื่อรับประทานอาหารทันสมัย ไดแกบะหมี่สําเร็จรูป น้ําอัดลม ขนมกรุบ กรอบ” ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 25 กจิ กรรมท่ี 4 ใหผูเรียนแบงกลุม 5-10 ใหวจิ ารณ สถานการโลกวาเหตุใดประเทศท่มี คี วามเจริญ กา วหนาอยางประเทศสหรัฐอเมริกาจงึ ประสบปญหาเศรษฐกิจตกตํ่า ใบงานท่ี 4 ใหผ เู รยี น บนั ทกึ สาเหตทุ ่ที ําใหภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ................................................................................................................................. ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................

บทที่ 4 สถานการณข องประเทศไทย และสถานการณโลกกับความพอเพียง สาระสาํ คญั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเกิดการพิจารณาอยางรอบดาน มีความ รอบคอบ และระมัดระวังในการวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมใิ หเ กิดความ เสียหายตอการพัฒนา เปนการพฒั นาทคี่ าํ นงึ ถึงการมรี ากฐานทม่ี น่ั คงแขง็ แรง สรา งการ เจริญเติบโตอยา งมีลาํ ดบั ขน้ั ตอน สามารถยกระดับคุณภาพชีวติ ทัง้ ทางกายภาพและทางจติ ใจควบคูกัน หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียงจงึ มิไดขัดกับกระแสโลกาภิวัฒน ตรงกันขาม กลบั สง เสรมิ ใหก ระแสโลกาภวิ ฒั นไ ดร บั การยอมรบั มากขนึ้ ดว ยการเลอื กรบั การเปลยี่ นแปลง ทีส่ งผลกระทบในแงด ีตอประเทศ ในขณะเดยี วกันตองสรา งภมู คิ มุ กันในตัวทด่ี ีพอสมควร ตอการเปลีย่ นแปลงในแงท ่ีไมด ีและไมอาจหลกี เลีย่ งได เพ่อื จาํ กดั ผลกระทบใหอยูในระดับ ไมกอความเสียหายหรือไมเปนอนั ตรายรา ยแรงตอ ประเทศ ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั ตระหนกั ในความสาํ คญั ของการพฒั นาประเทศภายใตก ระแสโลกาภวิ ฒั นแ ละเลอื ก แนวทางหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ ชใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ อยา งสมดลุ และพรอ ม รบั ตอ ความเปลี่ยนแปลงของประเทศภายใตก ระแสโลกาภวิ ฒั น ขอบขายเน้อื หา เรือ่ งท่ี 1 สถานการณโ ลกปจจุบนั เรือ่ งที่ 2 สถานการณพลงั งานโลกกบั ผลกระทบเศรษฐกจิ ไทย

หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 27 เรอ่ื งท่ี 1 สถานการณโลกปจจุบัน ( ชวงป 2551-2552 ) เม่ือสหรัฐอเมริกาไดพัฒนาเศรษฐกิจของตน สูสูงสุดของทุนนิยมโลก เน่ืองจาก ตลาดทนุ จากทวั่ โลกหลง่ั ไหลสตู ลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า หลงั จากเกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ เอเซยี และขยายตัวออกไปทั่วโลก สตอกทุนจํานวนมหาศาลในแตละประเทศ ไมสามารถนําไป ลงทนุ ได เน่อื งจากเศรษฐกิจชะลอตวั ถงึ ขนั้ วิกฤติ เม็ดเงนิ จากสตอกทุน ทวั่ ทกุ มมุ โลกได ไหลบาทะลักสูตลาดทุนในสหรัฐอเมริกา ปญหาจากการเติบใหญของทุนในสหรัฐอเมริกา ก็คือการขยายพื้นท่ีการลงทุน เพื่อกระจายทุนออกไป ในขอบเขตปริมณฑลใหกวางที่สุด เพ่ือรองรับการขยายตวั ของทนุ ที่นับวันจะเตบิ ใหญ ป พ.ศ.2541 ขณะทว่ี กิ ฤตเศรษฐกจิ กาํ ลงั เปน ภยั คกุ คามประเทศตา งๆ จากทวั่ โลก ตลาดทุนในสหรฐั อเมริกา กลับพุงทะยานอยางรวดเร็ว ดัชนีหนุ Dow Jones พุงทะยาน ทะลุ 10,000 จุดเปน คร้งั แรก และสูงสุดกวา 11,000 จุด Nasdaq สูงกวา 3,800 จดุ สราง ความเล่อื มใสศรัทธา งนุ งง และไมเขาใจตอ เศรษฐกจิ อเมรกิ า ที่สวนทางกับวิกฤตเศรษฐกจิ โลก ซง่ึ จรงิ ๆ แลว เปน เรอ่ื งทสี่ ามารถทาํ ความเขา ใจไดไ มย าก เมอื่ สตอ กทนุ ในแตล ะประเทศ ไมส ามารถนําไปลงทนุ ภายในประเทศได และความเชอ่ื มนั่ ในตลาดทนุ อเมรกิ า ยังคงอยูใน ความรสู กึ ทดี่ ขี องนกั ลงุ ทนุ ดงั นน้ั ทนุ จากทว่ั ทกุ มมุ โลกจงึ หลง่ั ไหลเขา สตู ลาดทนุ ในอเมรกิ า เม่ือตลาดทุนในอเมริกาไมไดเติบโตบนพ้ืนฐานของความเปนจริง การเติบทางเศรษฐกิจ แบบฟองสบูของสหรฐั อเมรกิ า จงึ นา จะยนื อยูไดไมนาน ป 2001 ปฐมวยั ยา งกาวแรก ของรอบพันปท ่ี 3 บรษิ ัทยกั ษใ หญใ นสหรัฐอเมรกิ า เร่ิมทะยอย ประกาศผลประกอบการกําไรท่ีลดลง และการประกาศปลดพนักงาน เชนเมื่อ เดอื นธนั วาคม 2543 เจเนอรลั มอเตอรส(จีเอ็ม) ปลดพนกั งาน 15,000 คน วันพุธที่ 24 มกราคม 2544 ลเู ซนตเทคโนโลยี ผูผลติ อุปกรณโ ทรศพั ทยกั ษใ หญประกาศปลดพนักงาน 16,000 ตําแหนง เวิรลพูลผูผลิตเคร่ืองใชไฟฟาปลดพนักงาน 6,000 คน เอโอแอล ไทม วอรเ นอร กจิ การสอ่ื ยคุ ใหมจ ากการผนวกระหวา งอเมรกิ า ออนไลน กบั ไทม วอรเ นอร ปลดพนักงาน 2,000 คน การแกวง ตวั อยา งไรท ศิ ทางและไมช ดั เจนของตลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า เรม่ิ ทจ่ี ะผนั ผวน และไมแ นน อน นกั ลงทนุ เริม่ ไมแนใ จตอความเชือ่ มัน่ ตลาดทุนอเมริกา และเม่อื นายคอิ ชิ ิ มิยาซาวา รัฐมนตรีคลังญ่ีปุน กลาวเม่ือวันท่ี 8 มีนาคม 2544 ในการชี้แจงตอคณะ กรรมาธิการงบประมาณของวุฒิสภา ยอมรับความปราชัยทางเศรษฐกิจอยางเปนทางการ คร้ังแรก หลงั จากท่เี ศรษฐกิจญ่ปี นุ ผกุ รอ นเปนปญ หายดื ยอ้ื ยาวนานมารว ม 10 ป วา ฐานะ การเงินของประเทศกําลงั ยํา่ แยเตม็ ที หรืออาจกลา วไดว า ใกลจะลม ละลายแลว สปั ดาหรงุ ขน้ึ หลงั การแถลงของมยิ าซาวา ตลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า นาํ โดย NASDAQ ลว งลงกวา 30% ตามดวย Dow Jones, S&P และตลาดทุนทั่วโลก พังทะลายลงทันที จอรจ บุช เรียก สถานการณน้ี วา เปน World Stock Crisis

28 หนังสือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) ขณะทน่ี กั ลงทนุ จากทว่ั โลก เกดิ ความไมเ ชอ่ื มน่ั ตลาดทนุ ในสหรฐั อเมรกิ า เหตกุ ารณ ความตงึ เครยี ดในภมู ภิ าคตา งๆ ทว่ั โลก ในชว งของเดอื นมนี าคม 2544 ไลต ง้ั แตก ารประกาศ จะพฒั นาขปี วธุ ปอ งกนั ตนเองของสหรฐั อเมรกิ า การจบั ตวั มโิ ลเซวชิ อดตี ผนู าํ ยโู กสลาเวยี การตอสูของชาวปาเลสไตน ท่ีพัฒนาจากการขวางกอนอิฐกอนดิน มาเปนการวางระเบิด และมีการใชปน ความตึงเครียดในเชสเนีย การทําลายพระพุทธรูปที่ใหญที่สุดในโลก ของกลมุ ตาลบี นั ในอัฟกานสิ ถาน ไดส รา งแผลลึกในจิตใจของชาวพทุ ธ ตอชาวมสุ ลิม องคท ะไลลามะธเิ บต เยอื นใตห วนั เรอื ดาํ นาํ้ อเมรกิ าโผลท เี่ กาะแหง หนง่ึ ในญป่ี นุ โดยไมม กี าร แจง ลว งหนา สหรัฐอเมรกิ าประกาศขายอาวธุ แกใตหวนั ปดทายดว ยการยว่ั ยุจีน ดว ยการใช เครื่องสอดแนมบินรุกล้ําเขาไปในนานฟาจีน กระท่ังทําใหจีนตองใชเครื่องบินขับไลสองลํา ข้ึนบังคับใหเครื่องบินสอดแนมของสหรัฐลงจอดบนเกาะไหหลําเหตุการณที่เกิดความ ตงึ เครยี ดดงั กลา ว ลว นเกดิ ขน้ึ ในเดอื นมนี าคม ขณะทวี่ กิ ฤตตลาดทนุ ของสหรฐั อเมรกิ ากาํ ลงั เกิดข้ึนพอดี โดยเบ้ืองลึกจะเกิดจากการสรางสถานการณโดยสหรัฐอเมริกาหรือไมก็ตาม ภายในระยะเวลาเพยี งหนง่ึ เดอื น ดชั นตี ลาดหนุ Dow Jones กด็ ดี กลบั ขนึ้ มายนื อยใู นระดบั ท่ีสูงกวา เดือนมกราคมเสียอกี ทัง้ ทีเ่ ศรษฐกจิ ของสหรฐั อเมรกิ า ยังตกอยใู นภาวะท่ีเลวรา ย สถานการณเ ศรษฐกจิ สหรฐั อเมรกิ า – ญป่ี นุ กาํ ลงั จะนาํ ไปสวู กิ ฤตเศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม การเตรียมพรอมของสหรัฐอเมริกาในการตั้งรับ และเปดแนวรุกตอสถานการณดังกลาว มานานกวา 20 ป นน่ั กค็ อื การเตรยี มพรอ มดา นยทุ ธศาสตร “การทาํ สงครามเลย้ี งเศรษฐกจิ ” เน่ืองจากสหรัฐอเมริกา ไดพัฒนาปจจัยการผลิตสูยุค IT (Information Technology) ดงั นน้ั ยทุ ธศาสตร ยทุ ธวธิ ี ทางสงคราม ไดถ กู พฒั นารปู แบบสงครามสยู คุ IT ขณะทร่ี ปู แบบ ยุทธศาสตร - ยุทธปจจัย ของประเทศตางๆ ท่วั โลก ยังคงใชรูปแบบของสงครามในยุค อตุ สาหกรรม (บางประเทศมหาอาํ นาจอยา ง จนี –รฐั เซยี รปู แบบสงครามอาจพฒั นาสยู คุ IT แลว แตยังไมม กี ารสาธติ เชน สหรฐั อเมริกาท่ีไดผานการสาธิตแลว ในสงครามอา ว) ประเทศจีนหลังจากที่ เติ้งเซ่ียวผิง ไดประกาศนโยบายสี่ทันสมัย นําประเทศจีน สูก ารพฒั นาดานพลงั การผลิต ดว ยนโยบาย หน่งึ ประเทศสองระบบ ทาํ ให GDP จนี เตบิ โต ระหวา ง 8–12% มาโดยตลอด แมป จ จบุ นั ทว่ี กิ ฤตเศรษฐกจิ โลกสง ผลกระทบกบั ทกุ ประเทศ การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของจนี กย็ งั ยนื อยใู นระดบั 7-8% จากการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของจีนดังกลา ว ยอ มท่จี ะไปกระทบ และขดั ขวางตอ ผลประโยชนของสหรัฐอเมริกา ในการ ที่จะแผอ ิทธพิ ลสูการเปนจักรวรรดนิ ิยมจาวโลก ดังนนั้ ความพยายามในการท่ีจะทําลายจนี ใหออนกําลงั ลง ดว ยการแยกสลายจีนจาก 8 เขตปกครองตน ใหเ ปน แปดประเทศเชน เดยี ว กับรฐั เซียจงึ นบั เปนสดุ ยอดของยุทธศาสตร อันจะนําไปสคู วามสําเร็จของการเปนจักรวรรดิ นิยมจา วโลก

