Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความปวดประจำเดือนและการดูแลตนเองในการจัดการความปวดของนักศึกษาพยาบาล

ความปวดประจำเดือนและการดูแลตนเองในการจัดการความปวดของนักศึกษาพยาบาล

Published by jnlbcnsp, 2019-03-07 22:13:27

Description: นววรรณ ชนะชัย, นาฏอนงค์ ดำพะธิก, นุชนาฏ พันธุลี, นุสรา ประเสริฐศรี

Keywords: ปวดประจำเดือน,นักศึกษาพยาบาล,การจัดการความปวด,การดูแลตนเอง

Search

Read the Text Version

[วารสารวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท1่ี ฉบับท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) ความปวดประจําเดอื นและการดูแลตนเองในการจัดการความปวด ของนักศกึ ษาพยาบาล นววรรณ ชนะชยั พยบ01 , นาฏอนงค ดําพะธกิ พยบ12 นุชนาฏ พันธลุ ี พยบ23 , นสุ รา ประเสรฐิ ศรี ปรด.พยาบาล34 บทคัดยอ ปวดประจําเดือนเปนปญหาและสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตวัยรุนหญิง ยังมีขอมูลจํากัด เกย่ี วกบั ความปวดประจําเดือนและการดูแลตนเองของนักศึกษาพยาบาล วัตถุประสงคของงานวิจัยเชิง พรรณนาภาคตัดขวางคร้ังนี้เพ่ือศึกษาอุบัติการณ อาการของความปวดประจําเดือนและการดูแล ตนเองในการจัดการความปวด ของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิ ประสงค กลุมตัวอยางสุมอยางงาย เปนนักศึกษาพยาบาลทั้งหมด 202 คน เคร่ืองมือเก็บขอมูล ประกอบดวย 3 สวน 1) ขอมูลสวนบุคคล 2) Brief Pain Inventory (BPI) ฉบับภาษาไทย และ 3)แบบ ประเมินการดูแลตนเองในการจัดการความปวด ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางมีอายุเฉล่ีย 21.02 ± 1.23 ป สวนใหญมีประสบการณปวดประจําเดือนรอยละ 92.7 ความปวดมากที่สุดในวันแรกของรอบ ประจําเดือนรอยละ 92.5 คาเฉล่ียของความปวดมากที่สุดเทากับ 5.4 (SD ± 2.9) และความปวดเฉลี่ย เทากับ 3.9 (SD ± 1.7) ผลกระทบของของความปวดความรุนแรงอยูในระดับกลางคาเฉล่ียอยูระหวาง 3.9 ถึง 5.4 ซึ่งผลกระทบดานอารมณมีคาเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 5.4 (SD ± 2.9) รอยละ 48 ของกลุม ตวั อยา ง ดูแลตนเองจัดการความปวดดวยการใชยาและเรียนรูดวยตนเองและสวนใหญกลุมตัวอยางใช วธิ ีการไมใชยาในการบรรเทาความปวดประจําเดือน โดยการเรียนรูจากหลายแหลง นักศึกษาบางสวน ยังมีความปวดประจําเดอื นในระดับกลาง ดงั น้ันควรใหคําแนะนําปรึกษาสาเหตุและวิธีการจัดการความ ปวดประจําเดอื นทมี่ ีประสิทธภิ าพตอไป คาํ สําคญั : ปวดประจาํ เดือน นักศึกษาพยาบาล การจัดการความปวด การดแู ลตนเอง 1 โรงพยาบาลวารินชาํ ราบ อุบลราชธานี 2 โรงพยาบาลนาตาล อบุ ลราชธานี 3 โรงพยาบาลเดชอดุ ม อุบลราชธานี 4 ภาควชิ าการพยาบาลผใู หญแ ละผสู งู อายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค 54

[วารสารวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค] ปท1่ี ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) Dysmenorrhea and Self Pain Management of Nursing Students Navawan Chanachai, RN, BSN1 , Natanong Dompathic, RN, BSN2 Nutchanat Panlee, RNBSN3 , Nusara Prasertsri, RN, PhD4* Abstract Dysmenorrhea is the problem that effect on the quality of life in female adolescence, however there was limitation information of dysmenorrhea and self-care of nursing students. The aim of this cross-sectional descriptive design was to study the prevalence, symptoms of dysmenorrhea, and self-care management strategies in a group of nursing students. A simple random sample of 202 nursing students was included in the study. The instrument for collecting data comprised 3 parts included general personal data, Brief Pain Inventory (BPI) Thai version, and self-care of pain management. The mean age of the participants was 21.02 ± 1.23 years. Most students had experienced dysmenorrhea (92.7%). Menstrual pain was frequently initiated on the first day of menstruation (92.5%). The mean pain intensity of dysmenorrhea was the worst pain (mean = 5.4, SD ± 2.9) and an average pain (mean = 3.9, SD ± 1.7). Pain interference levels were moderate, with the mean ranging from 3.9 to 5.4, an affect was the highest mean of interference (mean = 5.4, SD ± 2.9). Of 48% of participants took medications to relive their pain; self-seeking was the main information source for this self-care strategy. Most of participant applied non-pharmacology for relive their pain by using various self-care pain management strategies, some reported moderate pain. Nursing student should, therefore, be educated and counseled to determine the underlying cause and to increase the use of an effective treatment method. Keywords: Dysmenorrhea, Nursing student, Pain management, Self-Car 1 Warinchamrab Hospital, Ubon Ratchathani 2 Natal Hospital, Ubon Ratchathani 3 Detudom Hospital, Ubon Ratchathani 4 Adult and Elderly Nursing department, Boromrajonnani College of Nursing Sanpasithiprasong * Correspondence e-mail: [email protected] 55

[วารสารวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท 1่ี ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) ความเปนมาและความสําคญั ของปญหา ความปวดประจําเดือน (Dysmenorrhea) เปนโรคทางนรีเวชที่พบมากท่ีสุดและเปนสาเหตุของ การขาดเรียนหรือการขาดงานของวัยรุนผูหญิง1 งานวิจัยพบอุบัติการณความปวดที่แตกตางระหวาง รอยละ 46 ถึง 93 2,3 สาเหตุของการปวดประจําเดือน เชื่อวาเกิดจากกลไกการเปล่ียนแปลงของ ฮอรโมนทําใหมีการสรางพรอสตาแกลนดิน (Prostaglandins) เพ่ิมขึ้น ซ่ึงสารดังกลาวไปกระตุนการหด รัดตัวของกลามเนื้อเรียบของมดลูกสงผลใหเลือดไปเลี้ยงมดลูกไมเพียงพอ ทําใหใยกลามเน้ือของ มดลูกขาดออกซิเจน เกิดการหดเกร็งและเกิดความปวดตามมา4 แมวาผลของการปวดประจําเดือนจะ ไมรุนแรงคุกคามตอชีวิตแตถามีความปวดประจําเดือนทุกเดือนทําใหผูหญิงรูสึกทุกขทรมาน ดังน้ัน ความปวดประจําเดือนจึงเกิดผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตและสุขภาพของผูหญิงได ผลกระทบจากการ ปวดประจําเดือนน้ันพบวามีผลกระทบทางดานรางกาย คือ ความไมสุขสบายจากอาการที่เกิดรวมกับ ความปวดประจําเดือน ไดแก อาการออนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดกลามเน้ือ ผลกระทบดาน จิตใจและอารมณนนั้ พบวา ความปวดประจาํ เดอื นทาํ ใหผ หู ญงิ เกิดความเครียด ความวิตกกังวลและมี การรับรตู อ อตั มโนทศั นของตนเองไปในทางลบ ประสิทธภิ าพการทํางานในหนา ทีบ่ กพรอง5 โดยท่ัวไปวิธีการจดั การความปวดประจําเดอื นมีทัง้ การใชย า และไมใชยา การใชยาสวนใหญจะ บรรเทาความปวดประจําเดือนโดยการรับประทานยาแกปวด มีการศึกษาวายาแกปวดกลุม NSAIDs เปนทางเลือกแรกของการรักษาเพื่อบรรเทาความปวดประจําเดือน 2,3,6 และยังมีผูหญิงอีกจํานวนหนึ่ง เช่ือวา ประจําเดือนเปนเรื่องของธรรมชาติ จึงไมไดใชยาเพื่อบรรเทาความปวด งานวิจัยการจัดการ ความปวดประจําเดือนของไทยและตางประเทศ พบวามีความความแตกตางกันในการดูแลตนเองเพื่อ บรรเทาความ ปวดในวัยรุนหญิง5,7,8 หลกั การดแู ลตนเองนั้นโดยสวนใหญใ ชทฤษฎีการดแู ลตนเอง การดูแลตนเองตามทฤษฏีการดูแลตนเองของOrem(2001)9 หมายถึง การฝกกิจกรรมท่ีบุคคล เร่ิมตนและดําเนินการดวยตนเองเพื่อรักษาสุขภาพใหคงสภาพเปนอยูที่ดี การศึกษาในวัยรุนผูหญิง ตะวนั ตกมีการดูแลตนเองในการจัดการความปวดประจําเดือนสวนใหญดวยการใชยากลุม NSAID และ acetaminophen5,10 ซึง่ มีความแตกตางกบั วัยรนุ ผูห ญงิ ตะวันออกมีการใชยารวมกับการจัดการโดยไมใช ยาเพ่ือบรรเทาความปวดโดยการประคบรอน เครื่องดื่มอุน ๆ การนอนหลับ และการนวด6 ความ แตกตา งดา นวัฒนธรรมทาํ ใหก ารจัดการความปวดโดยไมใชยาในวัยรุนผูหญิงตะวันตกและตะวันออกมี ความแตกตางกนั การศกึ ษาในนักศึกษาพยาบาลไตหวัน พบวา มวี ธิ ีการจัดการความปวดประจําเดือน 56

[วารสารวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท1่ี ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) โดยลดการเคลื่อนไหวของรางกาย มีการปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหาร ใชสมุนไพร ใชการแพทย ทางเลือก เชน การนวด การประคบรอน กลุมตัวอยางเปนนักศึกษาวิทยาศาสตรสุขภาพและมีความรู เก่ียวกับวิธีจัดการอาการของตนเองได11 เน่ืองจากความแตกตางทางสังคมและวัฒนธรรมระหวาง ไตหวนั และไทย และยงั มีขอมูลจาํ กัดในการศึกษาความปวดประจําเดือนและการจัดการความปวดดวย ตนองในนักศึกษาพยาบาลไทย การวิจัยจึงมีความจําเปน ซึ่งผลการศึกษาจะเปนแนวทางใหคําแนะนํา การดูแลตนเองในการจัดการความปวดประจําเดอื นอยางเหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั เพ่ือศึกษาความปวดประจําเดือนและการจัดการความปวดของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาล ศาสตรบณั ฑิต วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค วธิ ีดําเนินการวจิ ยั การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional descriptive design) โครงการวิจัยผานการพิจารณาเห็นชอบของ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน ของวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค กอ นดาํ เนินการเกบ็ รวบรวมขอมูล ประชากรและกลมุ ตวั อยาง ประชากรเปนนักศึกษาหญิงหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค จงั หวดั อบุ ลราชธานี ปการศกึ ษา 2556 จํานวน 560 คน กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาหญิงหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค จังหวัดอุบลราชธานี ปการศึกษา 2556 จํานวนกลุมตัวอยางใน การศึกษาน้ีใชสูตรของการประมาณคาเฉล่ีย12 n= NZ2÷4Ne2+Z2 โดยกําหนดคาความคลาดเคลื่อนที่ สงู ทีส่ ดุ ท่ีผูวิจยั รบั ได กําหนดe= 0.05 แทนคากลุมตัวอยาง n = 560 (1.645)2÷4{560 (.05)2}+(1.645)2 ไดเทากับ 183 ราย ปรับเพ่ิมขนาดกลุมตัวอยางเพ่ือปองกันการสูญหาย รอยละ 10 จํานวนกลุม ตัวอยางทศ่ี ึกษาทัง้ หมดจํานวน 202 คนใชวิธกี ารสุมตัวอยางแบบงาย (Simple Random Sampling) โดย มสี ัดสว นจากนักศกึ ษาทกุ ชน้ั ป 57

