Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 10 เทคนิคการใช้ Thunkable

10 เทคนิคการใช้ Thunkable

Published by 16-วรกานต์ 3/6, 2023-03-03 06:40:34

Description: 10 เทคนิคการใช้ Thunkable

Search

Read the Text Version

10 วธิ ีการใช้งาน Thunkable An application that teaches how to use the Thunkable program นายเมฆา แกว้ พาปราบ นายภรู ิพัฒน์ ปชั ชาพงษ์ โครงงานนเี้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการเรยี นตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอรรถวทิ ยพ์ ณชิ ยการ ปีการศกึ ษา 2565



บทคดั ย่อ หัวขอ้ โครงการ 10 วธิ กี ารใช้ Thunkable 10 way to use Thunkable ผ้จู ัดทำโครงการ นายเมฆา แกว้ พาปราบ รหสั นกั ศึกษา 42788 นายภรู ิพัฒน์ ปชั ชาพงษ์ รหัสนักศกึ ษา 42708 อาจารย์ทีป่ รึกษาหลัก อาจารย์ดฐิ ประพจน์ สวุ รรณศาสตร์ อาจารยท์ ป่ี รึกษาร่วม อาจารย์นราภรณ์ เจรญิ ชยั สาขาวิชา สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ ะกิจ สถาบัน วทิ ยาลัยเทคโนโลยอี รรถวิทย์พณิชยการ ปีการศึกษา 2565 บทคัดยอ่ แอพพลิเคชั่นส่ือการเรยี นการสอนการใช้งานโปรแกรม Thunkable ถกู พัฒนาและออกแบบ มา เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแอพพลิเคชั่นโดยใช้โปรแกรม Thunkable ในรูปแบบของแอพลิ เคชั่นโดย มีเนื้อหาและรูปภาพท่ีทำให้สามารถเข้าใจได้ง่าย แอพพลิเคชั่นสื่อการเรียนการสอนการใช้ งานโปรแกรม Thunkable ได้จัดทำขึ้นโดยใช้โปรแกรม Thunkable ซึ่งเป็นโปรแกรมที่มีไว้สำหรับ การทํแอพพลิเคช่ัน และในส่วนของตัวแอพพลเิ คช่ันความรหู้ ลงั การศึกษา ทางคณะผูจ้ ัดทำไดม้ ีการใช้โปรแกรม Thunkable เพ่ือใชส้ ร้างแอปพลิเคช่ันและใชโ้ ปรแกรม Thunkable มกี ารลงช่ือเขา้ ใช้ของผ้ใู ชง้ าน สามารถใหผ้ ู้ใชท้ ำการเข้าสู่ระบบ มีบทเรยี นให้ศึกษา มากมาย หลายบทเรียน มีการทำแบบทดสอบ เพ่ือเก็บคะแนนและบันทึกสงสถติ ิ สามารถทำแบบ ประเมินความพึงพอใจต่อแอบพลิเคช่ันได้ แอปพลเิ คช่นั โดดเดน่ ไมเ่ หมือนใคร ทางคณะผูจ้ ดั ทำไดท้ ำ การเรยี นรูด้ ้วยตนเองพรอ้ มท้ังทา่ นอาจารย์ได้ชว่ ยให้คำแนนในบางส่วน จงึ ทำให้แอพพลิเคช่นั นี้เอาว้ยั ใชใ้ นการสรา้ งแอปพลิเคช่ันต่างๆ ข

กิตติกรรมประกาศ โครงการฉบับน้ีสำเร็จลุล่วงได้อย่างดี ท่ีได้ให้คำแนะนำและคำปรึกษาเก่ียวกับการสร้างและ ออกแบบแอพพลิเคชั่นส่ือการเรียนการสอนการใช้งานโปรแกรม Thunkable ผู้ทำโครงการรู้สึก ซาบซึง้ ในความอนุเคราะหจ์ ากทา่ นเปน็ อย่างมาก และกราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสงู ผู้ทำโครงการขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และเพื่อนๆ พ่ีๆ ท่ีให้กำลังใจและให้ โอกาสบุตรได้รับการศึกษาในระดับต่าง ๆ จนกระท่ังไดส้ ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ นี้รวมทั้งคณาจารย์ทุกท่านในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีได้ประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู้และ คำสง่ั สอนให้กับผูท้ ำโครงการในการเรยี นทกุ ระดบั ชน้ั ขอขอบพระคุณครอบครัวที่ใหก้ ารชว่ ยเหลือในทุก ๆ ด้าน จนทำให้ประสบความสำเร็จลุล่วง ไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณ เพ่ือนๆ พ่ีๆ น้อง ๆ ทุกคนในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัย เทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ ที่เป็นกำลังใจและคอยให้ความช่วยเหลือในการทำโครงการฉบับน้ี สุดท้ายความรู้และประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการฉบับน้ีผู้ทำโครงการขอมอบความดีท่ีได้นี้ให้แก่ผู้มี พระคณุ ทกุ ท่าน เมฆา แก้วพาปราบ ภูรพิ ัฒน์ ปัชชาพงษ์ ค

คำนำ การสร้างนมยายแอปพลิเคชน่ั สาหรับผเู้ ริ่มตน้ ท่ีสนใจไมว่ ่าจะเป็น นกั เรียน นิสิต นกั ศึกษา หรือผทู้ ่ีประกอบอาชีต่าง ๆ น้นั การหาเคร่ืองมือหรือโปรแกรมหรือเวบ็ ไซตด์ งั กล่าวในปัจจุบนั มีให้ เลือกมากมาย แต่เป็นนิยมมากมาย แตท่ ่ีเป็นนิยมท้งั ในและประเทศ ท่ีมาแรงมาก คือ Thunkable ซ่ึง เป็นเวบ็ ไซตท์ ่ีเรียนรู้ไดง้ า่ ยมีเคร่ืองมือและชุดคาสงั่ ท่ีใชร้ ูปแบบของ Blockly เป็นการสร้างบลอ๊ ค โครงงานท่ีทางคณะผูจ้ ดั ทาไดจ้ ดั ทาน้ัน ประกอบไปดว้ ยวตั ถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือ การศึกษาเรื่องการใชง้ านแอปพลิเคชน่ั Thunkableทางคณะผจู้ ดั ทาไดม้ ีการสร้างแอปพลิเคชนั่ ข้ึนมา เพ่ือความสะดวกรวดเร็ว ง่ายต่อการศึกษา มีแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อใหน้ กั เรียนและนกั ศึกษาได้ ทดสอบความรู้ความสามารถก่อนเรียนแอปพลิเคชน่ั Thunkable และมีบททดสอบหลงั เรียนเพื่อให้ นกั เรียนและนกั ศึกไดท้ ดสอบความรู้การเรียนแอปพลิเคชนั่ Thunkable เบอ้ งตน้ หากโครงการน้ีมีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ท่ีน้ี และจะ ดาเนินการพฒั นาผลงานทางดา้ นคอมพิวเตอร์ใหพ้ ฒั นาใหด้ ีข้นึ ไป คณะผจู้ ดั ทา 28 กุมพาพนั 2565 ง

สารบัญ หน้า ก หน้าอนุมตั ิ ข บทคัดย่อ ค กิตติกรรมประกาศ ง คำนำ 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 1.1 ความสำคญั ของโครงการ 2 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 3 1.3 ขอบเขตของโครงการ 7 1.4 ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 7 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฏีท่ีเกีย่ วข้อง 8 2.1 ความต้องการของระบบท่ีเหมาะสม 9 10 2.2.1 ประวตั ขิ องแอนดรอยด์ 10 2.2.2 ประเภทของแอนดรอยด์ 10 11 2.2.2.1 Android Opensource Project (AOSP) 11 2.2.2.2 Open Handset Mobile (OHM) 12 2.2.2.3 Cooking or Customize 12 2.2 Android 1.6 Donut 13 2.3 Android 1.6 Donut (Interface) 13 2.4 Android 2.0 – 2.1 Eclair 14 2.5 Android 2.0 -2.1 Eclair (Interface) 14 2.6 Android 2.2 Froyo 15 2.7 Android 2.2 Froyo (Interface) 15 2.8 Android 2.3 Gingerbread 16 2.9 Android 2.3 Gingerbread (Interface) 16 2.10 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb 2.11 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb (Interface) จ 2.12 Android 4.0 Ice Cream Sandwich 2.13 Android 4.0 Ice Cream Sandwich (Interface)

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 2.14 Android 4-1 – 4-3 Jelly Bean 17 2.15 Android 4-1 – 4-3 Jelly Bean (Interface) 17 2.16 Android 4.4 Kitkat 18 2.17 Android 4.4 kitkat 18 บทท่ี 3 การออกแบบงานดว้ ยคอมพิวเตอร์ 19 3.1 การออกแบบผงั โครงสร้างแอพพลิเคช่ัน 19 3.2 การออกแบบแผนภาพแนวความคิด (Story Board Design) 20 3.3 การออกแบบส่ิงนำเขา้ (Input Desing) 31 3.4 การออกแบบสง่ิ นำออก (Output Design) 31 บทที่ 4 10 วธิ ีการใช้ Thunkable 32 4.1 อปุ กรณ์ท่ีใช้ในการศึกษาพฒั นาโปรแกรม 32 4.2 ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน 32 4.3 วธิ กี ารใช้งาน 33 บทท่ี 5 สรปุ ผลการทำโครงการ 38 5.1 สรุปผลโครงการ 38 38 5.1.2 สรปุ ผลโครงการ 38 5.1.3 ขอ้ ผิดพลาดทม่ี ีในโปรแกรม 38 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน 39 5.3 สรปุ เวลาการทำงานจริง (Gantt Chart) 41 5.4 สรปุ คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินการจริง ฉ

สารบญั รปู หน้า 10 รูปท่ี 2.1 Android 1.5 Cupcake 11 รูปท่ี 2.2 Android 1.6 Donut 11 รูปที่ 2.3 Android 1.6 Dount (Interface) 12 รปู ท่ี 2.4 Android 2.0 – 2.1 Eclair 12 รปู ที่ 2.5 Android 2.0 – 2.1 Eclair (Interface) 13 รูปท่ี 2.6 Android 2.2 Froyo 13 รูปท่ี 2.7 Android 2.2 Froyo (Interface) 14 รปู ท่ี 2.8 Android 2.3 Gingerbread 14 รปู ที่ 2.9 Android 2.3 Gingerbread (Interface) 15 รูปท่ี 2.10 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb 15 รูปที่ 2.11 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb (Interface) 16 รูปที่ 2.12 Android 4.0 Ice Cream Sandwich 16 รูปที่ 2.13 Android 4.0 Ice Cream Sandwich (Interface) 17 รปู ที่ 2.14 Android 4-1 – 4-3 Jelly Bean 17 รปู ท่ี 2.15 Android 4-1 – 4-3 Jelly Bean (Interface) 18 รปู ที่ 2.16 Android 4.4 Kitkat 18 รปู ที่ 2.17 Android 4.4 Kitkat (Interface) 19 รูปท่ี 3.1 การแสดงการออกแบบ Sitemap 20 รูปท่ี 3.1 หนา้ แรก SIGN 20 รูปท่ี 3.2 เขา้ ส่รู ะบบ 21 รูปท่ี 3.3 หน้าเมนูไปเทคนคิ การใช้ 21 รูปที่ 3.4 เทคนิคท่ี 1 22 รูปที่ 3.5 เทคนคิ ท่ี 2 22 รูปท่ี 3.6 เทคนคิ ที่ 3 23 รปู ที่ 3.7 เทคนิคท่ี 4 23 รปู ที่ 3.8 เทคนิคที่ 5 24 รปู ท่ี 3.9 เทคนคิ ที่ 6 24 รูปที่ 3.10 เทคนิคท่ี 7 ช

สารบญั รปู หน้า 25 รปู ท่ี 3.11 แบบทดสอบ 1-10 25 รูปที่ 3.12 แบบทดสอบที่ 1 26 รูปท่ี 3.13 แบบทดสอบท่ี 2 26 รปู ที่ 3.14 แบบทดสอบท่ี 3 27 รูปที่ 3.15 แบบทดสอบท่ี 4 27 รปู ท่ี 3.16 แบบทดสอบที่ 5 28 รูปที่ 3.17 แบบทดสอบท่ี 6 28 รูปที่ 3.18 แบบทดสอบท่ี 7 29 รูปท่ี 3.19 แบบทดสอบที่ 8 29 รปู ที่ 3.20 แบบทดสอบที่ 9 30 รูปที่ 3.21 แบบทดสอบท่ี 10 30 รปู ที่ 3.22 แสดงหน้าผู้จัดทำ 33 รูปท่ี 4.1 หน้าเปดิ หน้า Thunkable 33 รปู ที่ 4.2 หน้าเข้าไปท่ี Test> Thunkable Live 34 รปู ที่ 4.3 หน้าคิว QR Code 34 รปู ท่ี 4.4 หนา้ โหลดโปรแกรม Thunkable ในโทรศัพท์ 35 และเขา้ โปรแกรม Thunkable 35 รูปท่ี 4.5 หนา้ เปดิ มาจะเป็นหน้าแบบนี้ และกดเข้า Scan QR Code 36 รูปท่ี 4.6 หนา้ สแกนเขา้ Scan QR Code 36 รปู ที่ 4.7 หน้าหลงั จากสแกน QR Code 37 รปู ท่ี 4.8 ตัวอย่าง QR Code 27 รปู ท่ี 4.9 สแกน QR Code รปู ที่ 4.10 หนา้ ตา่ งหลงั จากสแกน QR Code ซ

สารบญั ตาราง ตารางที่ 1.1 แผนการดำเนินงาน หน้า ตารางที่ 3.1 แสดงการออกแบบ 4 ตารางที่ 5.2 สรปเุ วลาทำงานจริง 19 39 ณ

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความสำคญั ของโครงการ ในยุคท่ีเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในสังคมแป็นอย่างมากเราจึงคิดค้นแอพพลิเคชั่นท่ี เหมาะสมในยุคปัจจุบันเพ่ือเข้าช่วยพัฒนาในด้านเทคโนโลยีละด้านการศึกษาควบคู่กันไปด้วยเพ่ือ สง่ เสริมให้เทคโนโลยีมบี ทบาทท่ีสำคญั ในสถานศึกษาและชีวิตประจำวัน และในปัจจุบันแอพพลิเคชั่น ก็มีบทบาทมากในชีวติประจาํวนั ไม่มีว่า จะเป็น แอพพลิเคช่ันด้านความบันเทิงแอพพลิเคชั่น ด้าน การศึกษาและต่าง ๆ อีกมากมายและในการสร้าง แอพพลเิ คช่ันก็ต้องอาศยั ความรู้ความสามารถไม่ใช่ น้อย ท้ังในด้านความชำนาญ และความรู้ในด้านการทำแอพพลิเคช่ัน ซ่ึงก็มีคนจำนวนไม่น้อยท่ีอยาก ลองสร้างแอพพลิเคช่ันของตัวเองข้ึนนมาแต่ไม่มีความรู้พ้ืนฐานในการสร้าง แอพพลิเคชั่นจึงไม่กล้าลง มือทำเพราะกลัวจะเสียเวลาและผลงานจะออกมาได้ไม่ดีหรอื อาจจะไม่สำเร็จเพราะคน บางคนท่ีไม่ได้ มีความรู้ด้านน้ีอาจจะไปกังวลในการเขียนโค้ดหรือการออกแบบ ทำให้ผู้ที่สนใจในการใช้ โปรแกรมที่ สามารถใช้สร้างแอพพลิเคชั่นข้ึนนมาได้ไม่อย่าก ก็คือโปรแกรม Thunkable เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจในการ สร้างแอพพลเิ คชั่น โปรแกรม Thunkable ไดศ้ กึ ษาผ่าน แอพพลิเคชน่ั ของเราก่อนลงมือปฏบิ ัติจริง แอพพลิเคชันของเราเป็นแอพพลิเคชั่นที่ถูกสร้างผ่านโปรแกรม Thunkable โดยใช้ได้ สำเร็จรูปท่ีมีอยู่ใน ตัวโปรแกรมในการสร้างแอพพลิเคช่ันข้ึนนมาและด้วยความที่สมาชิกในกลุ่มมี ความรู้ความเข้าใจในตัวโปรแกรม Thunkable ทำให้ผู้จัดทำมีความมั่น ใจที่จะสร้างแอพพลิเคชั่นนี้ ขึ้นมาและทำ เปน็ แอพพลิเคช่ัน ภายในตัวโปรศพัทท์มอื ถอื เพ่ือท่ีผู้จดั ทําจะได้พัฒนาฝีมอื ในการสรา้ ง แอพพลิเคชั่นไปใช้ประกอบอาชีพในอนาคต และการทำแอพลิชัน นตี้ ้องใช้โค้ดหลากหลายรูปแบบใน การสร้าง เช่น โค้ดการเปลี่ยนหน้า โค้ดการนบัตรคะแนนในการทำแบบทดสอบ โค้ดเสียงโคด้ในการ เพ่ิมลูกเล่นต่าง ๆ เข้าไปในแอพพลิเคช่ัน ซ่ึงเป็นโค้ดท่ีมีอยู่ภายในตัวโปรแกรมท้ังหมดแล้ว แต่ต้อง อาศัยความเข้าใจในโค้ดน้ัน ๆ ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้จะช่วยให้ผู้ใช้ได้มีความรู้ติดตัวไปใช้ในการสร้าง แอพพลเิ คช่นั ผ่านตวั โปรแกรม Thunkable ได้อีกดว้ ย ดังน้ัน แอพพลิเคช่ันนี้เราสร้างข้ึนมาเพ่ือช่วยให้ ผูท้ ี่สนใจในการสร้างแอพพลิเคชั่นแต่ยังไม่มี พื้นฐานใน การสร้างแอพพลิเคช่ันได้ศึกษาก่อนลงมือปฏิบัติจริงในการสร้างแอพพลิเคชั่น โปรแกรม Thunkable และเรา หวังว่า แอพพลิเคช่ัน นี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ใช้ท่ีจะได้รับความเข้าใจและ ประโยชน์กับผู้จัดทำท่ีจะได้พัฒนาฝีมือ ในการสร้างแอพพลิเคชั่นอ่ืน ๆ และสามารถต่อยอดเพ่ือเป็น 1

ประโยชน์ในการศึกษาตอ่ ไปในระดับการศกึ ษาท่สี ูง กวา่ และยงสั ามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ ในอนาคตได้อีกดว้ ย 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.2.1 เพอื่ สง่ เสริมการใชโปรแกรม Thunkable ในการสร้างแอพพลเิ คชนั ใหเ้ กิดประโยชน์ 1.2.2 เพื่อใหผ้ ้ใู ช้งานแอพพลิเคชนนั่ ไดม้ ีความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบัการสร้างแอพพลิเคชนัโดยใช้ โปรแกรม Thunkable มากข้ึน 1.2.3 เพ่ือนําความรทู้ ่ีได้จากการเรยี นในระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี สาขาวชิ าเทคโนโลยี สารสนเทศมา ประยุกต์ใชใ้ นการทำโคงการเร่อื ง แอพพลเิ คชนั สอ่ื การเรียนการสอนการ ใชง้ าน โปรแกรม Thunkable 1.3 ขอบเขตของโครงการ 1.3.1 เมื่อเขาสู้หนา้ แอพพลเิ คชน่ั จะมหี น้า Index หน้าของแอพลเิ คชนั 1.3.2 เม่อื คลกิ ทหี่ น้าจอจะเขาส่หู น้าเมนูของแอพพลเิ คชัน่ 1.3.3 หนา้ เมนูจะมีเขาสู่บทเรียนและแบบทดสอบใหเ้ ขา้ เลือก 1.3.3.1 เมนทู ี่ 1 เขา้ สู่บทเรียน จะมหี นา้ เมนปู รากฎข้ึนมาเพิ่มไดแ้ ก่การใชง่ า่ ยเบ้ืองตน้ Blocks และ เมนทู ่ี 1 จะเปน็ การใชงานเบื้องต้น - เมือ่ เข้า จะเป็นหน้าบทเรยี น สรา้ งโปรเจค - ถดั ไปจะเป็นหนา้ บทเรยี น Add Components - ถัดไปจะเปน็ หนา้ บทเรียน การเปลย่ี นชอ่ื Screen - ถดั ไปจะเป็นหนา้ บทเรียน การเพิ่ม Screen - ถดั ไปจะเปน็ หนา้ บทเรยี น การลบ Screen - ถดั ไปจะเปน็ หนา้ บทเรียน การเปลยี่ นชอื่ Screen - ถัดไปจะเปน็ หนา้ บทเรยี น อธบิ ายการปรบั ค่า เมนทู ี่ 2 จะเปน็ การใช้งาน Blocks - เมอ่ื เข้า จะเปน็ หนา้ ความหมายของ Blocks - ถดั ไปจะเป็นหน้าบทเรยี น Control - ถัดไปจะเปน็ หนา้ บทเรยี น Logic 2

– ถัดไปจะเปน็ หน้าบทเรยี น Math - ถดั ไปจะเปน็ หนา้ บทเรยี น Text - ถดั ไปจะเปน็ หน้าบทเรียน Lists - ถดั ไปจะเปน็ หน้าบทเรยี น Color - ถดั ไปจะเปน็ หน้าบทเรยี น Device - ถัดไปจะเปน็ หน้าบทเรียน Object - ถัดไปจะเป็นหนา้ บทเรยี น Variables - ถดั ไปจะเปน็ หน้าบทเรียน Functions 1.3.3.2 เมนูที่ 2 แบบทดสอบ จะมีหนา้ เมนปู รากฏขน้ึ มาเพ่ิมไดแ้ ก่แบบทดสอบการใช้งานและ แบบทดสอบ Blocks 1) เมนทู ี่ 1 จะเป็น แบบทดสอบการใช้งาน - เมื่อเขา้ จะเป็น ตอนที่ 1 แบบทดสอบ 4 ตัวเลอื กจำนวน 25ข้อ - ถดั ไปจะเปน็ ตอนท่ี 2 แบบทดสอบ เตมิ คาํ จำนวน 5 ข้อ 2) เมนูท่ี 2 จะเปน็ แบบทด Blocks - เมือ่ เข้า จะเป็น ตอนท่ี 1 แบบทดสอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 25 ขอ้ - ถัดไปจะเปน็ ตอนที่ 2 แบบทดสอบ เติมคําจำนวน 5 ข้อ 1.3.4 โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการสรา้ งแอพพลเิ คชัน 1.3.4.1 ใช้โปรแกรม Thunkable ในการสร้างแอพพลิเคชัน 1.3.4.2 ใชโ้ ปรแกรม Adobe Photoshop CC 2018 มาช่วยในการออกแบบรปู ภาพต่าง ๆ ใน แอพพลิเคชัน 1.3.4.3 ใชโ้ ปรแกรม Adobe Illustrator CC 2018 มาชว่ ยในการออกแบบรปู ภาพต่าง ๆ ใน แอพพลเิ คชัน 1.4 ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 1.4.1คดิ หัวขอ้ โครงการ 1.4.2 จดั ทำเอกสารแบบเสนอร่างโครงการ 1.4.3 เสนอหวั ข้อโครงการ 1.4.4 เสนอหัวข้อโครงการ ศึกษาโปรแกรม Thunkable 1.4.5 ศึกษาระบบของโปรแกรม Thunkable 1.4.6 ออกแบบหนา้ จอแอพพลเิ คชัน 1.4.7 จดั ทำเอกสารโครงการบทที่ 1 1.4.8 จดทั ำวธิ ีการใช้งานเบอ้ื งตน 3

1.4.9 จัดทำวธิ กี ารใชง้ าน Blocks 1.4.10 จดั ทำเอกสารโครงการบทที่ 2 1.4.11 จดทั าแํ บบทดสอบการใช้งานเบ้ืองตน้ 1.4.12 จัดทำแบบทดสอบการใชง้ าน Blocks 1.4.13 จัดทำเอกสารโครงการบทที่ 3 1.4.14 สอบโครงการบทท่ี 1-3 1.4.15 ปรับปรุงและแกไข 1.4.16 ติดตัง้ โปรแกรมลงในสมารทโฟน 1.4.17 ทดสอบการทำงานของแอพพลเิ คชัน 1.4.18 ตรวจสอบความเรียบร้อย 1.4.19 สอบโครงการแอพพลิเคชนั ส่อื การเรยี นการสอนการใช้งานโปรแกรม Thunkable 1.4.20 จดั ทำเอกสารโครงการบทที่ 4 1.4.21 จดั ทำเอกสารโครงการบทท่ี 5 1.4.22 จัดทำรูปเลม่ โครงการฉบบั สมบูรณ์ 1.5 แผนการดำเนินงาน (Gantt Chart) รายการ มิถนุ ายน 65 กรกฎาคม 65 สงิ หาคม 65 กนั ยายน 65 ระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 1 1234 1234 1234 1234 5-10 มิ.ย. 65 เสนอหัวขอ้ ATC.01 13 มิ.ย. 65 ประกาศผลรอบที่ 1 14-16 ม.ิ ย 65 17 มิ.ย. 65 เสนอหวั ข้อ รอบท่ี 2 13 -30 ประกาศผล รอบท่ี 2 มถิ ุนายน 65 เสนออาจารยท์ ่ี ปรกึ ษาร่วม ATC.02 ส่งเอกสารบทท่ี 1 14- ม.ิ ย. 65 สมบูรณ์ ถงึ 8 ก.ค. 65 ส่งเอกสารบทที่ 2 9-31 ก.ค. 65 สมบรู ณ์ 1-31 ส.ค. 65 สง่ เอกสาร บทที่ 3 สมบูรณ์ 4

สอบนำเสนอ 5-23 ก.ย. 65 โครงงานATC.03 ครง้ั ที่ 1 26-30 ก.ย. 65 สง่ เอกสารโครงงาน ปก ,บทที่ 1-3 ตุลาคม 65 รายละเอียดในการเขา้ พบทปี่ รึกษารว่ ม บรรณานกุ รม ATC 01-05 1234 ตดิ ตามความคบื หนา้ โปรแกรม โครงรา่ งชน้ิ งาน ออกแบบโลโก้ ชอ่ื แบรนด์ 3-9 ต.ค. 65 อาจารย์ท่ปี รกึ ษารว่ ม การลงเน้อื หา จัดวางรูปภาพ สีทใ่ี ช้ 10-16 ต.ค. 65 การเชอื่ มโยง การตงั้ ช่อื 17-23 ต.ค. 65 ส่งความคบื หน้าโปรแกรม 20 % ระบบเริม่ ใชง้ านได้ 24-31 ต.ค. 65 ส่งความคบื หน้าโปรแกรม 40 % ส่งความคืบหนา้ โปรแกรม 60 % สง่ ความคบื หนา้ โปรแกรม 80 % ตารางท่ี 1.1 แผนการดำเนินงาน 5

รายการ พฤศจิกายน 65 ธันวาคม 65 มกราคม 66 กุมภาพันธ์ 66 ระยะเวลา ภาคเรยี นที่ 2 12 3 4 1234 12 3 4 1 234 สง่ ความคืบหนา้ 1-7 พ.ย. 65 โปรแกรม 100 % 26 พ.ย. 65 สอบนำเสนอโครงงาน ระดับปวส.2 - ปวช.3 1-16 ธ.ค. 65 ATC.03 ครั้งที่ 2 1-30 ม.ค. 66 ส่ง ATC.06 20 ธ.ค. - ส่ง ATC.07 23 ม.ค. 66 31 มกราคม ส่งเอกสาร บทท่ี 4 สมบรู ณ์ 2566 ส่งเอกสาร บทท่ี 5 1-7 ก.พ.66 สมบรู ณ์ 8-14 ก.พ.66 15-19 ก.พ.66 บทคดั ยอ่ 20-27 ก.พ.66 กติ ติกรรมประกาศ คำนำ สารบญั สารบัญรูป สารบัญตาราง ประวัตผิ ู้จัดทำ หนา้ อนมุ ัติ ภาคผนวก ATC.04-05 ส่งเล่มโครงงาน 28 ก.พ.66 สง่ ไฟลเ์ อกสาร Word PDF โปรแกรม ไฟลรวม PDF ไม่เกนิ 10 มนี าคม 2566 ตารางท่ี 1.1 แผนการดำเนินงาน (ตอ่ ) 1.6 เครือ่ งมือทีใ่ ชพ้ ัฒนาโปรแกรม 1. โปรแกรม Photoshop 2022 ใชส้ ำหรับตกแตง่ และแกไ้ ขรปู ภาพ 2. โปรแกรม Microsoft Word 2019 ใชใ้ นการทำเอกสาร 3. โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2020 ใชใ้ นการนำเสนอ 6

1.7 งบประมาณการดำเนนิ งาน จำนวน ราคา(บาท) 2 รมี 300 ลำดับ รายการ 1 ตลับ 450 1 กระดาษ A4 1 เล่ม 150 2 ตลับหมกึ พิมพ์ 1 อนั 300 3 ค่าเข้าเล่ม 1 ซอง 20 4 คา่ แฟลชไดร์ 5 ค่าซองใสเ่ อกสาร 1,220 รวมเป็นเงิน 7

บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในการศึกษาผลงานที่เก่ียวข้องกับ แอพพลิเคชั่นส่ือการเรียนการสอนการใช้งานโปรแกรม Thunkable โดยใช้โปรแกรม Thunkable ซึ่งนับว่าเป็นเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญมากจะ ทำใหโ้ ครงการมคี วามครบถว้ นสมบรู ณม์ ากข้นึ คณะผ้จู ัดการทำไดแ้ บ่งเอกสารและทฤษฎที ่เี ก่ียวข้องออกเป็นหัวข้อดังน้ี 2.1 ความตอ้ งการของระบบที่เหมาะสม 2.2 ทฤษฎรี ะบบปฏบิ ตั ิการ Android 2.3 ทฤษฎรี ะบบปฏบิ ตั กิ าร IOS 2.4 หลักการใช้สี 2.5 หลักการออกแบบแอพพลิเคชนั 2.6 หลักการออกแบบโลโก้ 2.7 เทคนิคการตกแตง่ ภาพ 2.8 รปู แบบคำส่ังของโปรแกรม 2.9 ทฤษฎโี ปรแกรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง 2.1 ความต้องการของระบบที่เหมาะสม 2.1.1 ระบบปฏบิ ัตกิ ารของ Android ขึน้ ไป 2.1.2 ระบบปฏิบัติการของ IOS 10 ขน้ึ ไป 2.1.3 หนว่ ยความจำขนาด ต่ำ 2 GB 2.1.4 พืน้ ทีไ่ มเ่ กิน100 MB 2.1.5 จอโทรศัพท์ขนาดท่เี หมาะสม 4.7-5.5 นิ้ว 2.2 ทฤษฎีเก่ียวกับแอนดรอยด์ แอนดอย (อังกฤษ: Android) เป็นระบบปฏิบัติการที่มีพ้ืนฐานอยู่บนลินุกในอดีตถูก ออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ทใ่ี ชจ้ อสัมผัส เชน่ สมารต์ โฟน และแท็บเล็ดคอมพวิ เตอร์ปัจจบุ ันได้ แพร่ไป ยงั อุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตรฐานเปิด เชน่ Nikon S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดอย หม้อ หุงข้าว Panasonic ระบบแอนดรอยด์ และ Smart TV ระบบแอนดรอยด์รวมถึงกล่อง เสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอยด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซ่ึงต่อมากูเกิลได้ทำการซื้อต่อบริษัทใน 7

ปีพ .ศ. 2548 แอนดรอยด์ถูกเปิดตัวเมื่อ ปี พ.ศ.2550 พร้อมกบัการก่อตั้งโอเพนแฮนเซตอันไลน์แอน ซง่ึ เปน็ กลุ่มของบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์และการ สื่อสาร คมนาคม ท่ีร่วมมือนักสร้างมาตรฐานเปิดสำหรับอุปกรณ์พกพาโดยสมาร์ตโฟนท่ีใช้ ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์เคร่อื งแรกของโลกคือเอชทซี ีดรีม วางจำหนา่ ยเมอ่ื ปพี .ศ. 2551 แอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ และกูเกิลได้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธ์ิอาปาเช ซึ่ง โอเพนซอร์ซจะอนญุ าตใหผ้ ู้ผลิตปรับแตง่ และวางจำหนา่ ยได้ (ภายใต้เงือ่ นไขทก่ี ูเกลิ กำหนด) รวมไปถึง นักพัฒนาและผู้ให้บริการเครือข่ายด้วยอีกทั้งแอนดรอยด์ยังเป็นระบบปฏิบัติตการท่ีรวมนักพัฒนาที่ เขียนโปรแกรมประยุกต์ มากมาย ภายใต้ภาษาจาวา ในเดือนตุลาคม พ .ศ. 2555 มโี ปรแกรมมากกวา่ 700,000 โปรแกรม แอนดรอยด์เปน็ ระบบปฏิบตั ิการโอเพนซอร์ และกูเกิลได้เผยแพร่ภายใต้ลิขสทิ ธิ์อาปาเช ซ่ึงโอเพนซอร์ ซจะอนุญาตให้ผู้ผลิตปรับแต่งและวางจำหน่ายได้ (ภายใต้เง่ือนไขท่ีกูเกิลกำหนด) รวมไปถึงนักพัฒนา และผู้ให้บริการเครือข่ายด้วยอีกท้ังแอนดรอยด์ยังเป็นระบบปฏิบัติตการที่รวม นักพัฒนาท่ีเขียน โปรแกรมประยุกต์ มากมาย ภายใต้ภาษาจาวา ในเดือนตุลาคม พ .ศ. 2555 มีโปรแกรมมากกวา่ 700,000 โปรแกรมสำหรับแอนดรอยด์และยอดดาวน์โหลดจากกูเกิลเพล มากถึง 2.5 หม่ืนล้านคร้ัง จากการสำรวจในช่วงเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม ในปีพ.ศ. 2556 พบว่า แอนดรอยด์เป็น ระบบปฏิบตั ิการที่นักพฒั นาเลอื กที่จะพัฒนาโปรแกรมมากที่สุด ถึง 71% ปัจจัยเหล่านี้ทำให้แอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัตกิ ารที่ใชก้ ันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันนําหน้า ซมิ เบียน ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2553 และยังเป็นทางเลือกของผผู้ ลิตทจี่ ะใช้ซอฟตแ์ วร์ ท่ีมีราคา ตํ่า, ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ดี สำหรับอุปกรณ์ในสมัยใหม่แม้ว่าแอนดรอยด์จะดูเหมือน ได้รับการพฒั นาเพื่อใช้กับสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ดแต่มนั ยังสามารถใช้ไดก้ ับ โทรทัศน์,เคร่ืองเล่นวิดโิ อ เกม,กล้องดิจิทัลและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืน ๆ แอนดรอยด์เป็นระบบเปิดทำให้นักพัฒนาสามารถ พฒั นาคุณสมบตั ใิ หมๆ่ ไดต้ ลอดเวลา ส่วนแบ่งทางการตลาดของสมาร์ตโฟนแอนดรอยด์นำโดยซัมซุง มากถึง 64% ในเดือน มีนาคม พ.ศ. 2556 เดือนกรกฎาคม พ .ศ. 2556 มีอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มากถึง 11,868 รุ่น จาก 8 เวอร์ชั่น ของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ความสำเร็จของระบบปฏิบัติการทำให้ เกิดคดีด้านการละเมิดสิทธิบัตรท่ีเรียกกันว่า \"สงครามสมาร์ตโฟน \" (smartphone wars) ระหว่าง บริษัทผู้ผลิต ในเดือนพฤษภาคม พ .ศ. 2556 โปรแกรม 4.8 หม่ืนล้านโปรแกรมได้รับการติดตั้งบน อุปกรณ์จากกูเกิลเพลและในวัน ท่ี 3 กันยายน พ.ศ. 2556 มีอุปกรณ์ท่ีใช้ระบบปฏิบัติการแอน ดรอยด์ 1 พันลา้ นเครือ่ ง ไดถ้ กู เปดิ ใชง้ าน 8

2.2.1 ประวัติของแอนดรอยด์ บริษัทแอนดรอยด์ก่อต้ังข้ึนท่ีพาโลอันโตรัฐแคลิฟอร์เนียใน เดือนตุลาคม พ .ศ. 2546 โดยแอนดี รูบิน (ผู้รวมก่อตั้งบริษัทแดนเจอร์), ริช ไมร์เนอร์ (ผู้ร่วมก่อต้ัง บริษัทไวลด์ไฟคอมมูนิเคชั่น)นิกเซีย(ซึ่งเคยเป็นรองผู้จัดการที่ทีโมบายล์)และคริซไว(หัวหน้าฝ่าย ออกแบบและ การพัฒนาอินเตอร์เฟสท่ีเว็บทีวี) สำหรับการพัฒนาน้ัน จากคำพูดของรูบิน \"โทรศัพท์มือถือที่มีความฉลาดขึ้นและตระหนกัถึงสถานที่ของเจา้ของมากข้ึน \"จุดประสงค์แรกของ บริษัทคือการพัฒนาระบบปฏิบัติสำหรับการกล้องดิจิทัลแต่เม่ือถูกตระหนักว่า ไม่ใช่ตลาดที่กว้างพอ และต่อมาได้เบ่ียงเบนความพยายามเพ่ือที่จะทำระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ตโฟน เพ่ือแข่งกับ ซิ มเบียน และ วินโดวโมบาย (ในขณะนั้น ไอโฟน ยังไม่ได้วางขาย ) แม้จะมีประวัติความสำเร็จของผู้ ก่อตัง้ และพนักงานของบริษัทในช่วงแรก บริษทั แอนดรอยดไ์ ดด้ ำ เนินการอย่างเงียบๆ ให้เห็นเพียงว่า เป็นบริษัท ท่ีผลิตระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือในปีเดียวกัน รูบิน ไม่มีเงินเหลือแล้ว สตีฟ เพอร์ละแมน เพื่อนสนิทของรูบิน ได้ให้ยืมเงิน 10,000 ดอลลาร์สหรัฐโดยส่งเงินใส่ในซองมา ให้ และ ปฏิเสธทีจ่ ะถือหนุ้ ในบรษิ ัท กูเกิลได้ซื้อกิจการบริษัทแอนดรอยด์ในวัน ท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เพ่ือให้มาเป็นบริษัท ยอ่ ยในเครือของกูเกลิ โดยบุคคลสำคัญ ของบรษิ ทั แอนดรอยดท์ ง้ั รูบิน,ไมร์เนอร์และไวยังอยูก่ ับ บริษัท หลังจากถูกซ้ือกิจการ มีผู้คนไม่มากท่ี รู้จักบริษัทแอนดรอยด์ในช่วงเวลานั้น แต่หลายคน สันนิษฐาน ว่า กูเกิลกาํลงัวางแผนที่จะเข้ามาสู่ตลาดโทรศัพท์มือถือจากการซื้อกิจการครั้งน้ี ท่ีกูเกิลรูบินนำทีมท่ี จะพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือซ่ึงขับเคล่ือนโดยลินุกเคอร์ เนลในตลาดมือถือของกู เกิลจะมีสัญญากับให้ผู้บริการเครือข่าย ต่อมากูเกิลได้เร่ิมวางแผนในเรื่อง ของส่วนประกอบฮาร์ดแวร์, ซอฟตแ์ วร์และผใู้ ห้บรกิ ารเครอื ขา่ ย ความตั้งใจของกูเกิล ที่จะเข้าสู่ตลาดเคร่ืองมือส่ือสารอย่างโทรศัพท์มือถือได้มาถึงช่วง เดือน ธันวาคม พ .ศ. 2549 ตามรายงานของบีบีซี และ วอลละ ตรีตเจอร์นัน ได้ตั้งข้อสังเกตว่า กูเกิล พยายามท่ีจะผลิตโทรศัพท์มือถือที่ใช้สำหรับค้น หาและใช้โปรแกรมประยุกต์ หรือ แอปพลีเคชั่น ได้ และกเู กลิ ได้ทำงานอยา่ งหนักเพ่อื สงิ่ น้แี ละมขี ่าวลอื ว่า กูเกิลจะพัฒนา โทรศพั ทม์ ือถือภายใต้ช่ือ สนิ ค้า ของตนเอง บางคนก็สันนิษฐานว่า กูเกิลจะกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของโทรศัพท์มือถือและ ส่งให้กับ ผู้ผลิต และผู้ให้บริการเครือข่ายในเดือนกนัยายน พ .ศ. 2550 อินฟอร์เมชนัวกี (InformationWeek) ร่วมมือกับเอวาลูเซิร์ฟ (Evalueserve) เพื่อที่จะศึกษารายงานของกูเกิลในการ ยื่นสิทธิบัตรเก่ียวกับ โทรศพั ท์มอื ถอื ในวันท่ี 5 พฤศจิกายน พ .ศ. 2550 โอเพนแฮนเซตอันไลน์แอนซ่ึงเป็นกลุ่มพันธมิตรใน ด้าน เทคโนโลยีซึ่งรวมไปด้วยกูเกิล กับผู้ลิตอุปกรณ์เช่น เอชทีซี, โซน่ี และ ซัมซุง รวมไปถึงผู้ให้บริการ เครือข่ายเช่น สะปรินเน็ตแลทและ ทีโมบายล์และบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์เช่น ควอลคอมและเท็กซัดอิน สตรเู มนได้ 9

เปิดเผยในเป้าหมายเพื่อการพัฒนาโทรศัพท์มือถือท่ีมีมาตรฐานเปิด ใน วันเดียวกัน แอน ดรอยด์ได้เปิดตัวสินค้าช้ินแรก ซ่ึงเป็นแพลตฟอร์มโทรศัพท์มือถือ สร้างบนลินุก เคอร์เนล 2.6 ส่วน โทรศพั ท์มือถอื เคร่อื งแรกที่ใช้ระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยด์คือเอชทซี ี ดรีม เปิดตัวเมื่อวนั ท่ี 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในปี พ .ศ. 2553 กูเกิลไดเ้ ปิดตวั กเู กลิ เนต็ แลทซึ่งเปน็ ซรี ่ีหรือตระกลูของอปุ กรณ์ ที่ใช ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยดโ์ ดยไมป่ รับแต่งใดๆ จากผู้ผลติ ซึ่งผลิตโดยผผู้ลิตทเ่ี ปน็ พารต์ เนอรก์ บั กู เกิล โดยเอชทีซรี ่วมมือกับกูเกิลในการเปิดตวั สมารต์ โฟนเน็ตซัดรุ่นแรก มีชื่อวา่ เน็ตซัดวนั โดยซีร่ีนี้จะ ไดร้ บั การอัปเดตรุ่นใหมก่ ่อนอุปกรณอ์ ืน่ ๆ กูเกิลไดเ้ ปิดตวั โทรศัพทแ์ ละ แท็บเล็ดซ่ึงเป็นรุ่นเรือธงของแอนดรอยด์โดยจะใช่ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์รุ่นล่าสุดของแอน ดรอยด์ต่อมาในวนั ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556แอนดี รูบิน ได้ถูกย้ายจากฝ่ายแอนดรอยด์ ไปยังฝ่าย การผลิตใหม่ของกูเกิลซ่ึงตำแหน่งของรูบิน ถูกแทนท่ีด้วยซันดาพิชย์ ที่จะทาํงานในตำแหน่ง หัวหนา้ ของฝา่ ยกูเกิลโครมดว้ ย ซง่ึ งเขาเปน็ ผ้พู ฒั นาโครมโอเอส ทีม่ า : (https://pinlert.wordpress.com/ประวัติ-android/) 2.2.2 ประเภทของแอนดรอยด์ 2.2.2.1 Android Opensource Project (AOSP) เป็นระบบปฏิบตั กิ ารแรกท่ี Google เปดิ ใหส้ ามารถดาวน์โหลด Source Code ไปตดิ ต้งั และใชงานในอุปกรณต์ า่ งๆได้โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ย 2.2.2.2 Open Handset Mobile (OHM) เป็นแอนดรอยไดร้ ับการพฒั นารว่ มกับ Open HandsetAlliances (OHA) ซง่ึ บรษิ ทั เหล่านี้จะพัฒนาระบบ Android ในแบบฉบับของตนเอง โดยมี รปู ร่างหนา้ตาการแสดงผลที่แตกต่างนักรวมไปถงึ อาจจะมเี อกลกัษณ์และรูปแบบการใช้งานเปน็ ของ แตล่ ะบริษัท และโปรแกรมแอนดรอยป์ ระเภทน้ีกจ็ ะไดร้ บั สทิ ธิบริการเสรมิ ตา่ ง ๆ จาก Google ท่ี เรยี กวา่ GMS (Google Mobile Service) ซ่ึงเปน็ บริการเสริมทที่ ำให้ Android มปี ระสทิ ธิภาพมาก ข้นึ น่ัน เอง 2.2.2.3 Cooking or Customize เป็นระบบแอนดรอยด์ที่นักพัฒนานาํ เอา Source Code จากแหล่งต่าง ๆ มาปรับแต่งให้อยู่ นแบบฉบับของตนเอง ซ่ึงการพัฒนาปลดล็อคสิทธิในการ ใช้งาน อุปกรณ์ (Unlock) เสียก่อนจึงจะสามารถติดต้ังได้ที่น้ีระบบแอนดรอยป์ ระเภทน้ีถือเป็น ประเภทที่มี ความสามารถสูงสุด เนื่องจากได้รับการปรบั แตง่ ขีดความสามารถต่าง ๆ ให้มีความเข้า กันได้ อุปกรณ์ นั้น ๆ จากผใู้ ชง้ านจรงิ 10

1. Android 1.5 Cupcake รปู ท่ี 2.1 Android 1.5 Cupcake 11

รูปที่ 2.2 Android 1.6 Donut ท่มี า : ออนไลน์ (https://mobile.kapook.com/view6511.html) 2.2 Android 1.6 Donut อปั เดตเม่ือวันท่ี 15 กนัยายน 2009 เปน็ การอปั เดตเล็ก ๆ ทป่ี รบั ปรุงและเพิ่มฟเี จอร์เล็กน้อย รูปที่ 2.3 Android 1.6 Donut (Interface) 2.3 Android 1.6 Donut (Interface) 12

รปู ที่ 2.4 Android 2.0 - 2.1 Éclair 2.4 Android 2.0 -2.1 Eclair หลังอัปเดตเวอรช์ น่ั 1.6 ไดเ้ พียงเดือนเดียว กเู กลิ ก็ออก Android 2.0 เมื่อวันท่ี 26 ตุลาคม 2009 โดยไดป้ รบั ปรุงอินเทอร์เฟซใหด้ สู วยงามและทันสมัยมากขนึ้ สามารถเพม่ิ บัญชเี พอื่ Sync ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ อยา่ งอเี มลและ contads ได้รวมท้งั รองรับ รูปท่ี 2.5 Android 2.0 – 2.1 Éclair (Interface) 2.5 Android 2.0 – 2.1 Eclair (Interface) 13

รูปท่ี 2.6 Android 2.2 Froyo กเู กลิ ได้ปลอ่ ยอปั เดต Android 2.2 เม่อื วันที่ 20 พฤษภาคม 2010 โดยช่อื Froyo นอ้ ยมา จาก Frozen Yogurt เน้นปรบั ปรงุ ด้านประสิทธิภาพใหใ้ ชง้ านได้ลน่ื ไหลกวา่ เดิมพร้อมฟเี จอร์ใหม่ อยา่ ง USB และ WI-FI hotspot รปู ท่ี 2.7 Android 2.2 Froyo (Interface) 14

2.7 Android 2.2 Froyo (Interface) รปู ที่ 2.8 Android 2.3 Gingerbread 2.8 Android 2.3 Gingerbread เปิดตวั เมอื่ วันท่ี 6 ธันวาคม 2010 เปน็ เวอร์ชน่ั ทม่ี ีการปรบั ปรุงอนิ เทรอ์เฟรชให้ใช้งานง่าย และลนื่ ไหลมากขึ้น มี Download Manager สำหรับชว่ ยจดั การดาวโหลด รองรับเซน็ เซอร์ Gyrosocopes และ 15

รูป 2.9 Android 2.3 Gingerbread (Interface) 2.10 รปู ท่ี Android 3.0 – 3.2 Honeycomb เปิดตัวเม่ือวนั ท่ี 22 กุมภาพนั ธ์ุ 2011 เปน็ Android 3.0 เป็นรุ่นแรกก็คอื Motorola Xoom 16

รูปท่ี 2.11 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb (Interface) 2.11 Android 3.0 – 3.2 Honeycomb (Interface) รปู ที่ 2.12 Android 4.0 Ice Cream Sandwich 2.12 Android 4.0 Ice Cream Sandwich เปิดตวั เม่ือวันที่ 18 ตลุ าคม 2011 โดยกูเกลิ ประกาศว่า Android 4.0 จะรองรับอปุ กรณ์ทุก รนุ่ ท่ีกำลงั ใช้ Android2.3.xอยใู่ นขณะน้ัน และเป็นเวอร์ชน่ั สดุ ทา้ ยที่รองรบั Adobe Flash ซง่ึ ใน ฟีเจอรน์ ี้ก็มีการปรบั ปรงุ และเพมิ่ ฟเี จอร์ใหมๆ่ มากมายและเปน็ เวอรช์ นั่ แรกสำหรบั มือถือรองรับปุ่ม Navigation หลักบนหน้าจอเหมอื นกับ Android3.x แลว้ 17

รูปที่ 2.13 Android 4.0 Ice Cream Sandwich (Interface) รปู ที่ 2.14 Android 4.1 – 4.3 Jelly Bean 2.14 Android 4-1 – 4-3 กลู เกลิ เปิดตวั Android 4.1 ใบงาน Google I/O เมือ่ วันท่ี 27 มถิ ุนายน 2012 โดยเวอร์ชน่ั น้ี ไดเ้ น้นไปทก่ี ารทำงานและประสิทธิภาพของอินเทอร์เฟรซ ใช้งานได้ลนื่ ไหลมากขึ้น โดยอุปกรณ์รุ่น แรกท่ีไดใ้ ช้ Android 4.1 ก็คือแทบ็ แลต็ ปี 7 ท่ีวางจำหน่ายในวันที่ 13 กรกฏาคม 2012 18

รูปที่ 2.15 Android 4.1 – 4.3 Jelly Bean (Interface) รูปที่ 2.16 Android 4.4 Kitkat 2.16 Android 4.4 Kitkat Android 4.4 เปดิ ตวั เมอ่ื วันท่ี 3 กนั ยายน 2013 ซึ่งในตอนแรกมชี ่ือเรียกกันภายในวาา Key Lime Pie แต่เน่ืองจากเป็นขนมทค่ี ่อยไดร้ บั ความนยิ มจึงถูกเปลยี่ นเปน็ KitKat ในภายหลงั เปน็ 19

Android เวอร์ช่ัน ทเี่ หมาะสำหรับอุปกรณ์ทม่ี แี รม 512MB ขนึ้ ไป โดยก่อนเปดิ ตวั ได้มกี ารคาดเดากัน วา่ Android K จะเป็นเวอร์ รูปที่ 2.17 Android 4.4 Kitkat (Interface) 20

บทท่ี 3 การออกแบบระบบงานด้วยคอมพวิ เตอร์ 3.1 การออกแบบผังโครงสร้างแอพพลิเคชน่ั (Site Map) หนา้ แรก หน้าแรก บทเรียน แบบทดสอบ ผู้จัดทำ เทคนิคท่ี 1 แบบทดสอบหลงั เทคนคิ ที่ 2 เรยี น เทคนคิ ที่ 3 เทคนิคท่ี 4 เทคนิคท่ี 5 เทคนคิ ท่ี 6 เทคนิคท่ี 7 รูปที่ 3.1 แสดงการออกแบบ Sitemap 19

3.2 การออกแบบแผนภาพแนวความคดิ (Story Board Design) รูปที่ 3.1 หน้าแรก SIGN 20

รูปท่ี 3.2 เข้าสรู่ ะบบ รูปที่ 3.3 หน้าเมนูไปเทคนคิ การใช้ 21

รูปท่ี 3.4 เทคนิคที่ 1 รปู ที่ 3.5 เทคนิคท่ี 2 22

รูปท่ี 3.6 เทคนิคที่ 3 รปู ที่ 3.7 เทคนิคท่ี 4 23

รูปที่ 3.8 เทคนิคที่ 5 รปู ที่ 3.9 เทคนิคท่ี 6 24

รปู ท่ี 3.10 เทคนคิ ท่ี 7 รปู ท่ี 3.11 แบบทดสอบ 1-10 25

รูปที่ 3.12 แบบทดสอบที่ 1 รปู ที่ 3.13 แบบทดสอบท่ี 2 26

รปู ที่ 3.14 แบบทดสอบที่ 3 รปู ท่ี 3.15 แบบทดสอบท่ี 4 27

รูปที่ 3.16 แบบทดสอบที่ 5 รปู ที่ 3.17 แบบทดสอบท่ี 6 28

รูปที่ 3.18 แบบทดสอบที่ 7 รูปท่ี 3.19 แบบทดสอบท่ี 8 29

รูปท่ี 3.20 แบบทดสอบที่ 9 รูปท่ี 3.21 แบบทดสอบที่ 10 30

รปู ที่ 3.22 แสดงหนา้ ผู้จัดทำ 3.3 การออกแบบส่ิงนำเขา้ (lnput Desing) 1. สามารถติดตัง้ บนระบบปฏบิ ตั ิการ Android และ ระบบปฏบิ ตั กิ าร iOS ได้ 2. เว็บไซต์สร้างแอพพลเิ คชั่นสำหรับมอื ใหม่ ทใี่ ห้เราสามารถทจ่ี ะเขา้ ไปสร้าง mobile app สวยๆ ใชง้ านได้ 3. เราสามารถสรา้ ง mobile app ตง้ั แต่ระดบั งา่ ยๆถึงยาก 4. การเขยี นโปรแกรมเปน็ บลอ็ ก 5. เขา้ ใชง้ านโดยใช้ผู้ใชง้ านจาก Google 6. ช่วยในการเขยี นโปรแกรมง่ายมากขนึ้ 7. มเี คร่ืองมือและชุดคำสั่งทใี่ ชร้ ูปแบบของ Blockly 3.4 การออกแบบสิง่ นำออก (Output Design) 1. โปรแกรมคำนวณตัวเลขอย่างง่าย 2. โปรแกรมสุม่ ตวั เลข 3. โปรแกรมฝึกเขียนตัวอกั ษร 4. โปรแกรมฝึกวาดภาพ 5. โปรแกรมประยุกตด์ ้านงานตา่ งๆ ท่ีใชฐ้ านขอ้ มูล 6. โปรแกรมนับการเดนิ 7. โปรแกรมวเิ คราะห์อารมณ์ 31

บทท่ี 4 การดำเนินงาน 10 วธิ กี ารใช้ Thunkable 4.1 อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการศึกษาและพฒั นาโครงงาน 1.1 ฮารด์ แวร์ 1) คอมพวิ เตอร์ (computer) Intel Core i5-6500 ram 16 GB 3200hz GTX 1660 2) โทรศพั ท์ (telephone) oppo 3) โปรแกรม Thunkable 4) เคร่อื งปริ้น 1.2 ซอฟต์แวร์ 1) โปรแกรม Thunkable 2) Quick Response Code (QR Code) 4.2 ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน 1) เริ่มตน้ แบ่งกลมุ่ เลอื กโครงงาน 2) คดิ หวั ข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูทป่ี รึกษาเกีย่ วกบั โครงงาน 3) ศึกษาคน้ และควา้ ขอ้ มลู ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองทีส่ นใจ คือเร่ืองโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ช้และ ศกึ ษาค้นคว้เพิ่มเตมิ จากเว็บไซตต์ า่ งๆ และรวบรวมเกบ็ ข้อมูลเพอื่ จดั ทาเน้ือหาต่อไป 4) ศึกษาการสรา้ งเว็บไซตโ์ ดยใช้โปรแกรม Thunkable จากเอกสารและเว็บไซต์ต่างๆทเ่ี สนอ เทคนคิ ต่างๆเก่ยี วกบั การสรา้ งโปรแกรม 5) จดั ทาโครงรา่ งโครงงานเพื่อนาเสนอครทู ป่ี รกึ ษาเก่ยี วกบั โครงงาน 6) ออกแบบโปรแกรมเช็คช่ือการเข้าแถวโดยสรา้ งจากความรขู้ ้อมูลทีไ่ ด้ศึกษามาได้ 7) สรา้ งและพัฒนาโปรแกรมการเชค็ ช่ือการเข้าแถว 8) นำสือ่ ไปให้กบั คณุ ครทู ป่ี รึกษาเกีย่ วกับโครงงานได้ตรวจสอบ พร้อมกับรบั ข้อเสนอแนะจากครู ท่ปี รกึ ษา เพือ่ นามาข้อเสนอแนะดังกล่าวมาแก้ไขโครงงานเพ่ือให้เกิดความสมบรู ณ์ท่สี ดุ 9) สรุปผลและทำรายงานการสรปุ ผลของโปรแกรมการเช็คชอื่ 10) ทำเอกสารรายงานโครงงานคอมพวิ เตอร์ เรอ่ื งการพัฒนาโปรแกรมเช็คชื่อการเข้าแถวและ คู่มือการใชง้ าน 11) จดั ทำแผงโครงงานและนำเสนอ 32

รูปที่ 4.1 หน้าเปิดหนา้ Thunkable รูปที่ 4.2 หน้าเข้าไปท่ี Test > Thunkable Live 33

รปู ท่ี 4.3 หน้า QR Code รปู ท่ี 4.4 หน้า โหลดโปรแกรม Thunkable ในโทรศัพทแ์ ละเข้าโปรแกรม Thunkable 34

รปู ที่ 4.5 หน้าเปิดมาจะเปน็ หนา้ แบบน้ี และกดเขา้ Scan QR Code รปู ท่ี 4.6 หนา้ สแกนเข้า Scan QR Code 35

รปู ที่ 4.7 หน้าหลงั จากสแกน QR cord รูปท่ี 4.8 ตัวอยา่ ง QR CODE 36

รูปที่ 4.9 สแกน QR CODE รปู ที่ 4.10 หนา้ ตา่ งหลงั จากสแกน QR CORE 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook