Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

Description: ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

Search

Read the Text Version

2.4 เจตคติตอ่ การบริโภคอาหาร ตารางที่ 10 จานวนและรอ้ ยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามเจตคตติ ่อการ เจตคตติ อ่ การบริโภคอาหาร mean SD 1. การบริโภคอาหารฟาสต์ฟ้ดู ทาใหร้ สู้ กึ เป็นคนทันสมัย 3.79 1.13 2. การบรโิ ภคอาหารให้อิ่มทุกมื้อจะทาให้ไม่ขาด 3.07 สารอาหาร 1.23 3.33 3. การบริโภคอาหารหลากหลายชนดิ ช่วยให้รา่ งกาย 1.26 แขง็ แรง 3.84 1.04 4. การบรโิ ภคอาหารฟาสต์ฟูด้ แบบชาวตะวนั ตก เปน็ ส่ิงที่ ดี เพราะมคี ุณค่าทางโภชนาการครบถว้ น

41 รบรโิ ภคอาหาร (n = 406) ไม่แน่ใจ เห็นด้วย เห็นดว้ ย ไม่เห็นด้วย ไมเ่ หน็ ดว้ ย อยา่ งยงิ่ อยา่ งยง่ิ จานวน จานวน จานวน จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 133 143 52 69 32.8 35.2 12.8 17.0 9 70 89 78 140 2.2 17.2 21.9 19.2 34.5 29 6 46 83 139 7.1 1.5 11.3 20.4 34.2 132 132 139 83 46 32.5 32.5 34.2 20.4 11.3 6 1.5

เจตคติตอ่ การบริโภคอาหาร mean SD 5. การบรโิ ภคอาหารไทยทาให้เปน็ คนลา้ สมัย 4.07 6. การบริโภคซปุ ไกส่ กัดทุกวันชว่ ยใหเ้ รียนหนงั สอื เกง่ ขน้ึ 1.04 7. นา้ ชาเขยี วเป็นเครอ่ื งดื่มสาหรับคนร่นุ ใหม่ 3.58 8. การดืม่ นา้ ผลไม้มีประโยชนต์ ่อสุขภาพ 1.14 3.36 1.20 3.99 1.12 9. การด่ืมกาแฟจะทาใหอ้ า่ นหนังสือ/ทางานไดน้ านขนึ้ 3.11

42 ไม่เห็นดว้ ย ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมแ่ น่ใจ เห็นด้วย เห็นดว้ ย อย่างยิ่ง อย่างยิง่ จานวน จานวน จานวน จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ 176 135 54 31 43.3 33.3 13.3 7.6 10 117 90 126 60 2.5 28.8 22.2 31.0 14.8 13 88 108 99 86 3.2 21.7 26.6 24.4 21.2 25 154 167 41 16 6.2 37.9 41.1 10.1 3.9 28 6.9 79 85 89 108 45

เจตคติต่อการบรโิ ภคอาหาร mean SD 10. การรับประทานอาหารสาเรจ็ รูปเป็นการประหยัดและ 1.29 มีประโยชน์ 3.28 1.27 11. การรับประทานอาหารที่มีรสหวานจะทาให้อว้ น 3.76 1.16 12. การด่ืมเคร่ืองดื่มชกู าลงั จะช่วยใหแ้ ข็งแรง 3.63 1.25 13. การไม่ดมื่ แอลกอฮอล์ทาให้เข้ากลุ่มกับเพ่ือนไม่ได้ 3.83 1.25

43 ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไมแ่ น่ใจ เห็นด้วย เหน็ ดว้ ย อยา่ งย่ิง อย่างยงิ่ จานวน จานวน จานวน จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ จานวน 19.5 20.9 21.9 26.6 ร้อยละ 11.1 93 92 92 96 22.9 22.7 22.7 23.6 33 29 32 64 161 8.1 7.1 7.9 15.8 39.7 120 131 112 69 71 29.6 32.3 27.6 17.0 17.5 23 5.7 167 105 58 53 23 41.1 25.9 14.3 13.1 5.7

เจตคตติ ่อการบรโิ ภคอาหาร mean SD 14. การรับประทานอาหารไมส่ มส่วนจะทาให้มผี ลต่อ 3.42 สขุ ภาพในอนาคต 1.22 2.7 15. การรบั ประทานผลติ ภัณฑ์อาหารเสริมใหป้ ระโยชนต์ ่อ 1.23 รา่ งกาย 2.59 1.18 16. การรับประทานอาหารแช่แข็งและอุ่นดว้ ยไมโครเวฟ เหมาะสมกับวิถชี วี ิตในปัจจุบัน 17. อาหารประเภทป้ิง ยา่ ง รมควัน เปน็ อาหารที่มีกลิน่ 3.13 หอม 1.25 3.78 18. วัยรุ่นไม่จาเปน็ ต้องเดมิ นมเพราะร่างกายเตบิ โตเต็มที่ แลว้

44 ไมเ่ หน็ ด้วย ไมเ่ ห็นดว้ ย ไมแ่ นใ่ จ เหน็ ดว้ ย เหน็ ดว้ ย อยา่ งยิ่ง อย่างยิ่ง จานวน จานวน จานวน จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ จานวน 162 ร้อยละ 45 44 82 39.9 11.1 10.8 20.2 73 52 156 95 45 18.0 12.8 38.4 23.4 11.1 58 92 104 110 78 14.3 22.7 25.6 27.1 19.2 22 5.4 30 127 89 79 81 7.4 31.3 21.9 19.5 20.0 152 112 64 60 18

เจตคตติ ่อการบรโิ ภคอาหาร mean SD 19. การดมื่ น้าอัดลมทาใหส้ ดชนื่ กระปรกี้ ระเปรา่ 1.21 3.2 20. การดม่ื ชา กาแฟ โอวลั ตนิ นมกลอ่ ง แฮมเบอร์เกอร์ 1.31 เป็นคนทนั สมยั 3.52 1.24

45 ไมเ่ ห็นด้วย ไมเ่ หน็ ด้วย ไมแ่ น่ใจ เห็นดว้ ย เห็นดว้ ย อย่างยิ่ง อยา่ งยง่ิ จานวน จานวน จานวน จานวน รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ จานวน 37.4 27.6 15.8 14.8 รอ้ ยละ 112 4.4 100 87 74 27.6 24.6 21.4 18.2 33 117 100 91 74 8.1 28.8 24.6 22.4 18.2 24 5.9

46 จากตารางท่ี 10 พบว่ามีประชาชนในเขตภาษีเจริญ มีเจตคติดีมากที่สุดในเรื่องการบริโภคอาหาร หลากหลายชนดิ ชว่ ยให้รา่ งกายแขง็ แรงคิดเปน็ รอ้ ยละ 32.5 รองลงมาอาหารประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็น อาหารที่มีกล่ินหอมคิดเป็นร้อยละ20.0 การรับประทานอาหารไม่สมส่วนจะทาให้มีผลต่อสุขภาพใน อนาคตคดิ เป็นร้อยละ20.0 เมอื่ พจิ ารณาเป็นคะแนนแลว้ สามารถจาแนกคะแนนเจตคติตอ่ การบริโภคอาหารของประชาชนใน เขตภาษีเจริญได้ดังตารางที่11 ตารางท่ี11 แสดงจานวนและร้อยละคะแนนเจตคตติ อ่ การบริโภคอาหาร ระดบั คะแนนเจตคตติ อ่ การบรโิ ภคอาหาร จานวน ร้อยละ เจตคตดิ ี (คะแนน 3.67 – 5.00) 4 1 63.3 เจตคตปิ านกลาง (คะแนน 2.34 – 3.66) 257 35.7 เจตคตติ า่ (คะแนน1.00 – 2.33) 145 จากตารางที่ 11 พบว่ามีคะแนนเจตคติมีค่าเฉล่ียอยู่ที่ 2.3743 (S.D. 0.49698) ส่วนใหญ่อยู่ใน ระดับปานกลางเป็นผู้ที่ได้คะแนนระหว่าง 2.34 – 3.66 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.3 รองลงมาอยู่ใน ระดับตา่ เปน็ ผทู้ ีไ่ ด้คะแนน1.00 – 2.33 ร้อยละ 35.7และระดับดีเป็นผู้ท่ีได้คะแนน 3.67 – 5.00 ร้อยละ1 ตามลาดับ 2.5 อทิ ธิพลจากส่อื สารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละอทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารรายข้อ ไมเ่ หน็ ไมแ่ นใ่ จ เหน็ อิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร mean ด้วย ดว้ ย SD จานวน/ จานวน/ จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ /ร้อยละ 1. เมอ่ื ดโู ฆษณา ทา่ นเชื่อว่าการด่ืมผลิตภัณฑ์ลด 0.48 263 96 47 นา้ หนัก ทาให้รูปรา่ งดี 0.69 64.8 23.6 11.6 2. การใชด้ ารานักร้องมาโฆษณา ช่วยใหอ้ ยากซ้ือสินค้า 0.57 243 92 71 นัน้ มาบริโภค 0.77 59.9 22.7 17.5

47 ไม่เห็น ไมแ่ น่ใจ เหน็ อิทธพิ ลจากสื่อสารมวลชนเกย่ี วกับการบริโภคอาหาร mean ดว้ ย ด้วย SD จานวน/ จานวน/ จานวน ร้อยละ รอ้ ยละ /ร้อยละ 3. การจัดโปรโมชน่ั ลดราคาและมขี องแถม ทาให้ 0.70 217 90 99 ตดั สินใจเลือกรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ดมากขึ้น 0.83 53.4 22.2 24.4 4. การโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ 0.78 197 100 109 เรอ่ื งการลดราคา ทาให้ทา่ นตัดสนิ ใจซ้ือสนิ ค้า 0.84 48.5 24.6 26.8 จานวนมากขึน้ 5. การส่งซองเปลา่ /กล่องเปลา่ หรอื การส่งข้อความไป 0.60 241 84 81 ชงิ โชค ทาให้ทา่ นซอ้ื สนิ คา้ นนั้ มากขึ้น 0.79 59.4 20.7 20.0 6. การได้รับใบปลวิ จากร้านคา้ ประเภทบริการส่งถงึ 0.61 229 103 74 บา้ น ทาใหท้ ่านตดั สนิ ใจสงั่ อาหารมารับประทาน 0.77 56.4 25.4 18.2 สะดวกข้นึ 7. ถา้ ตอ้ งการลดความอว้ น ควรรบั ประทานผลิตภัณฑ์ 0.46 268 87 51 อาหารเสริมสาหรับลดความอ้วนจงึ จะไดผ้ ลดี 0.70 66.0 21.4 12.6 8. การสง่ ฉลากหรือข้อความ SMS เพอื่ ชิงรางวัล เป็น 0.59 242 87 77 การชักชวนใหซ้ ือ้ สินค้า 0.78 59.6 21.4 19.0 9. บรรจภุ ณั ฑ์ท่มี ีรูปรา่ งแปลกตาและสวยงาม ชกั จูงให้ 0.65 223 100 83 ซื้อสินคา้ 0.79 54.9 24.6 20.4 10. การมอบเครื่องดื่มประเภทซปุ ไกส่ กดั หรือรังนก เป็น 0.79 195 101 110 การแสดงความกตัญญูหรือแสดงความรกั ความ 0.84 48.0 24.9 27.1 หว่ งใยของผูใ้ ห้ จากตารางท่ี 12 พบว่า การได้รับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร พบว่า ประชาชนสว่ นใหญ่ (ร้อยละ 56.7) ได้รับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยู่ในระดับน้อย ซ่ึงสะท้อนจากความ คิดเห็นที่ไม่เห็นด้วยอย่างมากที่สุด ท่ีมีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 66.0 ไม่เห็นด้วยที่ว่าถ้าต้องการลดความอ้วน ควรรับประทานผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสาหรับลดความอ้วนจึงจะได้ผลดี รองมา (ร้อยละ 64.8) คือ เม่ือดู

48 โฆษณาท่านเชื่อว่าการดื่มผลิตภัณฑ์ลดน้าหนักทาให้รูปร่างดี และการใช้ดารานักร้องมาโฆษณาช่วยให้ อยากซอ้ื สนิ คา้ น้นั มาบริโภค ร้อยละ 59.9 แต่ทงั้ น้ี ในจานวนที่เหลือร้อยละ 43.3 ของกล่มุ ตวั อย่างท้ังหมด กลบั มีความคิดเห็นท่ีสะทอ้ นถงึ การไดร้ บั อิทธิพลจากส่ือ ท่ีส่งผลต่อการบริโภคอาหาร โดยกลุ่มเหล่านี้ พบ ถึง ร้อยละ 27.1 ท่ีเห็นด้วยในระดับมากที่สุด กับการโฆษณาการมอบเคร่ืองดื่มประเภทซุปไก่สกัดหรือรัง นกเป็นการแสดงความกตญั ญหู รือแสดงความรักความห่วงใยของผู้ให้ รองลงมา(ร้อยละ 26.8) ท่ีเห็นตาม การโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์เร่ืองการลดราคาทาให้ท่านตัดสินใจซื้อสินค้าจานวนมาก ขึ้น การจัดโปรโมชน่ั ลดราคาและมขี องแถมทาให้ตดั สนิ ใจเลือกรบั ประทานอาหารฟาสต์ฟู้ดมากข้ึน เมื่อพิจารณาเป็นคะแนนแลว้ สามารถจาแนกคะแนนการได้รับอทิ ธพิ ลจากสื่อสารมวลชนต่อการ บริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญได้ดังตารางท่ี 13 ตารางที่ 13 แสดงจานวนและร้อยละกล่มุ ตวั อย่างจาแนกตามการได้รบั อทิ ธิพลจากสือ่ สารมวลชน ระดบั คะแนนการไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากสอ่ื สารมวลชน จานวน ร้อยละ ระดับมาก (คะแนน1.34 – 2.00) 55 13.5 ระดับปานกลาง (คะแนน0.67 – 1.33) 121 29.8 ระดบั น้อย (คะแนน < 0.66 ) 230 56.7 จากตารางที่ 13 พบว่าประชาชนได้รับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยใู่ นระดับมากมีคะแนน1.34 – 2.00 คดิ เปน็ ร้อยละ13.5 รองมาคือได้รบั อทิ ธิพลจากส่ือสารมวลชนอยู่ในระดับปานกลาง (คะแนน0.67 – 1.33) คิดเป็นร้อยละ29.8และได้รับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยู่ในระดับน้อย (คะแนน < 0.66 )คิดเป็น รอ้ ยละ56.7 2.6 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยท่ีมีความเก่ียวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนในเขตภาษี เจริญ สมมตฐิ านท่ี1 ปจั จัยสว่ นบุคคล ประกอบดว้ ยเพศ สถานภาพ การศึกษารายได้ มีความสัมพนั ธ์ กับพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร (N=406) ตารางท่ี 14 แสดงความสมั พันธร์ ะหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกบั ปจั จยั ส่วนบุคคล ประกอบด้วยเพศ สถานภาพ การศกึ ษารายได้ ระดบั พฤตกิ รรม 2 df P-value .160 ปจั จัยสว่ นบคุ คล การบริโภคอาหาร .310 ปานกลาง ดี จานวน(ร้อยละ) จานวน(รอ้ ยละ) เพศ 149 (69.0%) 143 (75.3%) 1.975 1 ชาย 67(31.0%) 47 (24.7%) หญิง สถานะภาพ 47 (21.8%) 34 (17.9%) โสด 146 (67.6%) 125(65.8%) สมรส 6 (2.8%) 6 (3.2%) 3.587 3

49 ระดับพฤติกรรม 2 df P-value ปจั จัยสว่ นบคุ คล การบริโภคอาหาร ปานกลาง ดี จานวน(ร้อยละ) จานวน(รอ้ ยละ) หยา่ /รา้ ง 17 (7.9%) 25 (13.2%) หม้าย การศึกษา ตา่ กว่ามัธยมศึกษา มธั ยมศึกษาและสงู กวา่ มธั ยมศกึ ษา 126 (58.3%) 116(61.1%) .310 1 .577 90 (41.7%) 74 (38.9%) รายได้ 134(62.0%) 118 (62.1%) .000 1 .989 ต่ากว่า10,000บาท/เดือน 82(38.0%) 72 (37.9%) 10,000บาท/เดือนและสงู กวา่ **Significant at the 0.05 level จากตารางท่ี 14 พบว่าเพศ สถานะภาพ การศกึ ษา รายได้กับพฤติกรรมมีความสัมพันธ์กันอย่าง ไม่มีนัยสาคัญทางสถิติหมายความว่าเพศหญิงและเพศชายมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่แตกต่างกัน สถานะภาพโสด สมรส หย่า/ร้างและหม้ายมพี ฤติกรรมการบรโิ ภคทีไ่ ม่แตกต่างกัน ผู้ท่ีมีการศึกษาต่ากว่า มธั ยมศึกษาและสงู กว่ามัธยมศึกษามพี ฤติกรรมการบริโภคท่ีไม่แตกต่างกัน และผู้ที่มีรายได้ต่ากว่า10,000 บาท/เดือนและผ้ทู ี่มีรายได้10,000บาท/เดือนและสูงกว่ามีพฤติกรรมการบริโภคท่ีไมแ่ ตกต่างกัน สมมติฐานท่ี 2 ความรู้ อิทธพิ ลจากสอ่ื สารมวลชนเก่ียวกบั การบริโภคอาหาร และเจตคติต่อการบริโภค อาหาร มคี วามสัมพันธก์ ับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร (N=406) ตารางที่ 15 แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับความรู้ อิทธิพลจาก สื่อสารมวลชนเก่ยี วกบั การบรโิ ภคอาหาร และเจตคติต่อการบรโิ ภคอาหาร ระดับพฤตกิ รรม 2 df P-value ปัจจัยส่วนบุคคล การบรโิ ภคอาหาร ปานกลาง ดี จานวน(รอ้ ยละ) จานวน(รอ้ ยละ) ความรู้ ดี 59(27.3%) 36(18.9%) พอใช้ 137(63.4%) 125(65.8%) 6.131 2 .047 น้อย 20(9.3%) 29(15.3%) เจตคติต่อการบริโภคอาหาร ดี 3(1.4%) 1(.5%) พอใช้ 159(73.6%) 98(51.6%) 23.351 2 .000** นอ้ ย 54(25.0%) 91(47.9%)

50 อทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชน เก่ียวกับการบรโิ ภคอาหาร ดี 121(56.0%) 10(57.4%) 1.241 2 .538 พอใช้ 62(28.7%) 59(31.1%) น้อย 33(15.3%) 22(11.6%) **Significant at the 0.05 level จากตารางที่ 15 พบว่าความรู้ อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารมี ความสัมพนั ธ์กนั อย่างไมม่ นี ัยสาคญั ทางสถิติหมายความว่าผู้ท่ีมีความรู้ดี พอใช้ และปานกลางมีพฤติกรรม การบรโิ ภคท่ไี มแ่ ตกต่างกนั แต่เจตคติตอ่ การบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์กบั พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ 0่ี .05 ตารางท่ี 16 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉล่ียคะแนนความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร เจตคติต่อการ บรโิ ภคอาหาร อิทธิพลจากสอ่ื สารมวลชนเก่ียวกับการบรโิ ภคอาหารและพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร ตัวแปร พฤติกรรมการบริโภคอาหาร R p-value ความรเู้ กี่ยวกับการบริโภคอาหาร .123* .0130 เจตคตติ อ่ การบริโภคอาหาร .239** < 0.000 อิทธิพลจากสอ่ื สารมวลชนเก่ียวกบั การบรโิ ภคอาหาร -.035 .481 ** Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed). * Correlation is significant at the 0.05 level (2-tailed). จากตารางที่ 16 แสดง ค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติต่อการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในระดับ .239 อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติ (p =0.000) กล่าวคือหากมีค่าเฉลี่ย คะแนนเจตคติต่อการบริโภคอาหารในระดับดีจะมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดับดีด้วย นอกจากน้ียังพบว่าค่าเฉล่ียความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารในระดับ.123 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p =0.013) สาหรับคะแนนอิทธิพลจาก สื่อสารมวลชนเกี่ยวกบั การบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดับ - .035 อยา่ งไมม่ ีนัยสาคัญทางสถติ ิ

บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และเสนอแนะ การวิจัยเชิงสารวจ เรื่อง พฤติกรรมการบริโภค เจตคติ และอิทธิพลจากส่ือสารมวลชน เกี่ยวกับการบริโภคอาหารของคนในชุมชนเขตภาษีเจริญมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการ บริโภค เจตคติ และอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารของคนในชุมชนเขตภาษี เจริญ 2)ปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของของคนในชุมชนเขตภาษีเจริญ 3) ส่ือโฆษณา ภายนอกส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในเขตภาษีเจริญ ประเด็นการสร้างสรรค์พ้ืนท่ีเพื่อสุขภาวะ ด้านอาหาร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ประชากรทุกวัยในชุมชนเขตภาษีเจริญ และ นักเรียนอายุ 6 – 14 ปี โดยทาการเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี โควตาและตามสะดวกตามลาดับ ขนาด ตัวอย่างคานวนจากสูตรของยามาเน จานวน 406 คนในกลุ่มประชาชน และเด็กนักเรยนจานวน 42 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามจานวนสองชุด ได้แก่ แบบสอบถาม พฤติกรรมการบริโภคอาหารและปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับเด็กนักเรียนจานวน 1 ชุดและสาหรับ ประชาชนจานวน 1 ชุด ตรวจสอบคุรภาพของแบบสอบถามด้วยความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เช่ียวชาญ การวิเคราะห์ค่าความเชื่อม่ันโดยมีค่าเท่ากับ 0.794 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าไคสแควร์และค่า สหสมั พนั ธ์ (Correlation) สรุปผลการวจิ ัย 1.1 ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนอายุ 6- 14 ปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.6 ส่วนใหญ่มีอายุ 12 ปีข้ึนไป จานวน 28 คน คิดเป็นร้อย 66.7 อายุเฉลี่ย 12.2 ปี (S.D 2.31) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับประถมศึกษา จานวน 22 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.4 ส่วนใหญ่ได้รับค่าขนมวันละ 10 – 50 บาท/วัน จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 โดยค่าขนมเฉลี่ย อยู่ท่ี52.74 บาท (S.D 28.7) (น้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ จานวน 20 คน คิด เป็นร้อยละ 47.62 สว่ นใหญไ่ มม่ ีโรคประจาตวั จานวน 37 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.1 1.2 พฤติกรรมบริโภคของนักเรียนอายุ 6-14 ปี พบว่าพฤติกรรมบริโภคของเด็กวัยเรียนมี พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดคือดื่มนมที่มีรสหวาน เช่น นมหวาน นม ช็อกโกแลต นมเปร้ียวคิดเป็นร้อยละ59.5 รองลงมารับประทานขนมขบเค้ียวกรุบกรอบ เช่น มันฝร่ัง ทอด ข้าวเกรียบ คิดเป็นร้อยละ57.1และรับประทานหมูทอด ไก่ทอด ลูกช้ินทอด คิดเป็นร้อยละ54.8 ตามลาดับ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปฏิบัติเป็นบางครั้งมากท่ีสุดคือบริโภคบะหม่ีก่ึงสาเร็จรูป แทนอาหาร 1 ม้ือคดิ เป็นร้อยละ23.8 รองลงมาชอบรับประทานอาหารท่ีมีรสเค็มเป็นบางคร้ัง คิดเป็น ร้อยละ61.9 รบั ประทานปลา และเนอื้ สัตว์ไมต่ ิดมนั คดิ เป็นร้อยละ57.1 สาหรับพฤติกรรมการบริโภค อาหารท่ไี ม่เคยปฏิบัตเิ ลย มากท่ีสดุ คอื รบั ประทานอาหารนอ้ ยกว่า 3 มื้อตอ่ วันคิดเป็นร้อยละ45.2

52 1.3 ข้อมูลส่วนบุคคลของประชนในเขตภาษีเจริญ พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง จานวน 292 คน คิดเป็นร้อยละ 71.9 ส่วนใหญม่ ีอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 156 คน คิดเป็นร้อย 38.4 สว่ นใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ จานวน 271 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาใน ระดับประถมศึกษา จานวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 ส่วนใหญ่มีอาชีพพ่อบ้านแม่บ้าน จานวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 34.5 ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนต่ากว่า 10,000 บาท จานวน 252 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 62.1 สว่ นใหญ่มีบ้านพักอาศัยเป็นของตนเอง จานวน 295 คน คิดเป็นร้อยละ 72.7 ส่วน ใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ จานวน 191 คน คิดเป็นร้อยละ 47 ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจาตัว จานวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ50.7 ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวกับอาหารและ โภชนาการ จานวน 226 คน คิดเป็นร้อยละ 55.7 1.4 ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ พบว่าประชาชนมี ความรู้ว่าพฤติกรรมการบริโภคในข้อใดเส่ียงต่อภาวะโภชนาการเ กินมากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 83.7 รองลงมามีความรู้ว่าสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากท่ีสุดคือข้อใดคิดเป็นร้อยละ77.8 และมี ความรวู้ ่าอาหารในขอ้ ใดมีอาหารหลักครบทั้ง 5 หมู่คิดเป็นร้อยละ54.4 ประชาชนไม่รู้ว่าถ้าต้องการ สารอาหารประเภทแคลเซียมควรรับประทานอาหารในข้อใดมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ85.2 ส่วนใหญ่มี คะแนนความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลางเป็นผู้ท่ีได้คะแนนระหว่าง 6-7.9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 64.5 รองลงมาอยู่ในระดับดีเป็นผู้ที่ได้คะแนนมากกว่า8 ร้อยละ23.4 และ ระดบั ตา่ เป็นผู้ท่ไี ด้คะแนนน้อยกวา่ 60 รอ้ ยละ12.1 ตามลาดับ 1.5 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ พบว่ามีพฤติกรรมท่ี ปฏิบัติเป็นประจามากท่ีสุดคือรับประทานผักและผลไม้ตามฤดูกาลทุกม้ืออาหารเป็นคิดเป็นร้อยละ 73.6รองลงมามีการใช้น้ามันพืช แทนน้ามันจากสัตว์เป็นคิดเป็นร้อยละ71.9 ด่ืมเครื่องด่ืมชูกาลังเป็น ประจา คิดเป็นร้อยละ69.0และด่ืมเครื่องด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์คิดเป็นร้อยละ66.3 ตามลาดับ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปฏิบัติเป็นบางครั้งมากที่สุดคือรับประทานอาหารทะเล อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 2 คร้ังคดิ เป็นรอ้ ยละ65.3 รองลงมารับประทานอาหารท่ีมีกะทิเป็นส่วนประกอบ เช่น แกงกะทิ ขนมหวานใส่น้ากะทิเป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ65.0 รับประทานอาหารประเภท เน้ือสัตว์ติดมัน หรืออาหารท่ีมีไขมันสูง เช่น ข้าวขาหมู ข้าวมันไก่เป็นบางคร้ัง คิดเป็นร้อยละ63.3 สาหรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีไม่เคยปฏิบัติเลย มากท่ีสุดคือรับประทานอาหารเช้าขณะ เดินทางอยู่ในรถส่วนตัวหรือรถโดยสารร้อยละ64.5 รองลงมาด่ืมชา / กาแฟร้อยละ39.2 และมักเติม น้าปลา / นา้ ตาล ลงในอาหารท่ีรับประทานร้อยละ29.6 ส่วนใหญ่มีคะแนนพฤติกรรมบริโภคอาหาร อยใู่ นระดับปานกลางเป็นผู้ท่ีได้คะแนนระหว่าง 0.67 – 1.33 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 53.2 รองลงมา อยใู่ นระดบั ดีเปน็ ผ้ทู ไ่ี ดค้ ะแนนระหว่าง 0.67 – 1.33 คะแนน ร้อยละ46.8 แต่ไม่มีผู้ที่ได้คะแนนระดับ ตา่

53 1.6 เจตคติต่อการบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ พบว่ามีประชาชนในเขต ภาษีเจริญ มีเจตคติดมี ากท่ีสดุ ในเรื่องการบริโภคอาหารหลากหลายชนดิ ชว่ ยให้ร่างกายแขง็ แรงคิดเป็น ร้อยละ 32.5 รองลงมาอาหารประเภทป้ิง ย่าง รมควัน เป็นอาหารที่มีกลิ่นหอมคิดเป็นร้อยละ20.0 การรับประทานอาหารไม่สมส่วนจะทาให้มีผลต่อสุขภาพในอนาคตคิดเป็นร้อยละ20.0 ซึ่งมีคะแนน เจตคติมีค่าเฉลี่ยอยู่ท่ี 2.3743 (S.D. 0.49698) ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางเป็นผู้ท่ีได้คะแนน ระหว่าง 2.34 – 3.66 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.3 รองลงมาอยู่ในระดับต่าเป็นผู้ที่ได้คะแนน1.00 – 2.33 ร้อยละ 35.7และระดับดเี ปน็ ผ้ทู ไ่ี ดค้ ะแนน 3.67 – 5.00 ร้อยละ1 ตามลาดับ 1.7 อทิ ธิพลจากสือ่ สารมวลชนเกยี่ วกบั การบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ จากตารางที่ 12 พบว่า การได้รับอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 56.7) ได้รับอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนอยู่ในระดับน้อย ซ่ึงสะท้อนจาก ความคิดเห็นที่ไม่เห็นด้วยอย่างมากที่สุด ที่มีกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 66.0 ไม่เห็นด้วยท่ีว่าถ้าต้องการลด ความอ้วนควรรับประทานผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสาหรับลดความอ้วนจึงจะได้ผลดี รองมา (ร้อยละ 64.8) คือ เม่ือดูโฆษณาท่านเช่ือว่าการด่ืมผลิตภัณฑ์ลดน้าหนักทาให้รูปร่างดี และการใช้ดารานักร้อง มาโฆษณาช่วยให้อยากซื้อสินค้านั้นมาบริโภค ร้อยละ 59.9 แต่ทั้งนี้ ในจานวนที่เหลือร้อยละ 43.3 ของกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด กลับมีความคิดเห็นที่สะท้อนถึงการได้รับอิทธิพลจากสื่อ ท่ีส่งผลต่อการ บริโภคอาหาร โดยกลุ่มเหล่านี้ พบถึง ร้อยละ 27.1 ท่ีเห็นด้วยในระดับมากที่สุด กับการโฆษณาการ มอบเคร่ืองดื่มประเภทซุปไก่สกัดหรือรังนกเป็นการแสดงความกตัญญูหรือแสดงความรักความห่วงใย ของผูใ้ ห้ รองลงมา(รอ้ ยละ 26.8) ท่ีเหน็ ตามการโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์เรื่องการ ลดราคาทาให้ท่านตัดสินใจซ้ือสินค้าจานวนมากข้ึน การจัดโปรโมช่ันลดราคาและมีของแถมทาให้ ตัดสินใจเลือกรบั ประทานอาหารฟาสตฟ์ ูด้ มากขน้ึ 1.8 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วยเพศ สถานภาพ การศึกษารายได้ พบว่าเพศ สถานะภาพ การศึกษา รายได้กับ พฤติกรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติหมายความว่าเพศหญิงและเพศชายมี พฤติกรรมการบริโภคท่ีไม่แตกต่างกัน สถานะภาพโสด สมรส หย่า/ร้างและหม้ายมีพฤติกรรมการ บริโภคท่ีไม่แตกต่างกัน ผู้ที่มีการศึกษาต่ากว่ามัธยมศึกษาและสูงกว่ามัธยมศึกษามีพฤติกรรมการ บรโิ ภคท่ีไม่แตกต่างกัน และผู้ที่มีรายได้ต่ากว่า10,000บาท/เดือนและผู้ที่มีรายได้10,000บาท/เดือน และสงู กว่ามพี ฤติกรรมการบรโิ ภคท่ีไม่แตกต่างกัน 1.9 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับความรู้ อิทธิพลจาก สอ่ื สารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร และเจตคติต่อการบริโภคอาหาร พบว่าความรู้ อิทธิพล จากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ

54 หมายความว่าผู้ที่มีความรู้ดี พอใช้ และปานกลางมีพฤติกรรมการบริโภคท่ีไม่แตกต่างกัน แต่เจตคติ ต่อการบริโภคอาหารมคี วามสมั พันธ์กบั พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ 0.05 1.20 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉล่ียคะแนนความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหาร เจตคติต่อ การบรโิ ภคอาหาร อิทธิพลจากส่อื สารมวลชนเกี่ยวกบั การบรโิ ภคอาหารและพฤติกรรมการบริโภค อาหาร พบว่าค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติต่อการบริโภคอาหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารในระดับ.239อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p =0.000) กล่าวคือหากมีค่าเฉล่ียคะแนนเจต คตติ ่อการบรโิ ภคอาหารในระดบั ดีจะมีค่าเฉล่ียพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดับดีด้วย นอกจากนี้ ยังพบว่าค่าเฉล่ียความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการบริโภค อาหารในระดับ.123อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติ (p =0.013) สาหรับคะแนนอิทธิพลจากสื่อสารมวลชน เก่ียวกับการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดับ -.035อย่าง ไมม่ ีนยั สาคัญทางสถิติ อภิปรายผลการวจิ ัย จากผลการวจิ ยั ขา้ งตน้ สามารถอภปิ รายได้ดังนี้ ดา้ นพฤตกิ รรมบริโภคของเดก็ วยั เรยี น มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ปี ฏบิ ัตเิ ป็นประจา มากที่สุดคือดื่มนมที่มีรสหวาน เช่น นมหวาน นมช็อกโกแลต นมเปร้ียวคิดเป็นร้อยละ 59.5 รองลงมารับประทานขนมขบเคี้ยวกรุบกรอบ เช่น มันฝร่ังทอด ข้าวเกรียบ คิดเป็นร้อยละ57.1 และรับประทานหมูทอด ไก่ทอด ลูกช้ินทอด คิดเป็นร้อยละ 54.8 ตามลาดับ ซึ่งกัลยา ศรีมหันต์ (2541) ได้ทาการศึกษาเรอื่ ง ภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนในเขต อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ผลการศึกษาพบว่า เด็กวัยเรียนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี มี พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การบริโภคขนมถุงขบเค้ียว อาหารทอดและน้าอัดลม ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติได้แก่ ความรู้เร่ือง โภชนาการของเดก็ วัยเรียน จากการศึกษาของ อนุสรา อารักษ์ (2553) ได้ศึกษาภาวะโภชนาการและ พฤติกรรมบริโภคอาหารของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน อาเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พบว่าพฤติกรรมที่นักเรียนมากกว่าคร่ึงที่ทาบ่อยคร้ังจนถึง ทาประจา ได้แก่ การดื่มน้าอัดลม การดื่มเครื่องด่ืมที่ใส่นมข้นหวาน และการรับประทานขนมถุงขบ เค้ยี ว (ร้อยละ 76.5, 61.1, 55.4 ตามลาดับ) ขนมขบเค้ียวกรุบกรอบมักมีการเติมผงชูรส น้าตาลและ เกลือทาให้มีรสชาติเด็กจึงมักติดใจและนิยมรับประทาน แต่อาหารกลุ่มนี้จะให้เฉพาะไขมันและ คาร์โบไฮเดรตจึงไมส่ ามารถตอบสนองความต้องการอาหารท้ังหมดของร่างกายได้ ซ่ึงหากรับประทาน มากๆจะทาให้ไม่หิวและไม่อยากรับประทานอาหารม้ือหลักส่งผลต่อภาวะโภชนาการ เนื่องจากได้รับ คาร์โบไฮเดรตและไขมันมากเกินความต้องการของร่างกายหรืออาจขาดสารอาหาร ซ่ึงพฤติกรรม

55 เหล่าน้ีอาจเป็นเพราะบริโภคนิสัยของเด็กเองแม้เด็กจะมีความรู้อาจไม่ปฏิบัติตามซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจยั ของสดุ าวรรณ ขันธมิตร (2538) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าเพศ สถานะภาพ การศึกษา รายไดก้ บั พฤติกรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึงตรงกับ การศึกษาของ ธนากร ทองประยูร (2546) พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีการนาความรู้เก่ียวกับการ บริโภคอาหารมาใช้เป็นเหตุผลในการเลือกรับประทานอาหารเป็นบางคร้ัง และมีนิสิตนักศึกษาเพียง แค่หน่ึงในสามเท่าน้ันที่ใช้ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารมาใช้เป็นเหตุผลในการเลือกรับประทาน อาหารทุกคร้ัง จึงอาจสรุปได้ว่า ถึงแม้จะมีความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารอย่างถูกหลักโภชนาการ แต่ไม่ได้นาความรู้มาใช้ก็อาจทาให้พฤติกรรมไม่แตกต่างกันจากผู้ไม่มีความรู้ในเรื่องการบริโภคเป็น อย่างดี ซึ่งตรงข้ามกับการศึกษาของวศินา จันทรศิริ(2531) ว่าอิทธิพลของการศึกษา ความรู้เรื่อง คุณค่าของอาหารอาจเป็นเหตุผลสาคัญในการตัดสินใจบริโภค แสดงให้เห็นความสาคัญของการให้ ความรู้ทางโภชนาการแก่ประชาชนและยังสอดคล้องกับ สอดคล้องกับงานวิจัยของวิศมล ไพฑูรย์ (2548) ได้ศกึ ษาเรอ่ื ง พฤติกรรมการซ้ืออาหารเพอื่ สุขภาพของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า ประชาชนท่ีมีการศึกษาต่างกันมพี ฤตกิ รรมการเลือกซือ้ อาหารเพอ่ื สุขภาพแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 ซ่งึ จากขอ้ มูลทั่วไปผู้ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มผู้สูงอายุคิดเป็นร้อย ละ 38.4 ประชากรส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 55.2 ซ่ึงประชากรกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ จะไม่ได้มีหน้าที่ในการเลือกซ้ืออาหารเพื่อรับประทานในครอบครัว จะเป็นผู้ที่รอให้สมาชิกในบ้าน จดั หาอาหารมาบรโิ ภค ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับความรู้ อิทธิพลจากสื่อสารมวลชน เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร และเจตคติต่อการบริโภคอาหาร พบว่าความรู้ อิทธิพลจาก สอ่ื สารมวลชนเกีย่ วกับการบริโภคอาหารมีความสมั พนั ธก์ ันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ แต่เจตคติต่อ การบรโิ ภคอาหารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ซ่ึง การศึกษาของเบญจพร แก้วมีศรี (2551) พบว่าอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนไม่มีความสัมพันธ์กับ พฤตกิ รรมการบริโภค และค่านิยมเกี่ยวกับการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค อาหาร ของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุราษฎร์ธานี อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงจากข้อมูลทั่วไปดังที่กล่าวไว้ข้างต้นว่าประชากรกลุ่มที่ตอบ แบบสอบถามโดยส่วนใหญอ่ ยู่ในวัยผู้สูงอายุ อาจจะไม่ได้มีการติดตามข้อมูลข่าวสาร การโฆษณาชวน เชื่อจากส่ือต่างๆให้เลือกซื้ออาหารเพ่ือมาบริโภค หรือด้วยวัยวุฒิและประสบการณ์ชีวิต หรือการ โฆษณาอวดอ้างเกนิ จรงิ ทที่ าให้ไม่เชอื่ ในสอ่ื โฆษณาอยา่ งงา่ ยดาย

56 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉล่ียคะแนนความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร เจตคติต่อการ บริโภคอาหาร อิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและพฤติกรรมการบริโภค อาหาร พบว่าค่าเฉล่ียคะแนนเจตคติต่อการบริโภคอาหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารในระดับ.239อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p =0.000) นอกจากน้ียังพบว่าค่าเฉล่ียความรู้ เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดับ.123 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p =0.013) แสดงว่าประชาชนท่ีมีเจตคติที่ดีต่อการบริโภคอาหารก็จะมี พฤติกรรมบริโภคอาหารท่ีดี ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของวิธี แจ่มกระทึก (2541) ที่ศึกษาปัจจัยที่ เก่ียวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารจานด่วนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสังกัด กรมสามัญ กรุงเทพมหานคร พบว่าอิทธิพลสื่อโฆษณามีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารจานด่วนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และไม่สอดคล้องกับการศึกษาของนงค์ นุช ประยูรหงส์ (2547) ท่ีศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ของนิสิตปริญญาตรีปีท่ี 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบว่า อิทธิพลของส่ือสารมวลชนมี ความสัมพนั ธท์ างบวกกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารตามสุขบญั ญตั ิแห่งชาติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้ จากการวิจัยเชงิ สารวจน้ี มขี อ้ เสนอแนะต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องและองค์กรชมุ ชน ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. จากข้อค้นพบที่ว่าคนภาษีเจริญมีความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลาง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและองค์กรชุมชนควรร่วมกันพิจารณาจัดให้มีพื้นท่ีในการให้ความรู้เกี่ยวกับการ บริโภคอาหาร หรือมีการติดป้ายประกาศให้ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหาร เพ่ือให้คนในพื้นที่มี ความรเู้ พม่ิ มากขน้ึ 2. หน่วยงานด้านสาธารณสุขควรมีการรณรงค์ให้ความรู้กับนักเรียนในพ้ืนท่ีเก่ียวกับการ บริโภคอาหาร หรือขอความร่วมมือกับโรงเรียนในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการให้ความรู้และ ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมในการบริโภคอาหารทถี่ ูกต้อง หรอื จดั ทาโครงการโรงเรยี นนารอ่ งพืน้ ทส่ี ุขภาวะ

57 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั คร้งั ตอ่ ไป 1. ในกลุ่มนักเรยี นควรศึกษาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนทุกระดับชั้น โดยเพ่ิมขนาดกลุ่ม ตวั อยา่ ง และควรมกี ารตรวจร่างกายเบื้องตน้ หรอื อาการทางคลินิกในเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ ตา่ กวา่ และเกนิ กวา่ เกณฑ์ประกอบกบั ประเมนิ ภาวะโภชนาการ 2. ควรมีแบบสอบถามเก่ียวกับความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารตามหลักสุขบัญญัติ 9 ประการในกล่มุ นักเรยี น เพื่อเป็นการประเมินความรู้และหารูปแบบกจิ กรรมทเ่ี หมาะสม

บรรณานกุ รม กลั ยา ศรีมหันต์. (2541). ศึกษาภาวะโภชนาการและพฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรยี นใน เขตมือง จังหวัดราชบุรี. วทิ ยานพิ นธ์สาธารณสุขศาสตรม์ หาบัณฑิต สาขาการพยาบาลแม่และเด็ก บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. จันทร์ทิพย์ ล้ิมทองกุล. (2538). กลไกการเกิดพฤตกิ รรมการกินใน Food Focus. กรุงเทพฯ : ชมรม วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหารและโภชนาการ ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรี นครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. ชญานษิ ฐ์ ธรรมาธษิ ฐาน. (2543). พฤติกรรมสุขภาพเกีย่ วกบั การบริโภคอาหารของนักเรยี น มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมนิ ทราชทู ิศสตรีวทิ ยา 2 สังกัดกรมสามญั ศึกษากรงุ เทพมหานคร. ปรญิ ญานพิ นธก์ ารศึกษามมหาบณั ฑิต. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. ธนากร ทองประยูร.(2546). พฤติกรรมการบริโภคของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีมหาวิทยาลยั ของรัฐ: ศกึ ษาเฉพาะในกรุงเทพมหานคร. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท ภาควชิ าคหกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง. ธานินทร์ ศิลปจ์ ารุ.(2552). การวจิ ยั และวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถติ ิด้วย SPSS.กรุงเทพ:เอส.อาร์.พริน้ ติ้ง แมสโปรดคั ส์. นงคน์ ุช ประยรู หงษ์. (2547). ศกึ ษาเร่ืองปจั จัยที่มผี ลตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารตามสุขบญั ญัติ แหง่ ชาติของนิสติ ปริญญาตรีปที ี่1 มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. เบญจพร แกว้ มศี รี, รจนา พษิ าภาพ, สมุ าลี สุวรรณภักดี. (2551).พฤติกรรมการบรโิ ภคของนกั ศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตวทิ ยาลยั บรมราชชนนี สรุ าษฎร์ธานี. วทิ ยาลัยบรมราชชนนี สุราษฎร์ ธานี. ปทั มา ท่อเจรญิ . (2550). พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารทอ้ งถน่ิ ของผ้บู รโิ ภคในเขตเทศบาลเมืองพงั งา จงั หวัดพังงา. บริหารธุรกจิ มหาบัณฑติ สาขาการตลาด, บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดสุ ิต. ประกายรตั น์ สวุ รรณ.(2555).การวจิ ยั และวิเคราะห์ข้อมลู ด้วยโปรแกรม SPSS เวอร์ชัน 20. กรงุ เทพ: ว.ี พร้ินท.์

59 วเิ ชียร เกตสุ ิงห์(2538). หลกั การสรา้ งและวเิ คราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นา พานชิ . วิภาวี ปัน้ นพศรี.(2550). พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารเพือ่ สขุ ภาพของประชากรในอาเภอลาลกู กา จังหวัดปทุมธานี .วิทยานพิ นธ์ปริญญาโท.ภาควิชาบริหารธรุ กิจ บัณฑติ วิทยาลยั , มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พระนคร. วรางคณา บุตรศรี. (2538). พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของนักเรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี.วทิ ยานพิ นธ์วทิ ยาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาสุขศกึ ษา คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วสุนธรี เสรสี ชุ าติ. (2543).การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของหญงิ วัยเจริญพันธุ์ในโรงงาน อุตสาหกรรมที่สัมพันธ์กับภาวะโลหติ จางจากการขาดธาตุเหล็กจังหวัดฉะเชงิ เทรา.วิทยานิพนธ์ มหาบณั ฑติ สาขาสงั คมศาสตรการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลยั มหิดล วศิ มล ไพฑูรย์. (2548). พฤติกรรมการซื้ออาหารเพอ่ื สุขภาพของผบู้ ริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธบ์ ริหารธรุ กิจมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธริ าช. ศิริลกั ษณ์ สินธวาลัย. (2533).การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ทางโภชนาการ.กรุงเทพฯ : ภาควิชาพฒั นา ผลติ ภัณฑ์ คณะอตุ สาหกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. สนธยา มฮู าหมัด. (2544). ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปี ที่ 3 โรงเรยี นสังกดั กรมสามญั ศึกษา ในเขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบณั ฑติ . บณั ฑติ วิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. สมฤดี วรี ะพงษ์. (2537). พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารดว่ นทันใจ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนสงั กัดกรมสามัญศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ , มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. สายชล บุญศิริเอือ้ เฟื้อ.(2546).การศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรมบริโภค อาหารจานด่วนของผ้บู ริโภควัยทางาน ยา่ นสีลมเขตกรุงเทพมหานคร สารนิพนธ์.ภาควิชา ศึกษาศาสตร์ บณั ฑิตวิทยาลยั ,มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ.

60 สดุ าวรรณ ขันธมติ ร. (2538).พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6 สังกัด คณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาติในภาคกลาง.วิทยานิพนธปริญญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ ภาควิชา พลศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั . สบุ นิ สนุ ันต๊ะ. (2551).พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของเด็กนกั เรยี นประถมศกึ ษาอาเภอฝางจังหวัด เชียงใหม่.วิทยานิพนธ์สาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. อนสุ รา อารักษ์.(2553). ภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน อาเภอหลังสวน จงั หวัด ชมุ พร. วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาคหกรรมศาสตร์เพ่ือพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลยั รามคาแหง. อารี วัลยะเสวี. (2536).อาหารและโภชนาการเพ่ือสขุ ภาพ. กรุงเทพฯ : ที พ.ี พรน้ิ ติ้ง. Bandura, A. Social Learning Theory. Englewood cliffs, N.J. Prentice-Hall. (1977). Best, J.W. Research in education. 3 rd ed. Prentice-Hall; 1977. Bloom, Benjamin S., Hastings, JH., Madaus, GF. Handbook on Formative Evolution of student learning. New York: McGraw-hill; 1971. Bloom, Benjamin S. Taxonomy of education objective, Hand book I:Cognitive Domain. Newyork : David Mc.Key, 1975. Carole Edelman, Carol Lynn Mandle. Health Promotion Throughout The Life Span. New York :Mosby; 1986.

ภาคผนวก

62 แบบสอบถามพฤตกิ รรมบริโภคอาหารของเด็กวยั เรียน (สาหรบั เดก็ อายุ 6-14 ปี) ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป คาชีแ้ จง กรุณาใสเ่ ครื่องหมาย  ลงในชอ่ ง  หรือเติมขอ้ ความลงในช่องวา่ งใหต้ รงกบั ความเปน็ จรงิ 1. ปัจจบุ นั ทา่ นพักอาศัยอยใู่ นชมุ ชน................................................................ แขวง ................................................... 2. เพศ  หญงิ  ชาย 3. อายุ ................. ปี 4. กาลงั ศกึ ษาอยชู่ นั้  ประถมศึกษาปีที่........................  มธั ยมศกึ ษาปีท.ี่ .........................  อนื่ ๆ ระบุ...................................  ไม่ได้ศึกษา 5. ท่านไดค้ า่ ขนมวันละ....................................บาท 6. ปัจจบุ นั ทา่ นมีน้าหนักตัว...........................กิโลกรัม และสว่ นสงู ................................เซนติเมตร 7. ทา่ นมีโรคประจาตัว  ไมม่ ี  มี ระบุโรค......................................................................................... ส่วนที่ 2 แบบสอบถามพฤติกรรมบริโภคอาหาร คาชแี้ จง โปรดทาเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งวา่ งหลังขอ้ ความทต่ี รงกับการปฏิบตั ิของท่านมากที่สดุ ปฏิบตั ิเป็นประจา หมายถึง ท่านกระทาตามขอ้ ความหรอื เหตุการณ์น้ันเป็นประจาสม่าเสมอ ปฏบิ ตั ิบางคร้งั หมายถงึ ท่านกระทาตามข้อความหรอื เหตกุ ารณ์นั้นเป็นบางคร้ัง ไม่สม่าเสมอ ไมเ่ คยปฏิบัติ หมายถึง ท่านไม่เคยกระทาตามขอ้ ความหรอื เหตุการณ์น้นั เลย

63 ความถ่ใี นการปฏบิ ัติ พฤติกรรม เปน็ บางครง้ั ไม่เคย ประจา ปฏิบัติ 1. ท่านรับประทานอาหารเช้าทกุ วนั 2. ทา่ นรบั ประทานแซนด์วิช หรือแฮมเบอเกอร์ เป็นอาหารเช้า 3. ท่านรับประทานผกั และผลไม้ 4. ทา่ นรบั ประทานก๋วยเต๋ียวแทนขา้ วเปน็ บางมื้อ 5. ทา่ นดม่ื น้าอัดลม หรอื นา้ หวาน 6. ท่านล้างมือก่อนรบั ประทานอาหารทกุ ม้ือ 7. ทา่ นด่ืมนม วนั ละ 1 แกว้ 8. ท่านรบั ประทานอาหารตามท่ีโฆษณาในโทรทัศน์ หนังสอื พิมพ์ แผน่ พบั นิตยสาร 9. ท่านรับประทานปลา และเนื้อสตั ว์ไม่ตดิ มนั 10. ท่านซ้อื อาหารโดยดวู นั หมดอายุ และดูเคร่ืองหมาย อย. 11. ท่านรบั ประทานอาหารโดยใช้ชอ้ นกลาง 12. ทา่ นรับประทานขนมขบเคยี้ วกรบุ กรอบ เช่น มันฝร่งั ทอด ขา้ วเกรยี บ 13. ท่านรบั ประทานอาหารมากกวา่ 3 ม้ือต่อวนั 14. ท่านรับประทานอาหารน้อยกวา่ 3 ม้อื ต่อวัน 15. ทา่ นบรโิ ภคบะหมี่ก่ึงสาเร็จรปู แทนอาหาร 1 มอื้ 16. ทา่ นรับประทานขนมครก/ปาท่องโก๋/ข้าวเหนียวหมปู ง้ิ แทนข้าว ในมอ้ื เชา้ 17. ทา่ นเลอื กซอื้ ขนม/อาหาร เพราะต้องการของแถม 18. ทา่ นชอบรับประทานอาหารที่มีรสหวาน 19. ทา่ นชอบรบั ประทานอาหารท่ีมรี สเค็ม 20. ท่านชอบรับประทานอาหารที่มีรสเผด็ 21. ท่านรับประทานช็อกโกแลต ลูกอม ท๊อฟฟ่ี อมย้ิม หมากฝร่ัง 22. ท่านรบั ประทานหมูทอด ไก่ทอด ลูกช้ินทอด 23. ท่านดมื่ นมรสจดื 24. ทา่ นดม่ื นมท่มี ีรสหวาน เชน่ นมหวาน นมชอ็ กโกแลต นมเปร้ียว 25. ทา่ นชอบรบั ประทานเนื้อหมูที่ตดิ มนั หรือหนังไก่

64 แบบสอบถามการวจิ ยั เรื่อง พฤตกิ รรมและความคิดเหน็ เกีย่ วกบั “การบริโภคอาหาร” ของประชาชนในเขตภาษเี จริญ คาช้แี จง แบบสอบถามชุดน้ีมี 6 หนา้ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ไดแ้ ก่ จานวน 21 ข้อ สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป จานวน 10 ขอ้ สว่ นท่ี 2 ความร้ทู ัว่ ไปเกยี่ วกับการบริโภคอาหาร จานวน 30 ข้อ ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามพฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหาร จานวน 20 ขอ้ สว่ นท่ี 4 เจตคติตอ่ การบริโภคอาหาร ขอขอบพระคุณทุกทา่ นทใี่ หค้ วามรว่ มมือเปน็ อยา่ งดีในการตอบ แบบสอบถามน้ี โครงการวจิ ยั เพ่ือพฒั นาพน้ื ที่สร้างสรรค์เพอ่ื สุขภาวะ: กรณีนารอ่ งเขตภาษีเจริญ กรงุ เทพมหานคร ศนู ยว์ จิ ยั เพื่อพฒั นาชมุ ชน และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

65 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป คาช้ีแจง กรุณาใส่เครื่องหมาย  ลงในชอ่ ง  หรือเตมิ ข้อความลงในช่องวา่ งใหต้ รงกับความเปน็ จริง 1. ปัจจบุ ันทา่ นพักอาศยั อยู่ในชุมชน................................................................ แขวง ................................................... 2. เพศ  หญงิ  ชาย 3. อายุ ................. ปี 4. สถานภาพ  โสด  สมรส  หยา่ /ร้าง  หมา้ ย 5. ระดบั การศึกษา  ไมไ่ ด้ศกึ ษา  ประถมศึกษา  มธั ยมศกึ ษา/ปวช.  อนปุ รญิ ญา/ปวส.  ปริญญาตรี  สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 6. อาชพี  รับราชการ/รฐั วิสาหกิจ  ลกู จา้ ง/พนกั งานบรษิ ทั  คา้ ขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั  นักเรยี น/นกั ศกึ ษา  รับจ้างทว่ั ไป  แมบ่ า้ น/พ่อบา้ น/ เกษียณ  วา่ งงาน  อื่น ๆ (ระบ)ุ ................................... 7. รายได้ต่อเดือน  ตา่ กว่า 10,000 บาท/เดือน  10,000 – 14,999 บาท/เดอื น  15,000 – 19,999 บาท/เดือน  ตงั้ แต่ 20,000 บาท/เดอื น ขึ้นไป 8. ทพ่ี กั อาศัย  บ้านตนเอง  บา้ นเชา่  บ้านพกั ขา้ ราชการ  พกั อาศยั กับบิดามารดา  พักกบั บุคคลอื่น 9. ปัจจบุ นั ทา่ นมนี า้ หนกั ตวั ...........................กโิ ลกรัม และส่วนสูง................................เซนติเมตร 10. ทา่ นมโี รคประจาตวั  ไม่มี  โรคเบาหวาน  โรคความดนั โลหติ สงู  โรคหวั ใจ  ไขมันในเลือดสงู  โรคมะเร็ง  โรคหลอดเลือดสมอง อมั พฤกษ์ อัมพาต  โรคอืน่ ๆ ระบุ......................................................... 11. ท่านได้รับข้อมูลขา่ วสารเกีย่ วกับอาหารและโภชนาการจากแหลง่ ใดมากท่สี ุด  สถาบันการศึกษา  ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ  นติ ยสาร/หนังสอื พิมพ์/แผน่ พบั  วิทยุ/โทรทัศน์  อนิ เตอรเ์ นต็  อาสาสมคั รสาธารณสุข (อสส.)  วทิ ยุชมุ ชน/หอกระจายข่าว  อื่นๆ ระบุ..............................................................

66 12. ท่านรับประทานอาหารวันละกีม่ ื้อ  มากกวา่ 3 ม้อื  1 ม้อื  2 มื้อ  3 มอ้ื 13. ท่านให้ความสาคัญหรอื เนน้ การรบั ประทานอาหารมอื้ ใดมากทส่ี ดุ  มอ้ื เชา้  ม้อื เทย่ี ง  มอื้ เยน็  อื่นๆ ระบุ................................... 14. ท่านรับประทานอาหารเสรมิ หรือไม่  ไม่รบั ประทาน  รับประทาน ระบ.ุ .......................................... 15. ส่วนใหญท่ า่ นมักเลือกซื้ออาหารจากทีใ่ ด  รา้ นสะดวกซ้อื  หา้ งสรรพสินคา้  ตลาดสด  รา้ นคา้ ในชมุ ชน  ซปุ เปอร์เซน็ เตอร์ เชน่ บ๊กิ ซี โลตัส แมคโคร 16. อาหารม้ือเชา้ ของท่านสว่ นใหญเ่ ปน็ อาหารประเภทใด (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)  กาแฟ / ชา / นม  ขนมปัง  ข้าวแกง  อาหารก่งึ สาเรจ็ รูป เชน่ บะหมกี่ ึ่งสาเรจ็ รปู โจ๊กกึ่ง สาเร็จรปู  ข้าวต้ม / โจก๊  อน่ื ๆ ระบุ.....................................................................  ไม่ได้รบั ประทาน 17. สว่ นใหญ่ทา่ นบรโิ ภคอาหารมื้อเช้าจากแหล่งใด (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ )  ปรงุ เองทบ่ี ้าน  ร้านสะดวกซ้อื  แผงลอยรมิ บาทวถิ ี  รา้ นอาหาร  โรงอาหารในท่ีทางาน  ตลาด  ไม่ได้รบั ประทาน 18. อาหารมื้อกลางวนั ของท่านสว่ นใหญ่เป็นอาหารประเภทใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)  ขา้ วแกง  ก๋วยเตี๋ยว  ขา้ วตม้ / โจก๊  อาหารก่ึงสาเร็จรปู เชน่ บะหม่กี ึ่งสาเร็จรปู โจก๊ กงึ่ สาเร็จรูป  ไม่ได้รบั ประทาน  อ่นื ๆ ระบุ ............................................................................... 19. สว่ นใหญ่ท่านบริโภคอาหารมื้อกลางวนั จากแหล่งใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)  ปรุงเองทบ่ี ้าน  ร้านสะดวกซือ้  แผงลอยริมบาทวิถี  รา้ นอาหาร  โรงอาหารในทีท่ างาน  ตลาด  ศนู ย์อาหารในหา้ งสรรพสนิ คา้  ไมไ่ ด้รับประทาน 20. อาหารมื้อเย็นของท่านสว่ นใหญเ่ ป็นอาหารประเภทใด (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ )  ขา้ วแกง  ก๋วยเต๋ียว  ขา้ วตม้ / โจ๊ก  อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น บะหมีก่ ึ่งสาเรจ็ รปู โจ๊กกงึ่ สาเร็จรปู  ไม่ไดร้ บั ประทาน  อื่นๆ ระบุ ...............................................................................

67 21. สว่ นใหญ่ทา่ นบริโภคอาหารมื้อเย็นจากแหลง่ ใด (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ )  ปรงุ เองทบี่ า้ น  ร้านสะดวกซ้อื  แผงลอยรมิ บาทวถิ ี  ไมไ่ ดร้ บั ประทาน  รา้ นอาหาร  โรงอาหารในทท่ี างาน  ศนู ย์อาหารในห้างสรรพสินคา้  ตลาด ดา้ นความรู้ เจตคติ และพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร (ส่วนที่ 2-4) ส่วนที่ 2 ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกับการบริโภคอาหาร คาชี้แจง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงในช่อง  ท่ีทา่ นเหน็ ว่าถูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว 1. สารอาหารประเภทโปรตีนมปี ระโยชนต์ ่อร่างกายโดยตรงคือขอ้ ใด  ชว่ ยในการเจริญเตบิ โตและซอ่ มแซมสว่ นทีส่ กึ หรอ  ช่วยในการเผาผลาญและดดู ซมึ วิตามิน  ชว่ ยให้พลงั งานและความอบอนุ่ ต่อรา่ งกาย  ชว่ ยใหอ้ วัยวะตา่ งๆทางาน สมั พันธ์กนั 2. อาหารในข้อใดมีอาหารหลักครบทง้ั 5 หมู่  ขา้ วหมูแดง  สลัดปลาทนู ่า  ขา้ วไขเ่ จียวหมูสบั  เส้นใหญร่ าดหน้าหมู 3. ถา้ ตอ้ งการสารอาหารประเภทแคลเซียมควรรับประทานอาหารในข้อใด  ยาปลาเล็กปลานอ้ ย นมสด  ตม้ ยาปลาทู น้าผลไม้รวม  กว๋ ยจบ๊ั เคร่อื งในสตั ว์ น้าเต้าหู้  กว๋ ยเตยี๋ วหมูตุ๋น โอวลั ตินเย็น 4. ประโยชนข์ องอาหารท่มี เี ส้นใยและกากอาหาร คือข้อใด  ใหพ้ ลงั งานแก่รา่ งกาย  ชว่ ยใหร้ ่างกายแข็งแรง  ช่วยในการทางานของระบบขบั ถ่ายใหป้ กติ  ช่วยในการดูดซมึ เกลือแร่ใน ลาไส้ 5. อาหารชนิดใดเปน็ แหล่งพลังงานหลกั ท่คี นไทยบรโิ ภคมากที่สุด  ขา้ ว แปง้  ไขมัน กะทิ  ผกั และผลไม้  เนอื้ สัตว์และผลติ ภัณฑจ์ าก สตั ว์ 6. สารอาหารที่ให้พลงั งานแก่รา่ งกายมากที่สดุ คอื ข้อใด  คาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  วิตามิน  ไขมนั

68 7. พฤตกิ รรมการบรโิ ภคในข้อใดเสยี่ งต่อภาวะโภชนาการเกิน  ด่ืมนา้ อัดลมหลังอาหารทุกม้ือ  ด่มื นมสดวนั ละ 1-2 แก้วทกุ วัน  กินอาหารฟาสตฟ์ ูด้ ทุกวันอาทติ ย์  กินอาหารทีผ่ ดั /ทอดจากน้ามนั พชื ทุก วนั 8. หลักในการเลอื กรบั ประทานอาหารข้อใดถกู ต้องทีส่ ดุ  เลอื กจากสว่ นประกอบของอาหารเปน็ หลกั  เลือกจากลกั ษณะอาหารนา่ รบั ประทาน  เลือกตามความนิยมของกล่มุ เพอื่ น  เลอื กจากรสชาติถูกใจเป็นหลัก 9. เพราะเหตใุ ดเราจึงควรบริโภคอาหารใหค้ รบ 5 หมู่  เพือ่ ให้บริโภคอาหารได้ปริมาณมาก  เพ่ือให้ไดร้ บั สารอาหารครบถว้ น  เพ่อื ให้ไดร้ ับพลังงานเพยี งพอ  เพื่อให้ได้รบั วิตามนิ เพียงพอ สว่ นท่ี 2 (ตอ่ ) 10. ควรเลอื กบริโภคอาหารอยา่ งไรจงึ จะถกู หลักโภชนบญั ญตั ิ  รับประทานอาหารท่ีสดเสมอ  รับประทานอาหารทีม่ รี สอรอ่ ย  รบั ประทานอาหารทมี่ โี ปรตนี สูง  รบั ประทานอาหารท่หี ลากหลาย ไม่ ซา้ ซาก สว่ นที่ 3 พฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหาร คาชแ้ี จง โปรดทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งวา่ งหลังข้อความทต่ี รงกบั การปฏิบตั ขิ องท่านมากที่สดุ ขอ้ ความ ความถ่ใี นการปฏิบตั ิ 1. ทา่ นรับประทานอาหารในแต่ละวนั ครบทง้ั 3 มื้อ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ ไมเ่ คย 2. ทา่ นไมไ่ ด้รับประทานอาหารเชา้ เพราะอย่ใู นเวลา เป็นประจา บางคร้งั ปฏบิ ตั ิเลย เรง่ ดว่ น 3. ทา่ นรบั ประทานขา้ วเปน็ อาหารหลัก สลับกบั อาหาร ประเภทแปง้ อื่นๆ เป็นบางม้อื 4. ท่านดมื่ น้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แกว้ 5. ทา่ นรับประทานผกั และผลไม้ตามฤดูกาลทุกม้ืออาหาร 6. ทา่ นรบั ประทานอาหารเช้าขณะเดนิ ทางอยู่ในรถสว่ นตวั หรอื รถโดยสาร 7. ทา่ นรบั ประทานอาหารฟาสต์ฟดู้ เป็นอาหารเช้า เชน่ แฮมเบอร์เกอร์ แซนดว์ ชิ 8. ท่านรบั ประทานอาหารประเภทบะหมี่กึ่งสาเรจ็ รูป / โจ๊กกงึ่ สาเรจ็ รปู

69 ขอ้ ความ ความถ่ีในการปฏิบัติ 9. ทา่ นทางาน/เรยี นจนลมื รบั ประทานอาหาร ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ ไมเ่ คย 10. ท่านรับประทานอาหารประเภทปง้ิ ย่าง รมควัน เปน็ ประจา บางครั้ง ปฏบิ ัตเิ ลย 11. ทา่ นรับประทานอาหารทปี่ รงุ เสรจ็ ใหม่ๆ ปราศจากการ ปนเปื้อน 12. ทา่ นดม่ื นมอย่างน้อยวันละ 1 แกว้ 13. ท่านรบั ประทานอาหารทะเลอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 2 ครง้ั 14. ท่านรับประทานอาหารท่มี ีกะทเิ ป็นส่วนประกอบ เชน่ แกงกะทิ ขนมหวานใส่นา้ กะทิ 15. ทา่ นรับประทานอาหารมื้อเย็นหลงั เวลา 20.00 น. 16. ทา่ นรับประทานอาหารฟาสต์ฟู้ด เช่น ไกท่ อด พิซซ่า แฮมเบอรเ์ กอร์ 17. ทา่ นชอบรับประทานอาหารรสหวานจดั หรือเค็มจดั 18. ทา่ นดื่มชา / กาแฟ 19. ทา่ นดมื่ เคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์ เชน่ สรุ า เบียร์ ไวน์ 20. ท่านดื่มนา้ อดั ลม 21. ท่านดื่มเคร่ืองด่ืมชกู าลัง 22. ทา่ นใช้น้ามนั พืช แทนนา้ มนั จากสัตว์ 23. ทา่ นรับประทานอาหารประเภทเน้ือสัตวต์ ิดมัน หรือ อาหารท่ีมีไขมนั สงู เช่น ขา้ วขาหมู ข้าวมนั ไก่ 24. ท่านรบั ประทานขนมหวาน เช่น ฝอยทอง ทองหยบิ ทองหยอด เค้ก โดนทั 25. ท่านใส่ผงชูรสหรอื ผงปรงุ แต่งรสอาหาร ลงในอาหารที่ ท่านปรุง 26. ท่านมกั เติมน้าปลา / นา้ ตาล ลงในอาหารทีร่ บั ประทาน 27. ท่านใชช้ ้อนกลางในการรบั ประทานอาหารร่วมกับ ครอบครัวหรือบุคคลอน่ื 28. ทา่ นเลือกซื้ออาหารโดยพจิ ารณาความสะอาดของร้าน และผ้ขู าย มากกว่าความอร่อย 29. ทา่ นดูวันหมดอายุก่อนซอ้ื อาหารพร้อมปรุงหรอื อาหาร สาเรจ็ รปู 30. ทา่ นสังเกตเครื่องหมาย อย. ก่อนซ้ือผลติ ภัณฑ์อาหาร ต่างๆ

70 สว่ นที่ 4 เจตคติต่อการบรโิ ภคอาหาร คาชแ้ี จง โปรดทาเคร่อื งหมาย ลงในช่องวา่ งหลังข้อความทตี่ รงกับความคิดเหน็ ของทา่ นมาก ท่สี ุด เจตคตเิ กีย่ วกบั การบรโิ ภคอาหาร เหน็ ด้วย เห็น ไม่ ไม่เหน็ ไมเ่ ห็นด้วย อยา่ งยงิ่ ดว้ ย แน่ใจ ดว้ ย อย่างย่ิง 1. การบรโิ ภคอาหารฟาสต์ฟู้ด ทาใหร้ สู้ กึ เป็นคนทนั สมยั 2. การบริโภคอาหารให้อิม่ ทุกม้ือจะทาให้ ไม่ขาดสารอาหาร 3. การบริโภคอาหารหลากหลายชนิดช่วย ใหร้ า่ งกายแข็งแรง 4. การบริโภคอาหารฟาสตฟ์ ดู้ แบบ ชาวตะวันตก เปน็ ส่งิ ท่ีดี เพราะมคี ุณค่า ทางโภชนาการครบถ้วน 5. การบริโภคอาหารไทยทาให้เปน็ คน ล้าสมัย 6. การบริโภคซุปไกส่ กัดทุกวนั ชว่ ยให้เรียน หนงั สอื เก่งขึน้ 7. น้าชาเขียวเปน็ เครือ่ งดืม่ สาหรับคนร่นุ ใหม่ 8. การดม่ื น้าผลไม้มปี ระโยชนต์ ่อสขุ ภาพ 9. การดื่มกาแฟจะทาให้อา่ นหนังสอื / ทางานไดน้ านข้ึน 10. การรับประทานอาหารสาเรจ็ รูปเป็นการ ประหยัดและมีประโยชน์ 11. การรบั ประทานอาหารที่มีรสหวานจะ ทาให้อว้ น 12. การด่ืมเครื่องดื่มชกู าลังจะชว่ ยให้ แข็งแรง 13. การไม่ดม่ื แอลกอฮอล์ทาให้เข้ากลุ่มกับ เพอื่ นไม่ได้ 14. การรับประทานอาหารไม่สมส่วนจะทา ใหม้ ผี ลตอ่ สขุ ภาพในอนาคต 15. การรับประทานผลติ ภณั ฑ์อาหารเสริม ให้ประโยชนต์ ่อรา่ งกาย

เจตคติเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร เห็นด้วย เหน็ 71 อย่างยงิ่ ดว้ ย 16. การรับประทานอาหารแช่แข็งและอนุ่ ไม่ ไม่เหน็ ไมเ่ ห็นดว้ ย ดว้ ยไมโครเวฟเหมาะสมกับวถิ ีชวี ิตใน แนใ่ จ ดว้ ย อยา่ งย่งิ ปัจจุบนั 17. อาหารประเภทปิ้ง ยา่ ง รมควัน เป็น อาหารท่มี ีกลน่ิ หอม 18. วยั รนุ่ ไม่จาเป็นตอ้ งเดมิ นมเพราะ รา่ งกายเติบโตเต็มที่แล้ว 19. การดืม่ นา้ อดั ลมทาให้สดชื่น กระปรกี้ ระเปร่า 20. การด่มื ชา กาแฟ โอวลั ตนิ นมกลอ่ ง แฮมเบอรเ์ กอร์ เป็นคนทนั สมัย ............................................................................................................................. .........................................