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท1่ี ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) เครอ่ื งมอื การวจิ ยั เคร่ืองมอื ที่ใชใ นการเกบ็ รวบรวมขอ มูลการวิจยั คร้งั น้ี ประกอบดว ย 3 สวน ดงั น้ี 1) แบบบันทึกขอมูลท่ัวไป ประกอบดวย ขอมูล สวนบุคคล ไดแก อายุ ระดับช้ันปการศึกษา ลกั ษณะทวั่ ไปของประจาํ เดอื น 2) แบบสอบถามความปวด Brief Pain Inventory (BPI) ฉบบั ภาษาไทย13 แบบสอบถามมีจํานวน 10 ขอ ประกอบดวย 2 สวน สวนที่1 มี3ขอ ประเมินระดับความรุนแรงของความปวด (0 ไมปวด 10 ปวด มากที่สุด และแบงระดับความรุนแรงความปวดเปน(1-3)ปวดเล็กนอย (4-6) ปวดปานกลาง (7-10) ปวดรนุ แรง) และสวนท่ี2 จํานวน7ขอ สอบถามผลกระทบของความปวดตอกิจกรรมโดยทั่วไป อารมณ ความสามารถในการเดนิ งานประจาํ วนั ความสมั พันธกับผูอ่ืน การนอนหลับ ความสุขในชีวิตประจําวัน (0 ไมกระทบ 10 กระทบมากที่สุด) ตรวจสอบความเช่ือมั่นชนิดความสอดคลองภายในของ แบบสอบถามมีคา สัมประสทิ ธิ์อลั ฟาของครอนบาคในกลุมตวั อยางนี้ เทากบั 0.83 3) แบบสอบถามการดูแลตนเองในการจัดการความปวดประจําเดือน สรางข้ึนตามกรอบแนวคิด การดูแลตนเอง ประกอบดวยการดูแตนเองดวยยา แพทยทางเลือก การเบี่ยงเบน และการจัดทา บรรเทาความปวด ผตู อบแบบสอบถามสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ คุณภาพของเครื่องมือตรวจสอบ ความตรงของเนือ้ หา โดยผเู ช่ยี วชาญ 3 ทาน แลว นํามาปรบั ปรุงแกไ ขตามขอเสนอแนะ แลวนํามาหาคา ดัชนีความตรงตามเน้ือหา (IOC) มคี า ระหวา ง 0.67 -1.00 วิธเี ก็บรวบรวมขอ มลู 1. ทีมผวู ิจยั ชี้แจงวัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั และการพทิ กั ษส ิทธ์ิของกลุมตัวอยาง 2. เก็บรวบรวมขอมูล แบบประเมินประสบการณและวิธีการจัดการความปวดประจําเดือน ของ นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสรรพสิทธิ์ จังหวัด อบุ ลราชธานี ในแตล ะชน้ั ป 3. ตรวจสอบความถกู ตองของขอ มูลกอ นนําไปวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหข อ มูล ขอมูลเชิงปริมาณใชสถิติเชิงพรรณนาหาคาความถ่ี รอยละ คาเฉล่ีย และสวนเบ่ียงเบน มาตรฐานเพื่อวิเคราะหขอมูลทั่วไป และการดูแลตนเองในการจัดการกับความปวดประจําเดือนของ นกั ศกึ ษาพยาบาล 58

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท1่ี ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) ผลการวิจัย ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางเปนเพศหญิง มีชวงอายุระหวาง 18 ถึง 23 ป มีคาอายุเฉลี่ย เทากับ 21.02 ป (SD ± 1.23) เริ่มมปี ระจําเดือนครงั้ แรกอายเุ ฉลี่ยเทากับ 13.13 ป (SD ± 1.52) จํานวน วันของประจําเดอื นในแตละรอบเฉล่ียเทากับ 4.59 วนั (SD ± 1.36) ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงขอ มูลท่ัวไป (N= 202) คา เฉลย่ี สว นเบยี่ งเบน ลกั ษณะ มาตรฐาน 21.02 1.23 อายุ (ป) 13.13 อายุมีประจําเดือนครัง้ แรก (ป) 4.59 1.52 จํานวนวันของประจาํ เดือนในแตละรอบ (วนั ) 27.72 ความถ่ีของรอบประจําเดือน (วนั ) 1.36 4.82 ลักษณะความปวดประจําเดือนของกลุมตัวอยางแสดงในตารางที่ 2 โดยสวนใหญกลุมตัวอยาง มีประสบการณความปวดประจําเดือนรอยละ 92.7 ปวดในตําแหนงหลังสวนลางมากท่ีสุด รอยละ 80.19 สว นใหญวนั แรกทม่ี ีประจาํ เดือนมีระดบั ความรุนแรงความปวดมากทีส่ ดุ รอยละ 73.29 ตารางท่ี 2 แสดงขอมูลของความปวดประจําเดือน (N= 202) ความถ่ี รอยละ ลักษณะ 191 92.7 11 5.3 มีประสบการณป วดประจําเดือน ไมม ปี ระสบการณปวดประจําเดือน 162 80.19 ตาํ แหนงปวด 30 14.85 ดานหลังสว นลาง 65 32.17 ดา นหลัง 78 38.61 หนา ขา 62 30.69 ทอ งนอย ขาหนีบ 59

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท 1่ี ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) ลักษณะ ความถี่ รอยละ วันทีม่ ีความปวดประจําเดือนในระดับรุนแรงมากทส่ี ุด 1 วันกอนมปี ระจาํ เดอื น 37 19.37 วันท่ี 1 ของการมปี ระจําเดอื น 140 73.29 วนั ที่ 2 ของการมปี ระจาํ เดือน 11 5.75 วันท่ี 3-4 ของการมีประจําเดือน 3 1.57 ระดับความรุนแรงของความปวดประจําเดือนเฉล่ียเทากับ 3.86 (SD ± 1.75) กลุมตัวอยางทน ตอความปวดไดในระดับความรุนแรงเฉล่ียเทากับ 4.56 (SD ± 3.25) และความปวดมีผลกระทบมาก ท่ีสุดคือดานอารมณมีคาเฉล่ียเทากับ 5.41 (SD ± 2.9) และผลกระทบความปวดนอยท่ีสุด คือดาน ความสัมพนั ธก บั ผอู ่นื ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงระดับความรนุ แรงความปวดประจาํ เดอื นและผลกระทบของความปวด (N= 202) หัวขอประเมิน คา เฉล่ีย สวนเบ่ยี งเบน มาตรฐาน ระดบั ความรุนแรงความปวดประจําเดอื น ปวดมากทสี่ ดุ (0-10) 4.90 2.94 ปวดนอ ยท่ีสุด (0-10) 1.87 2.02 ปวดเฉลีย่ (0-10) 3.86 1.75 ระดบั ความทนตอความปวด (0-10) 4.56 3.25 ระดบั ความรุนแรงผลกระทบของความปวดประจําเดือน 4.40 2.55 กิจกรรมโดยท่วั ไป 5.41 2.90 อารมณ 3.94 2.74 ความสามารถในการเดิน 4.19 2.60 งานประจําวัน 3.73 2.45 ความสมั พันธก บั ผูอื่น 3.83 2.62 การนอนหลับ 4.44 2.78 ความสุขในชวี ิตประจําวัน 60

[วารสารวทิ ยาศาสตรสุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท1่ี ฉบับท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) การจัดการความปวด กลุมตัวอยางมีวิธีการจัดการความปวดดวยยา สวนใหญเลือกใช Ponstan คิดเปนรอยละ 27.7 สวนใหญเรียนรูเกี่ยวกับการใชยาดวยตนเอง การจัดการความปวดโดย ไมใ ชย า สว นใหญเลอื กใชว ิธี การประคบดว ยความรอน คิดเปนรอยละ 42.2 การเบี่ยงเบนความปวดใช วธิ กี ารนอน โดยเรียนรดู วยตนเอง คิดเปนรอ ยละ28.2 การเบย่ี งเบนความปวด สวนใหญเลือกใชวิธีการ นอนหลับคิดเปนรอยละ 69.4 การจัดทา สวนใหญเลือกใชวิธีไมเคลื่อนไหว คิดเปนรอยละ 55.3 ดัง แสดงในตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 แสดงความถ่ีและรอยละของกลมุ ตัวอยางในการจัดการความปวด (N= 202) จํานวน แหลง ขอ มูลวิธกี ารจัดการความปวด วิธีการจดั การความปวด (คน) รอย ประจําเดือน (รอ ยละ) ละ แพทย พยาบาล เรยี นรเู อง อ่นื ๆ รบั ประทานยา 7.8 6.8 45.6 1.9 Paracetamol 42 20.4 Ponstan 57 27.7 Ibufen 2 1 แพทยทางเลอื ก การประคบรอน 87 42.2 1.5 8.3 28.2 5.8 การนวด 42 20.4 0 0.5 17.5 2.9 การกดจุด 28 13.6 1.0 2.9 7.8 1.9 การฝง เข็ม 23 11.2 5.3 1.0 2.4 2.4 ไทยปราณ 26 12.6 4.4 1.9 4.9 4.5 การเบย่ี งเบนความปวด การนอนหลบั 143 69.4 0 1.0 68.5 0.5 การนัง่ พกั 128 62.1 0 0.5 60.7 1.0 การออกกาํ ลังกาย 54 26.2 0 1.9 20.9 3.9 ทําสมาธิ/สวดมนต 54 26.2 0 1.9 20.9 3.9 ดูโทรทศั น 84 40.8 0 0 39.8 1.9 ฟง เพลง 92 44.7 0 0 43.7 1.9 อาบน้าํ อนุ 80 33.8 0 1.5 35.4 3.4 ดืม่ น้าํ /นํ้าชา 77 37.4 0 1.9 33.5 3.4 ดม่ื เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล 27 13.1 0 0.5 8.3 4.4 61

[วารสารวิทยาศาสตรสุขภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท1่ี ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) จํานวน แหลงขอ มูลวธิ กี ารจดั การความปวด วิธีการจดั การความปวด (คน) รอย ประจาํ เดือน (รอยละ) ละ แพทย พยาบาล เรยี นรูเ อง อื่นๆ การจัดทา 114 55.3 0 1.5 50.5 2.9 ไมเคล่อื นไหว 94 45.6 0 2.4 41.7 1.5 นง่ั 67 32.5 0 2.7 25.7 4.4 มที าเฉพาะ การอภปิ รายผล การศึกษาความปวดประจําเดือนและการดูแลตนเองในการจัดการความปวดของนักศึกษา พยาบาลคร้ังนี้ พบวาชวงอายุเวลาการมีประจําเดือนคร้ังแรก และความถ่ีในการมีประจําเดือน ใน นกั ศึกษาพยาบาลเหมอื นกบั การศึกษาทผ่ี า นมา10,11,14 ทงั้ นีก้ ลมุ ตัวอยางทศ่ี ึกษามลี ักษณะคลา ยกนั ความปวดประจําเดือนเปนปญหาที่สําคัญในวัยรุนผูหญิง จากการศึกษาครั้งน้ีพบวา กลุม ตัวอยา งสวนใหญมปี ระสบการณปวดประจําเดือนมากถึงรอยละ 92.7 ซึ่งมากกวาการศึกษาที่ผานของ Seven14ที่ศึกษาในนักศึกษาพยาบาลในประเทศเตอรกิซ พบความปวดประจําเดือนรอยละ 84.9 และ รอ ยละ 31 ในการศึกษาของ Guvenc15 ความแตกตา งของอุบตั ิการณ อาจจะเนื่องจากวิธีการเก็บขอมูล และขอคําถาม การศึกษาครั้งน้ีใชคําถามประสบการณของความปวดประจําเดือน ซึ่งมีความแตกตาง จากการศึกษาของ Seven และ Guvenc ทรี่ ะบุความปวดประจําเดอื นในชวงท่ีเก็บขอ มูล จึงทําใหมีความ แตกตา งของขอ มูลที่ได ความรุนแรงของความปวดประจําเดือนจะมีความรุนแรงมากในวันแรกของการมีประจําเดือน และยังมีความปวดตอเน่ือง 1-3 วัน ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ Eryilmaz2 ในประเด็นความรุนแรง ของความปวดการศึกษารายงานที่ผานมา พบความรุนแรงของความปวดในชวงมีประจําเดือนท่ี แตกตางกันระหวาง 14% -20% ความรุนแรงของความปวดในการศึกษาคร้ังน้ี โดยเฉล่ียอยูในระดับ ปานกลาง และกลมุ ตัวอยางมคี วามทนตอความปวดในระดบั ใกลเ คยี งตอ ความปวดของกลมุ ตัวอยา ง 62

[วารสารวทิ ยาศาสตรสุขภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท 1่ี ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) การศึกษาครงั้ นพ้ี บวา ความปวดของประจําเดือนสงผลกระทบดานอารมณมากที่สุด โดยสงผล ตอความสขุ ในชีวิตประจาํ วนั ผลคลายกับการศกึ ษาของ Chiou6 และ Wong & Khoo 16 แมวาผลกระทบ จากความปวดประจําเดือน แตอุบัติการณและความรุนแรงจะมีความแตกตางกันไปในแตละสังคมและ วัฒนธรรม การดูแลตนเองในการจัดการความปวดประจําเดือน กลุมตัวอยางมีวิธีการจัดการความปวดที่ แตกตางกัน มีการจัดการใชยาและไมใชยา ยาที่กลุมตัวอยางเลือกใชไดแกParacetamol Ibufen และ Ponstan ยาท่ีเลือกใชมากที่สุดคือ ยาPonstan จากการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงยา IbufenและPonstanเปน ยา กลุมเดียวกันคือ กลุมNSIAD สอดคลองกับการศึกษาของEryilmaz2และSeven14 ซ่ึงรายงานวา นักศึกษาพยาบาลมีความรูเก่ียวกับยาบรรเทาความปวดจึงสามารถเรียนรูและจัดการตนเองไดในการ ใชยาบรรเทาความปวด อยางไรก็ตามพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญจะเลือกรับประทานยาในขณะท่ีมี อาการปวดมากแลว จากขอมูลนี้ทําใหเห็นวากลุมตัวอยางมีการใชยาท่ียังไมมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีจาก หลักฐานเชิงประจักษ พบวา การรับประทานยากอนการมีอาการปวดนั้น จะมีประสิทธิภาพในการลด อาการปวดไดด ีกวา17 แมวาการศึกษาน้ีพบอุบัติการณของความปวดประจําเดือนสูงแตมีเพียงรอยละ 7.8 ของ นักศึกษาพยาบาลไปพบแพทยเพื่อจัดการความปวดประจําเดือน สอดคลองกับการศึกษาท่ีผานมาพบ รอยละ1216 รอยละ1618และรอยละ27.615 Wong and Khoo16 พบรอยละ 53.3 ของวัยรุนหญิงที่มีความ ปวดประจําเดือนแตไมมีการจัดการความปวด ในบางวัฒนธรรม11,14,16และในไทย7 พบวาวัยรุนผูหญิง อายท่ีจะไปโรงพยาบาลพบแพทยเนื่องจากความปวดประจําเดือน สถานการณนี้สงผลเสียตอ พฤติกรรมการแสวงหาการรักษาของวัยรุนผูหญิงในการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาความปวดในชวงมี ประจําเดือน ดังนั้นบุคลากรทางการแพทยควรใหคําปรึกษาแกวัยรุนผูหญิงเก่ียวกับสาเหตุและแนว ทางการรักษาสําหรับปญ หาปวดประจาํ เดือน การศึกษาคร้ังน้ีพบวาประมาณรอยละ 70 ของนักศึกษาพยาบาลดูแลตนเองจัดการความ ปวดประจําเดือนโดยไมใชยา และโดยสวนใหญเรียนรูวิธีการดวยตนเอง นักศึกษาพยาบาลเลือกใช แพทยทางเลือก ประกอบดวยการประคบรอน การนวด อาบน้ําอุน ใชวิธีการเบี่ยงเบนความปวดดวย การนอน พกั ผอ น และการจดั ทาเพ่ือบรรเทาความปวด สอดคลองกับการศึกษาในกลุมประเทศเอเซีย 6, 7, 11, 19 ซึง่ แตกตางจากการศึกษาทางตะวนั ตก5 ทั้งนี้ความเชอื่ ทางวฒั นธรรมมีสวนสําคัญในประเด็นน้ี ในเอเชียมีความเชื่อในความสมดุลของธาตุในรางกาย การใชความรอนเย็นในการปรับสมดุลของ 63

[วารสารวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค] ปท1ี่ ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) รางกาย นักศึกษาพยาบาลอาจจะเรียนรูวิธีการน้ีจากครอบครัว และชุมชน ซึ่งแตกตางจากทาง ตะวันตกจะเนนการใชยาในการจัดการความปวดอีกประเด็นของการศึกษาที่ผานมาพบวาวัยรุนผูหญิง ไมใชยาเนอ่ื งจากเก่ียวกับผลขางเคยี งของยา11 โดยสรุป นักศึกษาพยาบาลมีอุบัติการณของความปวดประจําเดือนสูง ความรุนแรงของความ ปวดอยูในระดับเล็กนอยถึงปานกลาง และความปวดกระทบตอดานอารมณและความสุขใน ชีวิตประจําวนั นักศึกษาพยาบาลมีการดูแลตนเองในการจดั การความปวดท้ังใชยาและไมใชย า ขอจํากดั ของการศึกษา การศึกษาคร้ังนี้มีขอจํากัดของการนําผลการวิจัยไปใช ซึ่งควรพิจารณาดังตอไปน้ี เปน การศึกษาภาคตัดขวาง กลุมตัวอยางเปนนักศึกษาพยาบาลท่ีมีอายุระหวาง 18-22 ป สถานภาพโสด และศึกษาเฉพาะวิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สรรพสิทธิประสงค อาจจะไมสามารถอางอิงกับ สถาบนั การศกึ ษาพยาบาลอนื่ หรอื กลมุ วยั รนุ ผหู ญงิ อ่นื ได ขอเสนอแนะในการนําผลการศกึ ษาไปใช ขอเสนอแนะจากขอคนพบของการศึกษาคร้ังนี้ แมวาความปวดประจําเดือนเปนปญหาทางนรี เวชที่พบไดทั่วไปในวัยรุนผูหญิง และมีผลกระทบในทางลบตอกิจกรรมประจําวันและชีวิตในวิทยาลัย พยาบาล ควรใหคําแนะนําหรือโปรแกรมความรูเกี่ยวกับสาเหตุและการจัดการความปวดประจําเดือน สาํ หรบั นกั ศกึ ษา เพื่อใหการจดั การความปวดมีประสิทธิภาพเพิม่ ขน้ึ 64

[วารสารวทิ ยาศาสตรสุขภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท1่ี ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) อางองิ 1. Seven M, Guvenc G, Akyuz A, Eski F. Evaluating dysmenorrhea in a sample of Turkish nursing students. Pain management nursing: official journal of the American Society of Pain Management Nurses. 2014; 15(3):664-71. 2. Eryilmaz G, Ozdemir F, Pasinlioglu T. Dysmenorrhea prevalence among adolescents in eastern Turkey: its effects on school performance and relationships with family and friends. Journal of pediatric and adolescent gynecology. 2010; 23(5):267-72. 3. Potur DC, Bilgin NC, Komurcu N. Prevalence of dysmenorrhea in university students in Turkey: effect on daily activities and evaluation of different pain management methods. Pain Management Nursing. 2014; 15(4):768-77. 4. Dmitrovic R, Peter B, Cvitkovic-Kuzmic A, Strelec M, Kereshi T. Severity of symptoms in primary dysmenorrhea -A Doppler study. European Journal of Obstetrics & Gynecology and Reproductive Biology. 2003; 107(2):191-4. 5. Parker M, Sneddon A, Arbon P. The menstrual disorder of teenagers (MDOT) study: determining typical menstrual patterns and menstrual disturbance in a large population based study of Australian teenagers. BJOG: An International Journal of Obstetrics & Gynaecology. 2010; 117(2):185-92. 6. Chiou MH, Wang HH. Predictors of dysmenorrhea and self-care behavior among vocational nursing school female students. The journal of nursing research : JNR. 2008; 16(1):17-25. 7. Chongpensuklert Y, Kaewrudee S, Soontrapa S, Sakondhavut C. Dysmenorrhea in Thai secondary school students. Thai Journal of Obstetric and Gynecology. 2008; 16:47-53. 8. Tangchai K, Titapant V, Boriboonhirunsarn D. Dysmenorrhea in Thai adolescents: prevalence, impact and knowledge of treatment. JOURNAL-MEDICAL ASSOCIATION OF THAILAND. 2004; 87:S69-S73. 9. Denyes MJ, Orem DE, Bekel G. Self-care: a foundational science. Nursing Science Quarterly. 2001; 14(1):48-54. 10.Agarwal A, Venkat A. Questionnaire study on menstrual disorders in adolescent girls in Singapore. Journal of pediatric and adolescent gynecology. 2009; 22(6):365-71. 65

[วารสารวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค] ปท 1ี่ ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) 11.Chen C-H, Lin Y-H, Heitkemper MM, Wu K-M. The self-care strategies of girls with primary dysmenorrhea: a focus group study in Taiwan. Health care for women international. 2006; 27(5):418-27. 12.อรณุ จิรวฒั นก ลุ . ชีวสิ ถิต.ิ ขอนแกน: คลังนานาวทิ ยา; 2551. 13.Chaudakshetrin P. Validation of the Thai Version of Brief Pain Inventory (BPI-T) in cancer patients. 2009. 14.Seven M, Güvenç G, Akyüz A, Eski F. Evaluating dysmenorrhea in a sample of Turkish nursing students. Pain Management Nursing. 2014; 15(3):664-71. 15.Guvenc G, Kilic A, Akyuz A, Ustunsoz A. Premenstrual syndrome and attitudes toward menstruation in a sample of nursing students. Journal of Psychosomatic Obstetrics & Gynecology. 2012; 33(3):106-11. 16.Wong LP, Khoo EM. Dysmenorrhea in a multiethnic population of adolescent Asian girls. International Journal of Gynecology & Obstetrics. 2010; 108(2):139-42. 17.Lefebvre G, Pinsonneault O, Antao V, Black A, Burnett M, Feldman K, et al. Primary dysmenorrhea consensus guideline. J Obstet Gynaecol Can. 2005; 27(12):1117-46. 18.Nwankwo TO, Aniebue UU, Aniebue PN. Menstrual disorders in adolescent school girls in Enugu, Nigeria. Journal of pediatric and adolescent gynecology. 2010; 23(6):358-63. 19.Chiou MH, Wang HH. [The relationship between dysmenorrhea and menstrual attitudes among female students in vocational nursing schools]. Hu li za zhi The journal of nursing. 2004; 51(4):45-52. 66