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 29 เรื่องที่ 2 สถานการณพลังงานโลกกับผลกระทบเศรษฐกจิ ไทย ปญ หาเรง ดว นในปจจบุ ันทส่ี ง ผลกระทบตอ เกอื บทุกประเทศในโลก คอื การทร่ี าคา น้ํามนั ไดสูงขน้ึ อยา งรวดเรว็ และตอเนอ่ื งในชว งเวลา 4-5 ปทผี่ า นมา และ ดูเหมอื นน้าํ มนั ใน ปน้ี (พ.ศ.2551) จะแพงสูงสุดเปนประวัติการณแลว ภาวะน้ํามันแพงทําใหตนทุนดาน พลังงาน (โดยเฉพาะอยางย่ิงในการขนสง) สูงข้ึนอยางรวดเร็ว มีผลลูกโซตอไปยังราคา สินคาและบริการตางๆ นอกจากจะทําให คาครองชีพสูงข้ึนมากแลว ยังเปนอุปสรรคตอ การขยายตัวทางเศรษฐกจิ อีกดว ย ผลกระทบเหลานี้ไดกอใหเกิดการประทวงของกลุม ผูที่ตองแบกรับภาระ เชน คนขบั รถบรรทกุ และ ชาวประมงในหลายประเทศ รวมทงั้ การเรยี กรอ งใหร ฐั บาลยน่ื มอื เขา มา แทรกแซงและใหค วามชว ยเหลอื ปญ หาราคานา้ํ มนั แพงมากในชว งนถ้ี อื ไดว า เปน วกิ ฤตการณ นํา้ มันคร้ังท่ี 3 ของโลกก็วา ได 7 ปจ จัย ตนเหตุน้ํามันแพง ! ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกเริ่มขยับตัวข้ึนสูงอยางเห็นไดชัดในป 2547 โดยราคา นา้ํ มนั ดบิ สงู ขน้ึ บารเ รลละประมาณ $10 เปน กวา $38 ตอ บารเ รล และหลงั จากนน้ั เปน ตน มา ราคาก็มีแนวโนม สูงข้ึนโดยตลอด จะมลี ดลงบางในบางครงั้ เปนชวงส้นั ๆ เทา น้ัน โดยความ ผนั ผวนของราคามีมากขึน้ แตการเปลี่ยนแปลงเปนไปในทางเพม่ิ มากกวาทางลด ในชว งปลายป 2550 ราคานํ้ามันดิบพุง สูงเกิน $100 ตอบารเ รล ซงึ่ นอกจากจะเปน ระดับ ทสี่ งู ทสี่ ดุ เปน ประวตั กิ ารณใ นรปู ของราคาปป จ จบุ นั ในชว งครงึ่ ปแ รกของป 2551 ราคานาํ้ มนั กย็ ังคง ขยับสงู ขนึ้ อยางตอ เนือ่ ง และอยูในระดับกวา $130 ตอ บารเรลในสัปดาหท ี่ 2 ของ เดือนมิถุนายน 2551 มีบทความขอเขียนจํานวนมากท่ีไดวิเคราะหและอธิบายสาเหตุของ ภาวะนาํ้ มนั แพงดงั กลา ว สว นใหญมีประเดน็ ที่เหมอื นกันและสอดคลอ งกัน ดังนี้ 1) กาํ ลงั การผลิตสวนเกนิ (excessproduction capacity) ในตลาดน้ํามนั ดิบอยู ในระดับที่คอนขางตาํ่ มาตลอด 5 ปทผี่ านมา ทัง้ น้ี เปนผลจากการทป่ี ระเทศ ผูผลติ นา้ํ มัน หลายแหง ขาดแรงจงู ใจในการขยายกาํ ลงั การผลติ ในชว งทรี่ าคานา้ํ มนั อยใู นระดบั คอ นขา งตาํ่ ในชว งทศวรรษ 1990 หนว ยงานพลงั งานของสหรฐั (EIA) รายงานวา ในเดอื นกนั ยายน 2550 OPEC มีกําลงั การผลติ สวนเกนิ เพยี ง 2 ลา นบารเรลตอวัน (ประมาณ 2% ของปรมิ าณการ ใชน าํ้ มนั ของโลก) โดยประมาณ 80% ของสว นเกนิ นอี้ ยใู นซาอดุ อี าระเบยี เพยี งประเทศเดยี ว 2) การผลติ น้ํามนั จากแหลงใหมๆ ในโลก เร่ิมมตี นทุนท่สี งู มากขน้ึ ท้ังนี้อาจเปน เพราะแหลง นํา้ มันขนาดใหญๆ ถูกคน พบและใชงานเปน สวนใหญแ ลว ยงั เหลืออยูกจ็ ะเปน แหลง นาํ้ มนั ขนาดเลก็ หรอื ทม่ี คี ณุ ภาพตา่ํ หรอื ทอ่ี ยใู นถน่ิ ทรุ กนั ดาร/นา้ํ ทะเลลกึ ๆ ซงึ่ มตี น ทนุ การสํารวจและการผลิตที่สูงมาก มีการวิเคราะห พบวาในปจ จบุ นั ตน ทนุ การผลติ นาํ้ มนั ใน ปริมาณ 4 ลานบารเรลตอวัน (คิดเปน 5% ของปริมาณการผลิตของโลกในปจจุบัน) มตี น ทนุ การผลติ สงู ถงึ $70 ตอ บารเ รล ตวั อยา งทเ่ี หน็ ไดช ดั คอื ทรายนาํ้ มนั (tars sands) ใน แคนาดา ซ่ึงเริม่ ผลติ ออกมาแลว และมีตนทนุ การผลติ ไมต ํ่ากวา $60 ตอ บารเ รล

30 หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) 3) ในประเทศผูผลิตและสงออกน้ํามันรายใหญหลายราย การผลิตนํ้ามันมีโอกาส หยดุ ชะงกั ได (supply disruption) เพราะเหตจุ ากความไมส งบทางการเมอื ง สงคราม และ ภยั ธรรมชาติ เหตกุ ารณสาํ คญั ทบ่ี งชถ้ี ึงปญ หาน้ี ไดแก การบุกอริ ักของกองทพั สหรฐั ในป 2546 ทําใหกาํ ลังการผลิตน้ํามันของอริ กั ลดลงระดบั หนึง่ และความไมสงบซึง่ ยังคงเกิดข้นึ ในประเทศหลังจากนั้น ยังเปนอุปสรรคสําคัญตอการผลิตและการสงออกน้ํามันของอิรักให กลับไปสูระดบั ปกติ ความขดั แยง ระหวา งอหิ รา นกบั ประเทศตะวนั ตกเกยี่ วกบั โครงการพฒั นานวิ เคลยี ร ของอิหรา น (ซ่งึ เปนผูผลิตนาํ้ มนั มากเปน อันดบั ท่ี 4 ของโลก) กอ ใหเกิดความตึงเครียดใน ภมู ภิ าคตะวนั ออกกลางระหวา งอหิ รา นและสหรฐั โดยอหิ รา นประกาศวา จะใชน าํ้ มนั เปน อาวธุ เพื่อตอบโตมาตรการควํ่าบาตรของสหรัฐ และในป 2551 ไดมีการเผชิญหนากันระหวาง ทหารอิหรานและทหารสหรัฐในบริเวณชองแคบฮอรมุซ ซึ่งเปนทางผานสําคัญสําหรับ การขนสง นาํ้ มนั จากตะวันออกกลาง พายเุ ฮอรร เิ คนในแถบอา วเมก็ ซโิ กในเดอื นกนั ยายน 2548 มผี ลกระทบตอ แทน ผลติ นาํ้ มนั ของเมก็ ซโิ ก และโรงกลนั่ ทตี่ ง้ั อยตู อนใตข องสหรฐั มผี ลใหร าคานาํ้ มนั เบนซนิ ในสหรฐั เพ่ิมสงู ข้นึ เปน $3 ตอแกลลอน ซึ่งเปน ระดบั ท่สี ูงสุดในรอบ 25 ป ผูกอการรายในไนจีเรียคุกคามแหลงผลิตนํ้ามันหลายคร้ัง ทําใหประมาณการผลิต และสง ออกนาํ้ มนั จากไนจเี รยี ลดลงประมาณ 500,000 บารเรลตอวนั ความขดั แยง ทางการเมอื งระหวา งรฐั บาลเวเนซเุ อลาและรฐั บาลสหรฐั ทาํ ใหก ารนาํ เขา นา้ํ มนั จากเวเนซุเอลาของสหรัฐมคี วามเสยี่ งมากข้นึ 4) ในหลายประเทศทส่ี ง ออกนาํ้ มนั ได มกี ารผลติ นา้ํ มนั ในปรมิ าณทลี่ ดลงไป เพราะ ปรมิ าณสาํ รองเรม่ิ มขี อ จาํ กดั มากขนึ้ ในขณะเดยี วกนั ความตอ งการใชน า้ํ มนั ในประเทศเหลา นี้ก็เพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจดวย ทําใหหลายประเทศตองลด การสง ออกลง เชน อนิ โดนเี ซยี เมก็ ซโิ ก นอรเ วย และองั กฤษ ในระหวา งป 2005 ถงึ 2006 การบริโภคนํา้ มันภายในประเทศผูสงออก 5 อนั ดบั แรก คอื ซาอดุ ีอาระเบีย รสั เซยี นอรเวย อิหรา น และสหรัฐอาหรับเอมเิ รตส ไดเ พ่ิมสงู ข้นึ ถงึ รอยละ 5.9 และมีปรมิ าณการสง ออกลด ลงกวา รอ ยละ 3 เมอื่ เทยี บกบั ปก อ นหนา น้ี หรอื ในกรณขี องอนิ โดนเี ซยี ทรี่ ฐั บาลมกี ารอดุ หนนุ ผูบริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอุดีอาระเบียที่ราคาน้ํามันเบนซินในประเทศอยูที่ 5 บาทตอลติ ร ขณะทมี่ าเลเซียอยูในระดบั 20 บาทตอลิตร จงึ ทําใหเกดิ การคาดการณวา ปรมิ าณการสง ออกนาํ้ มนั ดบิ ของประเทศผสู ง ออกนาํ้ มนั จะลดลงถงึ 2.5 ลา นบารเ รลตอ วัน ภายในชว ง 10 ปน ี้ เมอ่ื ไมก เี่ ดอื นมานขี้ า ววา รฐั บาลอนิ โดนเี ซยี กาํ ลงั พจิ ารณาจะถอนตวั จาก การเปนสมาชกิ OPEC เพราะอนิ โดนเี ซียจะไมส ามารถสงออกน้าํ มนั ไดอีกตอไปในอนาคต อนั ใกลนี้

หนังสือเรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 31 5) นอกจากกําลังการผลิตสวนเกินของนํ้ามันดิบจะมีนอย กําลังการกล่ันนํ้ามัน ของโลกก็มีปญหาคอขวด โดยมีสวนเกินนอยกวา 1 ลานบารเรลตอวัน ในขณะเดียวกัน ตลาดนํ้ามันมีแนวโนมตองการใชน้ํามันชนิดเบาและสะอาดมากข้ึน จึงสรางแรงกดดันให โ รงกลั่นน้ํามันตองลงทุนปรับปรุงคณุ ภาพอกี ดวย ขอ จาํ กดั นจี้ ึงทาํ ใหร าคาผลิตภัณฑน ้ํามัน มีราคาสงู ขนึ้ เพมิ่ ไปจากการเพิม่ ของราคาน้ํามนั ดิบ และกําไรของโรงกลน่ั นํา้ มันอยใู นระดับ ทค่ี อ นขางสูงมาโดยตลอด เปนท่ีนา สงั เกตดว ยวา สหรัฐซึง่ เปน ผูใชน ํา้ มันรายใหญทีส่ ุดของ โลกไมไ ดก อ สรางโรงกล่ันนํา้ มนั แหง ใหมมาเลยตั้งแตท ศวรรษ 1970 6) ถึงแมวา ราคานํ้ามนั ระหวางป 2546 ถึงป 2550 จะสงู ขึน้ กวา 3 เทาตัวแลว แตความตองการใชน ้ํามนั ของโลกกไ็ มไ ดลดลงเลย กลบั ยงั คงเพมิ่ ขน้ึ ในอตั รา 3.55% ในป 2548 และในอตั ราที่ยังสงู กวา 1% ใน ปต อ ๆ มา ปรากฏการณเ ชน นี้แตกตางจากทเ่ี กิดขึน้ ในชวงวิกฤตน้าํ มนั สองคร้งั แรก (ป 2516/17 และป 2522/23) ซ่ึงเราพบวาราคานํ้ามันที่ สงู ขึ้นมากทาํ ใหความตอ งการนํ้ามันลดลงในปต อ มา ในชวง 4-5 ปท่ีผา นมา เศรษฐกจิ โลก ยังขยายตัวได คอนขางดี และดูเหมือนจะยังไมไดรับผลกระทบจากภาวะราคานํ้ามันแพง มากนัก จนี และอนิ เดยี เปน ผูใชพ ลงั งานทมี่ อี ิทธิพลตอตลาดน้ํามันโลก 7) กองทุนประเภท hedge funds หันไปลงทุนซ้ือขายเก็งกําไรในตลาดน้ํามัน ลวงหนามากขึ้น ท้ังน้เี พอื่ หลกี เล่ยี งการลงทุนในรูปของเงนิ ดอลลารส หรฐั ซ่งึ ในระยะหลงั มี แนวโนมออนคาลงมากเม่ือเปรียบเทียบกับเงินสกุลอ่ืนๆ เน่ืองจากภาวะตลาดน้ํามันตาม ทกี่ ลา วมาแลว ชใ้ี หเ หน็ วา ราคานาํ้ มนั มแี นวโนม ทจี่ ะสงู ขน้ึ ผจู ดั การกองทนุ เหลา นจ้ี งึ เกง็ กาํ ไร โดยการซื้อนํ้ามันไวลวงหนาเพื่อขายเอากําไรในอนาคต สงผลใหราคาน้ํามันทั้งในตลาด spot และตลาดลวงหนาสงู ขนึ้ อีกระดับหน่ึง ปรากฏการณโ ลกรอนและปรากฏการณเ รือนกระจก คา ผดิ ปรกตขิ องอณุ หภมู เิ ฉลยี่ ทผ่ี วิ โลกทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ในชว งป พ.ศ. 2403–2549 เทยี บ กบั อณุ หภมู ริ ะหวา งพ.ศ. 2504–2533 คา เฉลย่ี อณุ หภมู ผิ วิ พน้ื ทผี่ ดิ ปกตทิ เี่ ทยี บกบั อณุ หภมู ิ เฉลีย่ ระหวางป พ.ศ. 2538 ถงึ พ.ศ. 2547 ในชวง 100 ปท ่ผี านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกลผวิ ดินทัว่ โลกโดยเฉลยี่ มีคา สงู ขน้ึ 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซยี ส ซงึ่ คณะกรรมการระหวา งรฐั บาลวา ดว ยการเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของ สหประชาชาตไิ ดส รปุ ไวว า “จากการสงั เกตการณก ารเพม่ิ อณุ หภมู โิ ดยเฉลย่ี ของโลกทเ่ี กดิ ขน้ึ ตง้ั แตก ลางครสิ ตศ ตวรรษท่ี 20 (ประมาณตง้ั แต พ.ศ. 2490) คอ นขา งแนช ดั วา เกดิ จากการ เพ่ิมความเขมของแกสเรือนกระจกท่ีเกิดข้ึนโดยกิจกรรมของมนุษยท่ีเปนผลในรูปของ ปรากฏการณเ รอื นกระจก” ปรากฏการณธ รรมชาตบิ างอยา ง เชน ความผนั แปรของการแผร งั สี จากดวงอาทิตยและการระเบิดของภูเขาไฟ อาจสงผลเพียงเล็กนอยตอการเพิ่มอุณหภูมิใน

32 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) ชว งกอนยุคอตุ สาหกรรมจนถงึ พ.ศ. 2490 และมผี ลเพยี งเลก็ นอยตอ การลดอุณหภูมิหลงั จากป 2490 เปนตน มา ขอ สรปุ พ้ืนฐานดังกลา วนีไ้ ดร ับการรบั รองโดยสมาคมและสถาบัน การศึกษาทางวิทยาศาสตรไ มน อ ยกวา 30 แหง รวมท้งั ราชสมาคมทางวทิ ยาศาสตรระดบั ชาตทิ ส่ี าํ คญั ของประเทศอตุ สาหกรรมตา งๆ แมน กั วทิ ยาศาสตรบ างคนจะมคี วามเหน็ โตแ ยง กับขอสรุปของ IPCC อยูบาง [4] แตเสียงสวนใหญของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานดานการ เปลีย่ นแปลงของภมู ิอากาศของโลกโดยตรงเห็นดว ยกับขอ สรุปน้ี แบบจาํ ลองการคาดคะเน ภูมิอากาศ บงชี้วาอุณหภูมิโลกโดยเฉล่ียท่ีผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในชวงคริสตศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) คาตัวเลขดังกลาวไดมาจากการจําลอง สถานการณแบบตางๆ ของการแผขยายแกสเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจําลองคา ความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แตความรอนจะยังคงเพิ่มข้ึนและระดับนํ้าทะเลก็ จะสูงข้นึ ตอเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แมว าระดบั ของแกสเรอื นกระจกจะเขาสภู าวะเสถยี ร แลว กต็ าม การทอ่ี ณุ หภมู แิ ละระดบั นาํ้ ทะเลเขา สสู ภาวะดลุ ยภาพไดช า เปน เหตมุ าจากความจุ ความรอนของนํ้าในมหาสมุทรซ่ึงมีคาสูงมาก การท่ีอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทําใหระดับ นํา้ ทะเลสงู ข้ึน และคาดวา ทําใหเกดิ ภาวะลมฟา อากาศ ทรี่ ุนแรงมากขึ้น ปริมาณและรูปแบบ การเกดิ หยาดนาํ้ ฟา จะเปลย่ี นแปลงไป ผลกระทบอน่ื ๆ ของปรากฏการณโ ลกรอ นไดแ ก การ เปล่ียนแปลงของผลิตผลทางเกษตรการเคลื่อนถอยของธารน้ําแข็ง การสูญพันธุพืช-สัตว ตา งๆ รวมท้ังการกลายพนั ธแุ ละแพรข ยายโรคตางๆ เพมิ่ มากขึน้ รฐั บาลของประเทศตา งๆ แทบทุกประเทศไดลงนามและใหสัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่งมุงประเด็นไปทก่ี ารลดการ ปลอ ยแกส เรอื นกระจก แตย งั คงมกี ารโตเ ถยี งกนั ทางการเมอื งและการโตว าทสี าธารณะไปทว่ั ทง้ั โลกเกย่ี วกบั มาตรการวา ควรเปน อยา งไร จงึ จะลดหรอื ยอ นกลบั ความรอ นทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ของโลก ในอนาคต หรอื จะปรบั ตวั กนั อยา งไรตอ ผลกระทบของปรากฏการณโ ลกรอ นทคี่ าดวา จะตอ ง เกิดข้นึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั มพี ระราชดาํ รสั เกยี่ วกบั ปรากฏการณเ รอื นกระจก ที่ศาลาดุสิดาลัย อยางลึกซ้ึง กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดรับสนองกระแส พระราชดาํ รสั นาํ เขาประชุมคณะรัฐมนตรี จนกระทง่ั ทาํ ใหวนั ที่ 4 ธ.ค. ของทกุ ป เปน วันส่งิ แวดลอ มแหงชาติ ตง้ั แตป 2534 เปนตนมา จากผลงานพระราชดําริและการทรงลงมือปฏิบัติพัฒนาดวยพระองคเอง เกี่ยวกับ สภาพแวดลอ ม โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทมี่ คี ณุ ประโยชนต อ คนชนชาติ ตางๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม ความม่ันคงของมนุษยและการเมือง ซ่ึงเปนที่ประจักษไป ท่ัวโลก องคการสหประชาชาติ โดยนายโคฟ อันนนั อดีตเลขาธกิ ารองคการสหประชาชาติ จงึ ไดเ ดนิ ทางมาประเทศไทย ในวาระมหามงคลฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ป เขา เฝา พระบาท สมเดจ็ พระเจา อยหู วั วนั ท่ี 26 พ.ค. 2549 เพอ่ื ถวายรางวลั “UNDP Human Development Lifetime Achievement Award” (รางวลั ความสาํ เรจ็ สงู สดุ ดา นการพฒั นามนษุ ย) ซงึ่ เปน

หนังสือเรยี นสาระทักษะการดําเนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 33 รางวัลประเภท Life - Long Achievement และพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว ทรงเปน พระมหากษตั รยิ พ ระองคแ รกในโลกทไี่ ดรบั รางวัลน้ี องคการสหประชาชาติ ไดยกยองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เปน “พระมหา กษตั ริยน กั พฒั นา” และกลา วถึงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) ของ พระองควา เปนปรัชญาหรือทฤษฎีใหมท่ีนานาประเทศรูจักและยกยอง โดยท่ีองคการ สหประชาชาติไดสนับสนุนใหประเทศตางๆ ที่เปนสมาชิก ยึดเปนแนวทางสูการพัฒนา ประเทศท่ยี ัง่ ยนื ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มิใชเ ปน เพียงปรชั ญานามธรรม หากเปน แนวทางปฏิบตั ิ ซง่ึ สามารถจะชว ย ท้งั แกไขและปองกนั ปญ หาที่เกดิ จากกเิ ลสมนุษย และความเปล่ียนแปลง ที่ซับซอนรุนแรงขึ้น ท่ีกําลังเกิดขึ้นกับมนุษยท้ังโลก และปญหาท่ีลุกลามตอถึงธรรมชาติ กอใหเ กดิ ความเปลย่ี นแปลงใหญใ นเชิงรนุ แรง และสรางปญ หายอ นกลบั มาทมี่ นุษย โดยทั่วไป มักเขาใจกันวา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เหมาะที่จะใชเฉพาะกับคน ยากจน คนระดบั รากหญา และประเทศยากจน อกี ทงั้ เครอ่ื งมอื เทคโนโลยี กจ็ ะตอ งใชเ ฉพาะ เครอื่ งมือราคาถกู เทคโนโลยตี ่าํ การลงทุนไมควรจะมีการลงทุนระดับใหญ แตใ นความเปน จริง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็ตองการคนและความคดิ ทีก่ า วหนา คนทกี่ ลา คดิ กลาทําใน สงิ่ ใหมๆ เน่ืองจากการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชประโยชนในดานตางๆ ไมมีสูตร สําเร็จหรือคูมือการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับภารกิจ ดังเชน วิกฤตโลกรอน ผูเกี่ยวของจึงตองศึกษาทําความเขาใจ แลวก็พัฒนาแนวทางหรือแนวปฏิบัติสําหรับแตละ ปญ หาขึน้ มา โดยยึดหลักทสี่ าํ คัญ ดังเชน - การคิดอยางเปน ระบบ อยางเปน กระบวนการทางวิทยาศาสตร - หลักคดิ ท่ใี ช ตอ งเปน หลกั การปฏิบัตทิ เี่ ปนสายกลาง ทใี่ หค วามสําคัญของความ สมดลุ พอดี ระหวา งทุกส่ิงทเี่ ก่ียวขอ ง ดังเชน ระหวา งธรรมชาติกับมนุษย - ขอ มลู ทใ่ี ช จะตอ งเปน ขอ มลู จรงิ ทเ่ี กดิ จากการศกึ ษา การวจิ ยั หรอื การลงสนาม ใหไ ดข อ มลู ทเ่ี ปน จรงิ - การสรา งภมู ิตา นทานตอความเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกิดข้นึ - การยึดหลกั ของความถูกตอง คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ในทุกขัน้ ตอน ของการดาํ เนนิ งานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนกระบวนการสําคัญของการสราง ภูมิตานทานตอผลกระทบและความเปล่ยี นแปลงที่กําลังเกิดขึน้ หรอื ท่ีจะเกดิ ขนึ้ เหลาน้เี ปน หลกั การใหญๆ ซงึ่ ผูท ่รี ับผดิ ชอบหรอื เกยี่ วขอ งหรอื คิดจะทาํ โครงการ หรอื กจิ กรรมในระดบั คอ นขา งใหญ จะตอ งคาํ นงึ ถงึ และสามารถจะนาํ ปรชั ญานไ้ี ปใชไ ดท นั ที และมผี ทู ไี่ ดใ ชล วนประสบความสําเรจ็ สูงสุดทมี่ นษุ ยพงึ จะมี คือ ความสขุ ท่ียงั่ ยนื

34 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) แลวเรื่องของการแขงขัน ชิงไหวชิงพริบ การวางแผนยุทธศาสตรและโลจิสติกส (การจดั ซอื้ จดั หา การจดั สง การบาํ รงุ รกั ษาอปุ กรณ และการรกั ษาพยาบาลบคุ ลากร ) ในการ บริหารจัดการระบบ หรือโครงการใหญๆ การใชจิตวิทยามวลชน การใชเ ทคโนโลยกี าวหนา การกําหนดแผนหรือตนเองใหเ ปน “ฝายรกุ ” มใิ ช “ฝา ยตัง้ รับ” ละ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอ เพียงปฏิเสธหรือไม? คําตอบคือ ปฏิเสธ ถาใชอยางไมถูกตอง อยางหลีกเลี่ยงกฎหมาย อยางผิด คณุ ธรรม-จรยิ ธรรม-และจรรยาบรรณ อยา งไมซ อื่ ตรงตอ หนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ อยา งมี เจตนาเพอ่ื ผลประโยชนท ไ่ี มส จุ รติ ของตนเอง และพวกพอ ง แตจ ะตอ งรจู กั และใชอ ยา งรเู ทา ทนั ปกปอ ง และรกั ษาผลประโยชนข องสว นรวม อยางมคี วามคิดกา วหนาในเชิงสรา งสรรค สาํ หรบั การแกป ญ หา หรอื การเตรียมเผชิญกบั ปญ หาจากวกิ ฤตโลกรอน มีประเด็น และเรอ่ื งราวทง้ั เกา และใหม ดงั เชน เรอ่ื งของมาตรการทถี่ กู กาํ หนดขนึ้ มา เพอ่ื เผชญิ กบั ภาวะ โลกรอ น เพอ่ื ใหป ระเทศทพี่ ฒั นาแลว และทก่ี าํ ลงั พฒั นา (ดงั เชน ประเทศไทย) ไดด าํ รงอยรู ว ม กัน พึ่งพิง และเออ้ื อาทรตอ กัน อยางเหมาะสม ดังเชน เรอ่ื ง คารบ อนเครดติ ท่เี ปน เรือ่ ง คอ นขา งใหมข องประเทศไทย แตก เ็ ปน ทง้ั “โอกาส” และ “ปญ หา” ทปี่ ระเทศไทยตอ งเผชญิ ซงึ่ กข็ น้ึ อยกู บั คนไทยเราเองวา จะตอ งเตรยี มตวั กนั อยา งไร เพอ่ื ใหส ามารถเปน “ทพ่ี ง่ึ ” ของ โลกหรือประเทศอน่ื แทนทีจ่ ะเปน “ปญ หา” ทเ่ี กดิ จากความไมใสใจ หรือความใสใจ แตเพือ่ จะกอบโกยผลประโยชนเ ทานัน้ เรอ่ื งของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั วกิ ฤตโลกรอ น จงึ มโี จทย มเี ปา หมายมากมาย ทท่ี า ทาย เชญิ ชวนใหผ คู นและประเทศ ทต่ี อ งการมชี วี ติ สรา งสรรคแ ละมคี วามสขุ อยา งยงั่ ยนื ไดนาํ ไปใช โดยใชป ญญาเปนตวั นํา กํากบั ดว ยสติ และควบคมุ ดวยคณุ ธรรมกับจรยิ ธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ถูกใชเปนกรอบแนวคิดและทิศทางการพัฒนาระบบ เศรษฐกจิ มหภาคของไทย ซง่ึ บรรจอุ ยใู นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554 ) เพื่อมุงสูการพัฒนาทีส่ มดุลย่ิงข้นึ และมภี มู ิคมุ กนั เพือ่ ความอยดู ี มีสุข มุงสสู ังคมท่มี คี วามสขุ อยา งยัง่ ยนื ดว ยหลกั การดงั กลา วแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 10 น้จี ะ เนนเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แตยังใหความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจแบบ ทวลิ กั ษณห รอื ระบบเศรษฐกจิ ทมี่ คี วามแตกตา งกนั ระหวา งเศรษฐกจิ ชมุ ชนเมอื งและชนบท แนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงยงั ถกู บรรจุในรฐั ธรรมนูญของไทย เชน รฐั ธรรมนญู แหง ราช อาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 ในสว นท่ี 3 แนวนโยบายดานการบรหิ ารราชการแผน ดิน มาตรา 78(1) บรหิ ารราชการแผน ดนิ ใหเ ปน ไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกจิ และความ มนั่ คงของประเทศอยา งยง่ั ยนื โดยตอ งสง เสรมิ การดาํ เนนิ การตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องประเทศชาตใิ นภาพรวมเปน สําคัญ นายสรุ เกยี รติ เสถยี รไทย ในฐานะรฐั มนตรกี ระทรวงการตา งประเทศไดก ลา วเมอ่ื วนั ท่ี 24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2547 ในการประชุมสุดยอด The Francophonic Ouagadoug

หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 35 ou คร้ังท่ี 10 ที่ Burkina Faso วา ประเทศไทยไดย ดึ แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง ควบคูกบั “การพฒั นาแบบย่งั ยืน” ในการพจิ ารณาประเทศท้งั ทางดา นการเกษตรกรรม เศรษฐกจิ และ การแขง ขนั ซง่ึ เปนการสอดคลอ งกบั แนวทางของนานาชาตใิ นประชาคมโลก การประยุกตน ําหลักปรัชญาเพื่อนําพัฒนาประเทศในตางประเทศนั้น ประเทศไทย ไดเปนศูนยกลางการแลกเปล่ียนผานทางสํานักงานความรวมมือเพื่อการพัฒนาระหวาง ประเทศ(สพร.) โดย สพร. มีหนาท่ี คอยประสานงานรับความชวยเหลือทางวิชาการดาน ตา งๆ จากตา งประเทศมาสภู าครฐั แลว ถา ยทอดตอ ไปยงั ภาคประชาชน และยงั สง ผา นความ รทู มี่ ไี ปยงั ประเทศกาํ ลงั พฒั นาอน่ื ๆ เรอื่ งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งนนั้ สพร. ถา ยทอดมาไม ตาํ่ กวา 5 ป ประสานกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมา จากพระราชดําริ (กปร.) และคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตางชาติก็ สนใจเรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพราะพสิ จู นแ ลว วา เปน สง่ิ ทด่ี แี ละมปี ระโยชน ซงึ่ แตล ะประเทศ มีความตองการประยุกตใชป รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไมเ หมอื นกนั ขน้ึ อยกู ับวิถชี วี ติ สภาพ ภมู ศิ าสตร ฯลฯ เชน พมา ศรลี งั กา เลโซโท ซดู าน อฟั กานสิ ถาน บงั กลาเทศ ภฎู าน จนี จบิ ดู ี โคลัมเบีย อียิปต เอธิโอเปย แกมเบีย อินโดนิเซีย เคนยา เกาหลีใต มาดากัสการ มัลดีฟส ปาปวนิวกินี แทนซาเนีย เวียดนาม ฯลฯ โดยไดใหประเทศเหลานี้ไดมาดูงาน ในหลายระดับ ทั้งเจาหนาที่ปฏิบัติงาน เจาหนาที่ฝายนโยบาย จนถึงระดับปลัดกระทรวง รฐั มนตรกี ระทรวงตา งๆ[14] นอกจากนั้นอดิศักดิ์ ภาณุพงศ เอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรยี ไดก ลา ววา ตา งชาตสิ นใจเรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง[14] เนอ่ื งจากมาจากพระราชดาํ รใิ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทท่ี รงหว งใยราษฎรของพระองค และอยากรวู าทาํ ไมรฐั บาลไทย ถึงไดนํามาเปนนโยบาย สวนประเทศที่พัฒนาแลวก็ตองการศึกษาพิจารณาเพื่อนําไป ชว ยเหลอื ประเทศอน่ื 13 นักคิดระดับโลกเห็นดวยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอ บทความ บทสมั ภาษณ เปนการยื่นขอ เสนอแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงใหแ กโ ลก เชน ศ. ดร.วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจการ ประยกุ ตใ ชห ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา งมาก และมองวา นา จะเปน อกี ทางเลอื กหนง่ึ สาํ หรบั ทกุ ชาตใิ นเวลาน้ี ทง้ั มแี นวคดิ ผลกั ดนั เศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ ปน ทร่ี จู กั ในเยอรมน,ี ศ. ดร. อมาตยา เซน ศาสตราจารยชาวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตรป 1998 มองวา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนการใชส่ิงตางๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีพ และใช โอกาสใหพ อเพยี งกับชีวิตท่ดี ี ซง่ึ ไมไดห มายถงึ ความไมตองการ แตตอ งรจู กั ใชชวี ิตใหด พี อ อยาใหความสําคัญกับเรื่องของรายไดและความร่ํารวย แตใหมองที่คุณคาของชีวิตมนุษย, นายจกิ มี ทนิ เลย นายกรฐั มนตรแี หง ประเทศภฎู าน ใหท รรศนะวา หากประเทศไทยกาํ หนด เรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพียงใหเ ปน วาระระดบั ชาติ และดาํ เนนิ ตามแนวทางน้อี ยา งจริงจัง “ผม

36 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31001) วา ประเทศไทยสามารถสรา งโลกใบใหมจ ากหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรา งชวี ติ ทยี่ งั่ ยนื และสดุ ทายจะไมหยุดเพยี งแคใ นประเทศแตจ ะเปน หลักการและแนวปฏิบัติของโลก ซึ่งหาก ทาํ ไดส ําเร็จ ไทยกค็ ือผนู ํา” [15] ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากองคการสหประชาชาติ(UN) โดยนายโคฟ อันนันในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล The Human Development lifetimeAchievement Award แกพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤษภาคม 2549 และไดม ีปาฐกถาถงึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง วา เปน ปรชั ญาทมี่ ปี ระโยชนต อ ประเทศไทยและนานาประเทศ[6] และสามารถเรม่ิ ไดจ ากการสรา ง ภมู คิ มุ กนั ในตนเอง สหู มบู า น และสเู ศรษฐกจิ ในวงกวา งขน้ึ ในทส่ี ดุ นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอํานวยการ UNDP ในประเทศไทยกลาวเชิดชูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ UNDP น้ันตระหนักถึงวิสัยทัศนและแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยู หวั ฯ[16] โดยทอี่ งคก ารสหประชาชาตไิ ดส นบั สนนุ ใหป ระเทศตา งๆ ทเ่ี ปน สมาชกิ 166 ประเทศ ยึดเปนแนวทางสกู ารพฒั นาประเทศแบบย่งั ยืน[7] อยางไรก็ตาม ศ. ดร.เควิน ฮิววิสัน อาจารยป ระจํามหาวิทยาลยั นอรธ แคโรไลนา ท่ี แซพเพลฮลิ ล ไดว จิ ารณร ายงานขององคก ารสหประชาชาตโิ ดยสาํ นกั งานโครงการพฒั นาแหง สหประชาชาติ (UNDP) ที่ยกยองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง[17]วา รายงานฉบับดังกลาว ไมไดมีเน้ือหาสนับสนุนวา เศรษฐกิจพอเพียง “ทางเลือกที่จําเปนมากสําหรับโลกท่ีกําลัง ดาํ เนินไปในเสนทางท่ีไมยงั่ ยืนอยใู นขณะนี้” (น. V . ในรายงาน UNDP) โดยเนื้อหาแทบ ทง้ั หมดเปน การเทดิ พระเกยี รติ และเปน เพยี งเครอื่ งมอื ในการโฆษณาชวนเชอ่ื ภายในประเทศ เทานั้น (18) สวนHakan Bjorkman รกั ษาการผูอ าํ นวยการ “ UNDP” ตองการทีจ่ ะทาํ ใหเ กดิ การอภปิ รายพจิ ารณาเรอื่ งน้ี แตก ารอภปิ รายดงั กลา วนน้ั เปน ไปไมไ ด เพราะอาจสมุ เสย่ี ง ตอ การหมน่ิ พระบรมเดชานภุ าพ ซง่ึ มโี ทษถงึ จาํ คกุ (10) เมอื่ ปลายเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายโคฟ อนั นนั เลขาธกิ ารสหประชาชาติ ไดเ ขา เฝา ทลู เกลา ฯ ถวายรางวลั Human Development Lifetime Achievement Award หมายความวาพระเจาอยหู ัวสละความสุขสว นพระองค และทมุ เทพระวรกาย ในการพัฒนา คนไทยในชว ง 60 ป จนเปน ทป่ี ระจกั ษใ นความสาํ เรจ็ ของพระราชกรณยี กจิ พระบรมราโชวาท และเปนแบบอยางท่ัวโลกได คํากราบบังคมทูลของนายโคฟ บงบอกใหเห็นเขาศึกษาเร่ือง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอยา งละเอยี ด และรับปากวาจะนาํ ไปเผยแพรท ัว่ โลก รวมทงั้ ประมขุ หรอื ผแู ทนของประเทศตา งๆ ทไ่ี ดม าเขา เฝา และขออญั เชญิ ไปใชใ นประเทศของเขา เพราะเห็นวาเปนแนวทางทดี่ ี นอกจาก United Nation Development Program ( UNDP ) เปน องคกรหนง่ึ ภายใตสหประชาชาติที่ดูแลเกี่ยวกับการพัฒนา ดานหนึ่งที่เขาตองดูแล คือการพัฒนาคน

หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 37 มีหนาที่จัดทํารายงานประจําป โดยในปห นา จะเตรียมจดั ทําเร่อื งการพัฒนาคนของโลก และ คนในแตล ะประเทศ ( Country report และ Global report ) โดยในสวนของประเทศไทย จะนําเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักในการรายงานและเผยแพร ท้ังภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพ่ือที่ประเทศอ่ืนจะไดรับประโยชนจากของพระราชทานที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหวั พระราชทานใหคนไทยมากกวา 30 ป แลว จะเหน็ ไดว า ขณะนปี้ รัชญาฯ น้ี ได เผยแพรโดยองคกรระดับโลกแลว เราในฐานะพสกนกิ รของพระองคทา นนาจะภูมใิ จหันมา ศกึ ษาและนําไปปฏิบตั ิอยางจรงิ จงั กจ็ ะบงั เกดิ ผลดียง่ิ 

38 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวติ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) กจิ กรรม ใหน ักศึกษาแบงกลุม 5-10 คน วเิ คราะห/ วิจารณ สถานการณของประเทศไทย วา เกดิ เศรฐกจิ ตอกตาํ่ เพราะเหตใุ ด ใบงานที่ 5 1. ใหผ เู รียนเขยี นคาํ ขวัญเกยี่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... 2. ใหผูเรียนประเมินสถานการณของครอบครัวและวิเคราะหวาจะนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาใชไ ดอ ยางไร ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................ .................................................................................................................................... ....................................................................................................................................

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 39 บรรณานุกรม สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. แนวทางการ จดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งชมุ ชน โดยกระบวนการ การศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด โรงพิมพอักษรไทย (นสพ. ฟา เมอื งไทย).2550. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง.สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. สํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.กระทรวงศึกษาธิการ.หลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียง สาํ หรบั เกษตรกร. ศนู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคกลาง. 2549. (เอกสารอดั สาํ เนา) สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาต.ิ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ น เศรษฐกจิ พอเพยี ง. นานาคาํ ถามเกย่ี วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. 2548. สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ. เศรษฐกิจพอเพียง.2548. จตพุ ร สขุ อนิ ทร และมงั กโรทยั . “สรา งชวี ติ ใหมอ ยา งพอเพยี งดว ยบญั ชคี รวั เรอื น” เดลนิ วิ ส หนา 30 ฉบับวันจันทรที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2522 จนิ ตนา กจิ ม.ี “เกษตรพอเพยี ง แหง บา นปา ไผ” .มตชิ น หนา 10 ฉบบั วนั เสารท ่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2552. เอกรนิ ทร สมี่ หาศาล และคณะ, คณุ ธรรมนาํ ความรสู .ู ..... เศรษฐกจิ พอเพยี ง ป.6 กรงุ เทพฯ : บริษัท อักษรเจริญทัศน อาท จํากดั . มปพ.

ภาคผนวก

หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) 41 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 10 – 13 กมุ ภาพนั ธ 2552 ณ บา นทะเลสคี รมี รสี อรท จงั หวดั สมทุ รสงคราม 1. นายศรายทุ ธ บรู ณเ จรญิ ผอ. กศน. อาํ เภอจอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร 2. นายจาํ นง หนนู ลิ สาํ นกั งาน กศน. อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน 2552 – วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด เดอวลิ ล กทม. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ บรรณาธกิ ารหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอนิ น จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอนิ ท จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื ขา ราชการบาํ นาญ 2. นายอชุ ุ เชอ้ื บอ คา สาํ นกั งาน กศน. อาํ เภอหลงั สวน จงั หวดั ชมุ พร 3. นางสาวพชั รา ศริ พิ งษาโรจน สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั กระบ่ี 4. นายวทิ ยา บรู ณะหริ ญั สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั พงั งา

42 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31001) คณะผจู ัดทาํ ทป่ี รึกษา บุญเรอื ง เลขาธิการ กศน. อิ่มสุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสริฐ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชัยยศ แกวไทรฮะ ทีป่ รกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสตู ร กศน. 3. นายวัชรนิ ทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผอู าํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู 5. นางรักขณา ผเู ขียนและเรยี บเรยี ง บรู ณเ จริญ ผอ.กศน.อําเภอจอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร 1. นายศรายุทธ กศน. อาํ เภอเมอื ง จังหวดั นครศรีธรรมราช 2. นายจํานง หนูนลิ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางพฒั นส ุดา สอนซอ่ื ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรบั ปรงุ 1. นางพัฒนส ดุ า สอนซือ่ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายอุชุ เชอื้ บอ คา กศน. อาํ เภอหลงั สวน จังหวัดชุมพร 3. นางสาวพชั รา ศริ พิ งษาโรจน สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดกระบ่ี 4. นายวิทยา บรู ณะหิรัญ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดพงั งา 5. นายจาํ นง หนนู ิล กศน. อําเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช คณะทาํ งาน มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นายสรุ พงษ ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค กลุ ประดษิ ฐ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร เหลืองจิตวัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา 5. นางสาวเพชรินทร ผพู มิ พต นฉบบั เหลืองจติ วฒั นา กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน นางสาวเพชรนิ ทร ผอู อกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook