Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 7.

Search

Read the Text Version

45 เลือดเยน็ ไมส ะทกสะทา น เหีย้ ม แพแตก พลดั พรากจากกนั อยางกระจัดกระจาย ไมอ าจ จะมารวมกันได ไมม ปี ม ีกลอง ไมมีปม ขี ลยุ ไมมีเคามากอนเลยวาจะเปน เชนน้ี จู ๆ ก็เปน ขึ้นมา หรอื ตดั สินใจทาํ ทันที รักดีหามจัว่ รักช่ัวหามเสา หมายถงึ ใฝดจี ะมีสขุ ใฝช ั่วจะพบความลําบาก สวยแตรปู จบู ไมหอม มีรปู รางหนาตางาม แตความประพฤติและ กริ ิยามารยาทไมด ี อดเปรยี้ ว ไวก ินหวาน อดใจไวกอน เพราะหวังสง่ิ ทีด่ ี สงิ่ ทปี่ รารถนา ขา งหนา ฯลฯ สํานวนตา ง ๆ ยอ มมีท่ีมาตาง ๆ กัน เชน จากการดูลักษณะนิสัยใจคอของคน จากเหตกุ ารณแ ปลก ๆ จากความเปน ไปในสังคม จากส่ิงแวดลอ ม นิทาน ประวัติศาสตร ตํานาน ฯลฯ สํานวนจึงเกิดข้ึนเสมอ เพราะคนชางคิดยอมจะนําเร่ืองนั้นเรื่องน้ีมาผูกเปนถอยคํา สํานวน สมัยใหมท ่ไี ดย ินเสมอ ๆ เชน เขย้ี วลากดิน หมายถึง คนเจาเลห รูม าก ชํานาญ เชย่ี วชาญ (ในเร่อื งไมดี) ชนั้ เชงิ มาก สมหลน หมายถงึ ไดร ับโชคลาภโดยไมไดคดิ หรอื คาดหวงั ไวกอน เด็กเสน หมายถึง มคี นใหญค นโต หรอื ผูมอี ทิ ธิพลท่ีคอย ชวยเหลอื หนุนหลงั อยู อม หมายถงึ แอบเอาเสียคนเดยี ว ยักยอกไว ฯลฯ 5.2 คําพังเพย คือ สํานวนภาษาท่ีใชเ ปรียบเทียบหรือเปรียบเปรย ประชดประชันมี ความหมายเปน คติสอนใจ มีลักษณะคลายกับสุภาษิต อาจจะเปน คํากลาวติชมหรือแสดงความ คดิ เหน็ คาํ พังเพยเปนลักษณะหน่งึ ของสํานวนภาษา เชน กินบนเรอื น ข้บี นหลงั คา หมายถงึ เปรียบกบั คนอกตัญู หรือเนรคุณ ขายผา เอาหนารอด หมายถึง ยอมเสยี สละแมส่งิ จาํ เปน ทีต่ นมีอยู เพือ่ รักษาชอื่ เสียงของตนไว

46 คางคกข้ึนวอ แมงปอใสต ุงต้ิง หมายถึง คนทฐ่ี านะตาํ่ ตอยพอไดดบิ ไดดี กม็ กั แสดงกิริยา อวดดี ตาํ ขาวสารกรอกหมอ หมายถึง คนเกียจครา นหาเพียงพอกนิ ไป มื้อหน่ึง ๆ ทําพอใหเ สร็จไปเพียง ครงั้ เดยี ว นํา้ ทว มปาก หมายถงึ พูดไมอ อก เพราะเกรงจะมภี ัยแก ตนและคนอืน่ สอนหนงั สอื สังฆราช หมายถึง สอนสง่ิ ท่เี ขารอู ยูแลว ปลํา้ ผีลกุ ปลกุ ผีน่ัง หมายถงึ พยายามทาํ ใหเ ปนเรื่องเปนราว ขนึ้ มา มัง่ มใี นใจ แลนใบบนบก หมายถึง คดิ ฝนในเรื่องท่เี ปน ไปไมได คดิ สมบตั บิ าสรางวมิ านในอากาศ ราํ ไมด โี ทษปโ ทษกลอง หมายถึง ทําไมดี หรือทาํ ผดิ แลว ไมรับผิด กลบั โทษผอู น่ื หาเลอื ดกับปู หมายถึง เคี่ยวเขญ็ หรอื บบี บงั คบั เอากับ ผทู ี่ไมมจี ะให เอามือซุกหีบ หมายถงึ หาเรอ่ื งเดือดรอ นหรือความลําบาก ใสตัวโดยใชท ่ี 5.3 สุภาษติ คือ สํานวนภาษาทใี่ ชเ ปน เครอ่ื งเตือนสติ คาํ กลา วสอนใจในสิง่ ทเ่ี ปน ความจริง แทแนน อนเปน สจั ธรรม มกั กลา วใหท ําความดีหลีกหนีความช่วั เชน กลานักมกั บิ่น หมายถึง กลา หรอื หาวหาญเกินไปมักได รับอันตราย เขา เถ่ือนอยาลืมพรา หมายถึง ใหม สี ติอยาประมาท เชนเดยี วกับ เวลาจะเขา ปาตองมมี ีดพรา ติดตวั ไปดวย เดนิ ตามหลังผูใหญห มาไมก ัด หมายถงึ ประพฤตติ ามผใู หญยอ มปลอดภยั นา้ํ ข้นึ ใหรีบตกั หมายถึง มีโอกาสควรฉวยไว หรือรีบทาํ บวั ไมช าํ้ น้ําไมข นุ หมายถึง รจู กั ผอ นปรนเขาหากัน มใิ ห กระทบกระเทือนใจกันรูจ ักถนอม นํา้ ใจกนั มใิ หขนุ เคืองกัน

แพเปนพระ ชนะเปนมาร หมายถึง 47 รกั ยาวใหบ น่ั รักส้นั ใหตอ หมายถงึ การรจู ักยอมกันจะทาํ ใหเรื่องสงบ เอาพิมเสนไปแลกเกลอื หมายถงึ มุงแตจะเอาชนะจะมแี ตความ เดือดรอ น รกั จะอยูดว ยกันนาน ๆ ใหต ดั ความโกรธอาฆาตพยาบาทออกไป ถาไมค ดิ จะรักกนั นานก็ใหโตเถยี ง เร่ืองท่โี กรธกนั และทําใหไ มตรี ขาดสะบัน้ ลดตัวลงไปทะเลาะหรือมีเร่ืองกบั คนท่ตี ่าํ กวา มีแตจะเสยี 5.4 สํานวนภาษาเฉพาะถน่ิ สาํ นวนภาษาทเี่ ปนวัฒนธรรมอยา งหน่งึ ของคนไทย จึงมอี ยูทกุ ทอ งถนิ่ ดังน้ี ภาคเหนือ ทาํ มิชอบเขา ลอบตนเอง หมายถงึ กรรมท่ผี ใู ดทาํ ไวย อมสงผลใหแ กผ ูน้นั คนรกั ใหญเทา รอยตีนเสือ หมายถึง คนรกั มนี อย คนชังมมี าก ขา วเหลอื เกลอื อิ่ม หมายถึง อยูดกี นิ ดี ฯลฯ ภาคใต ปากอ้ีฆาคอ หมายถึง ปลาหมอตายเพราะปาก ใหญพรา วเฒา ลอกอ หมายถึง อายุมากเสียเปลาไมไดม ีลักษณะ เปนผูใหญ ชา งแลน อยายุงหาง หมายถงึ อยา ขัดขวางผทู ี่มีอํานาจ หรอื เหตุ การณท่กี ําลงั รนุ แรงอยา ไปขดั ขวาง ฯลฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตกี ลองแขงเสียงฟา ขี่มา แขง หมายถึง แขงดหี รือผมู ีอาํ นาจวาสนา ตาแวน (ตะวัน) ไมม ที างจะสไู ด

48 นํา้ ขึน้ ปลาลอย นํ้าบกหอยไต หมายถงึ ทใี ครทีมัน ตกหมแู ฮง (แรง ) เปนแฮง หมายถงึ คบคนดีจะพาใหต นดีดว ย ตกหมูกาเปนกา หมายถงึ คบคนชั่วจะพาใหตนช่วั ตาม ฯลฯ เรื่องที่ 6 การใชท กั ษะทางภาษาเปน เคร่อื งมือการแสวงหาความรู การสอื่ ความหมายของมนุษยเ ปน ส่งิ ทจ่ี ําเปนอยางย่ิง และการส่ือสารจะดีหรือไมด ีข้ึนอยู กับทักษะทางภาษาของแตล ะคน ซ่ึงเกิดข้ึนไดจะตองมีการฝก เปนประจํา เชน ทักษะการฟง ทกั ษะการพูด ทกั ษะการอา น ทกั ษะการเขียน และทักษะตาง ๆ เหลา น้ีไดมีการซึมซับอยูใ นคนทุก คนอยูแลว เพยี งแตว า ผใู ดจะมโี อกาสไดใ ชไ ดฝกฝนบอ ย ๆ กจ็ ะเกิดทักษะทช่ี าํ นาญขึ้น ในการแลกเปล่ียนขอมูล ขา วสาร ความรู ความเขา ใจของคนในอดีตจะเปนการส่ือสาร โดยตัวตอ ตัวเพราะอดีตคนในสังคมมีไมม าก แตป จ จุบันคนในสังคมเร่ิมมากข้ึน กวางขึ้น การแลกเปล่ียนขาวสารขอ มูลจงึ จาํ เปน ตองใชเครอื่ งมือสอื่ สารไดร วดเร็วกวา งไกลและทั่วถึง ไดแก โทรศัพท โทรเลข โทรทัศน วิทยุ โทรสาร คอมพิวเตอร ซ่ึงเคร่ืองมือแตละประเภทมีจุดเดน หรือ ขอจาํ กดั ทแ่ี ตกตา งกันไป การใชภ าษาในชีวิตประจําวันไมวา จะเปน ภาษาพูดหรือภาษาเขียน จะตอ งใหเ หมาะสม กับบุคคลและสถานการณ เชน กิน เปน ภาษาท่ีใชกันในกลุม เพ่ือนหรือบุคคลคุนเคย แตถา ใชกับ บุคคลทเ่ี ปนผใู หญหรอื คนที่ไมคนุ เคย จะตองใชภ าษาท่สี ภุ าพวา ทาน หรือรับประทาน แม  คณุ แม  มารดา  หมอ  คณุ หมอ  แพทย เปน ตน การใชภ าษาไทยนอกจากจะตอ งมีความรู ความเขา ใจภาษาแลว สิ่งสําคัญอยา งย่ิง ประการหนง่ึ คือ ความมคี ุณธรรมในการใชภ าษา ไมวา จะเปน ภาษาพดู หรอื ภาษาเขยี น วิธกี ารใชภาษาไดเ หมาะสม มีดงั น้ี 1. ใชภ าษาตรงไปตรงมาตามขอ เท็จจริงทเ่ี กิดขึน้ ไมพูดโกหก หรอื หลอกลวงใหรายผอู ื่น 2. ใชภ าษาไพเราะ คาํ สุภาพไมใชคาํ หยาบ 3. ใชภ าษาใหเ หมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบุคคลทีส่ ่อื สารดว ย 4. ใชภาษาเพื่อใหเ กดิ ความสามคั คี ความรกั และไมท าํ ใหเกิดความแตกแยก 5. ใชภ าษาใหถ ูกตอ งตามหลกั การใชภาษา นอกจากนั้นแลว การแสวงหาความรูไ มใ ชเ พียงคน ควา หรืออานจากหนังสือเพียงอยางเดียว ปจจุบันคอมพิวเตอรมีสวนใหความรูกับเรามากเหมือนกับยอโลกใหเราไดเรียนรูไดเลย ผูเรียน อาจจะนาํ วธิ ีการใชภาษานาํ ไปใชใหเ หมาะสมได

49 6.1 ลกั ษณะของคาํ ไทย คาํ ภาษาถน่ิ และคาํ อนื่ ในภาษาไทย การนาํ คาํ ภาษาถนิ่ และภาษาตา งประเทศมาใชใ นภาษาไทย จงึ ทาํ ใหภาษาไทยมีคํา ที่ใชสื่อความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากข้ึน ซึ่งไมว า จะเปน คําไทย คําภาษาถ่ิน หรือคํา ภาษาตา งประเทศตางก็มีลกั ษณะเฉพาะทีแ่ ตกตางกัน ลกั ษณะของคําไทย มหี ลกั การสงั เกต ดงั น้ี 1. มีลักษณะเปน คําพยางคเ ดียวโดด ๆ มีความหมายชัดเจน เปน คําท่ีใชเรียกชื่อ คน สัตว สงิ่ ของ เชน แขน ขา หัว พอ แม เดิน วิง่ นอน ฯลฯ แตม คี ําไทยหลายคาํ หลายพยางค ซงึ่ คาํ เหลา น้ี มสี าเหตุมาจากการกรอนเสียง ของคําหนาท่นี าํ กรอ นเปน เสียงส้นั (คาํ หนา กรอ นเปนเสียงส้ัน) กลายเปนคาํ ที่ประวสิ รรชนีย เชน มะมวง มาจาก หมากมวง มะนาว มาจาก หมากนาว มะกรูด มาจาก หมากกรดู ตะขบ มาจาก ตน ขบ ตะขาบ มาจาก ตัวขาบ - การแทรกเสียง หมายความวา เดิมเปน คําพยางคเดียว 2 คําวางเรียงกัน ตอมาแทรกเสยี งระหวา งคําเดิม 2 คาํ และเสียงทแ่ี ทรกมกั จะเปนเสียงสระอะ เชน ผกั กะเฉด มาจาก ผักเฉด ลกู กระดุม มาจาก ลกู ดุม ลูกกะทอน มาจาก ลกู ทอ น - การเติมเสียงหนา พยางคหนา เพ่ือใหม ีความหมายใกลเคียงคําเดิม และมี ความหมายชัดเจนขนึ้ เชน กระโดด มาจาก โดด ประทวง มาจาก ทว ง ประทบั มาจาก ทับ กระทาํ มาจาก ทํา ประเด๋ยี ว มาจาก เด๋ยี ว 2. มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมก ง) ตัก (แมก ก) กบั (แมกบ) เปน ตน 3. ไมน ยิ มมคี าํ ควบกลํ้า เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปนตน 4. ไมม ีตวั การนั ต คําทกุ คาํ สามารถอานออกเสยี งไดห มด เชน แม นารัก ไกล

50 5. คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยา ง เชน ขันตักนํ้า นกเขาขัน หวั เราะขบขัน 6. มีรูปวรรณยุกตก ํากับเสียง ทั้งที่ปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป เชน นอน (เสยี งสามัญ ไมปรากฏรูป) คา (เสียงตรี ปรากฏรปู ไมโ ท) 7. คําทอี่ อกเสยี ง ไอ จะใชไมม ว น ซึ่งมีอยู 20 คาํ นอกน้นั ใชไมม ลาย ผใู หญห าผา ใหม ใหสะใภใชค ลอ งคอ ใฝใจเอาใสห อ มหิ ลงใหลใครขอดู จะใครล งเรือใบ ดนู ํ้าใสและปลาบู สง่ิ ใดอยใู นตู มิใชอ ยใู ตต่งั เตยี ง บา ใบถือใยบวั หตู ามวั มาใกลเคียง เลา ทอ งอยา ละเลยี่ ง ยส่ี บิ มว นจาํ จงดี 6.2 ลกั ษณะของคําภาษาถ่ิน ภาษาถ่ิน หมายถึง คําท่ีใชในทองถ่ินตาง ๆ ของประเทศไทยท่ีมีลักษณะแตกตา ง จากภาษากลาง เชน ภาษาถิ่นใต ภาษาถ่ินอีสาน ภาษาถ่ินเหนือ ซ่ึงภาษาถ่ินเหลา นี้เปนภาษา ทีใ่ ชกนั เฉพาะคนในถิน่ นนั้ ตวั อยาง เปรยี บเทียบภาษากลาง และภาษาถ่ิน ภาษากลาง ภาษาถนิ่ เหนอื ภาษาถ่นิ อสี าน ภาษาถน่ิ ใต พูด อู เวา แหลง ลอกอ มะละกอ มะกว ยเตด หมากหงุ หรอย อรอ ย ลํา แซบ ยานดั สับปะรด ฉาน ผม/ฉัน มะขะนัด หมากนดั ขาเจา เฮา ขอ ย 6.3 คาํ ภาษาอ่นื ในภาษาไทย คําภาษาอ่นื ที่ใชอยูใ นภาษาไทยมมี ากมาย เชน ภาษาจนี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ แตท ่ีใชก ันอยูสว นใหญม าจากภาษาจีน และภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากประเทศไทยมีการ ติดตอและมีการเจริญสัมพันธไมตรีกับชาตินั้น ๆ จึงยืมคํามาใช ซ่ึงทําใหภ าษาไทยมีคําใชในการ ตดิ ตอสอ่ื สารมากข้นึ

ตัวอยา ง 51 ภาษาจนี ภาษาองั กฤษ ตงฉิน แปะเจีย๊ ะ กวยจับ๊ ซนิ แส กก โฮมรูม ซอส โชว แชมป คลินกิ แท็กซ่ี ปม แสตมป อ้งั โล เหลา ฮอ งเต ต้งั ฉา ย แซยิด มอเตอรไซต ฟต อิเลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร คอรด ซอี ว้ิ เซยี น เตาฮวย เตา หู เปนตน เปนตน กจิ กรรมทา ยบทที่ 5 กจิ กรรมที่ 1 หลกั ภาษาไทย “ขุนชา ง ขนุ แผน และนางวนั ทอง เปนคนเมืองสุพรรณบุรี พวกเขาเคยเปนเพ่ือนเลนกันมา และตางเปนกําพราบิดา ขุนแผนกับมารดาอพยพไปอยูกาญจนบุรี ตอมาขุนแผนไปบวชอยูที่ วัดปา เลไลยส ุพรรณบรุ ี มโี อกาสไดพบกบั นางวนั ทอง” จากขอความขางตน คาํ ใดเปน คาํ นามเรียกบุคคล สถานที่ และสมหุ นาม (5 คะแนน) กิจกรรที่ 2 ใหผูเรยี นบอกลกั ษณะคําวเิ ศษณท่ขี ีดเสนใตไ วว าเปน คําวิเศษณประเภทใด (5 คะแนน) 1. คณุ พอชอบอาหารรสเค็ม คณุ แมช อบขนมหวาน 2. คนดคี วรไดรับรางวัล คนชั่วตองถูกลงโทษ 3. เสือ้ สขี าวขายดที ่สี ดุ แตนักกีฬาชอบเสือ้ สแี ดง 4. คนโบราณมีความเชอ่ื ในเรอื่ งการทําบุญ 5. ญาตผิ ูปว ยกรณุ ารอขา งนอก 6. ชุมชนเรามคี นจาํ นวนมากเขามาอาศยั อยู 7. หมูบ านแหง น้สี วยงามมาก 8. ฝนตกหนกั ทําใหนกั เรียนมาสาย คาํ วิเศษณบ อกลักษณะ คอื ............................................................................................ คาํ วเิ ศษณบอกเวลา คือ.................................................................................................. คําวิเศษณบอกจาํ นวน คือ.............................................................................................. คาํ วิเศษณบ อกสถานที่ คอื .............................................................................................. คาํ วิเศษณบ อกที่แสดงความชี้เฉพาะ คอื ........................................................................

52 กิจกรรมที่ 3 ใหผเู รียนนาํ ประโยคตอไปนี้มากรอกในโครงสรา งของประโยคใหถกู ตอง (5 คะแนน) ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สวนขยาย กริยา สว นขยาย กรรม สวนขยาย 1. นอ งคนเล็กกินไอศกรมี 2. พส่ี าวฉนั ชอบดูทีวี 3. แมค า ขายผลไมทุกวัน 4. ลูกชายเลนฟตุ บอลในสนาม 5. พอ ของฉันออกกาํ ลงั กายตอน เชา กจิ กรรมที่ 4 เคร่อื งหมายวรรคตอน ใหผูเรยี นบอกชื่อเคร่ืองหมายวรรคตอนและวธิ ีใชใหถกู ตองพรอ มยกตัวอยางประโยค (5 คะแนน) เครอ่ื งหมาย วิธใี ช ? ! () “……..” ๆ ฯลฯ ฯ

53 กิจกรรมท่ี 5 ใหนกั ศกึ ษาเขยี นคําราชาศพั ทและคาํ ทใี่ ชกบั พระสงฆ (5 คะแนน) คําราชาศัพท (2.5 คะแนน) 1. พอ 2. แม 3. ลูกสาว 4. ใหพ ร 5. ไปหาหรอื เขา พบ คาํ ทีใ่ ชเ กี่ยวกับพระสงฆ (2.5 คะแนน) 6. เชญิ 7. ไหว 8. ปวย 9. ให 10. ทาน กิจกรรมท่ี 6 คําพงั เพย ใหผูเรียนแปลความหมายคําพังเพยตอ ไปน้ี (5 คะแนน) 1. ขายผาเอาหนารอด หมายถึง…………………………………………….. 2. ขชี่ า งไลจ บั ตกั๊ แตน หมายถึง…………………………………………….. 3. กินปูนรอ นทอ ง หมายถงึ …………………………………………….. 4. เกบ็ เบย้ี ใตถุนรา น หมายถงึ …………………………………………….. 5. แกวง เทาหาเสย้ี น หมายถึง…………………………………………….

54 บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย คุณคา และประโยชนของนทิ าน นิทานพื้นบา น และวรรณกรรมทอ งถ่นิ 1.1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนของนทิ าน นิทาน หมายถึง เรื่องที่เลา สืบทอดกันมา ไมมีการยืนยันวา เปนเรื่องจริง เชน นิทานเด็กเลี้ยงแกะหรือเทวดากับคนตัดไม เปนนิทานสวนใหญ จะแฝงดวยคติธรรม ซึ่งเปนการ สรปุ สาระใหผ ฟู งหรอื ผูอ า นปฏบิ ตั ติ าม คณุ คาของนทิ าน 1. ใชเปน ขอคดิ เตือนใจ เชน ทําดีไดดี ทําช่ัวไดชวั่ 2. เปนมรดกของบรรพบุรษุ ท่ีเปนเรื่องเลา ใหฟง ท้ังไดรบั ความรูและความ เพลดิ เพลนิ ในเวลาอานหรอื เวลาฟงผูอ่ืน 3. ไดรับประโยชนจ ากการเลา และการฟงนิทานทง้ั ดานภาษาและคติธรรม ประโยชนของนทิ าน 1. ไดร บั ความรูเพ่มิ เติม 2. ไดรบั ความเพลดิ เพลิน สนกุ สนาน 3. ไดข อคิดเตือนใจนําไปใชป ระโยชนได เชน ความซ่ือสัตย เปน ตน 1.2 ความหมาย คณุ คา และประโยชนจากนิทานพน้ื บา น นิทานพ้ืนบาน หมายถึง เรื่องเลาที่เลา สืบทอดกันมา สว นใหญเ น้ือหาจะเปน ลกั ษณะเฉพาะถิ่น โดยอางอิงจากสถานท่ีหรือบุคคลซ่ึงเปนท่ีรูจ ักรว มกันของคนในถ่ินนั้น ๆ เชน นิทานพ้ืนบา นภาคกลาง เร่ืองลูกกตัญู นิทานพื้นบา นภาคใต เรื่องพิษงูเหลือม นิทานพ้ืนบา น ภาคเหนอื เรอ่ื งเชียงเหมี้ยงตาํ พระยา และนิทานพ้ืนบา นภาคอีสาน เรอื่ งผาแดงนางไอ คณุ คา ของนิทานพ้ืนบาน 1. เปนเรื่องเลาที่เลา สืบทอดกันมา ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงส่ิงแวดลอม ชีวิตความ เปน อยูในสมัยกอน 2. ถือเปนมรดกสําคญั ท่ีบรรพบุรษุ มอบใหแ กค นรุนหลงั 3. ใหข อ คดิ เตือนใจท่จี ะนําไปใชป ระโยชนไ ดในชวี ิตประจําวัน

55 ประโยชนข องนทิ านพนื้ บา น 1. ไดร ับความรูและความเพลิดเพลนิ จากการเลา การอา น และการฟง 2. ไดนําความรูไ ปใชประโยชน 3. ใชเผยแพรใหเยาวชนรนุ หลังไดร ู ไดเ ขาใจนทิ านพ้ืนบานของบรรพบรุ ษุ 1.3 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนจากวรรณกรรมทองถนิ่ วรรณกรรมทองถ่ิน หมายถึง เร่ืองราวท่ีมีมานานในทอ งถิ่น และมีตัวละคร เปนผูนําเสนอเน้ือหาสาระของเรื่องราวนัน้ เชน เร่อื งสาวเครอื ฟา หรอื วงั บวั บาน เปนตน คณุ คา ของวรรณกรรมทอ งถน่ิ 1. แสดงถงึ ชวี ติ ความเปน อยู สงั คม และวัฒนธรรมของทองถิ่นนั้น 2. เปนเร่ืองท่ใี หขอคิด ขอเตือนใจ 3. เปน มรดกสําคัญทมี่ คี ณุ คา ประโยชนข องวรรณกรรมทองถ่นิ 1. ไดความรู ความเพลดิ เพลนิ 2. นําขอคดิ ขอเตอื นใจ และสรุปนํามาใชใหเปน ประโยชนตอ ตนเองและผูอื่น 3. เปนความรทู ่เี ผยแพรใ หก วางขวางได เร่อื งท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดีทนี่ า ศกึ ษา 2.1 ความหมายของวรรณคดี วรรณคดี หมายถงึ เรอื่ งแตง ที่ไดร ับยกยองวาแตงดี เปนตัวอยางดา นภาษา แสดงให เห็นถึงวัฒนธรรมความเปน อยูในยุคนั้น ๆ แตงโดยกวีท่ีมีชื่อเสียง เชน วรรณคดีเร่ือง ขุนชา ง ขนุ แผน พระอภัยมณี และสงั ขทอง เปน ตน วรรณคดที แี่ ตงดี มลี ักษณะดงั น้ี 1. เนื้อเรอื่ งสนุกสนาน ใหขอคิด ขอ เตอื นใจ ที่ไมล า สมัย 2. ใชภาษาไดเ พราะและมีความหมายดี นาํ ไปเปน ตวั อยางของการแตง คําประพนั ธไ ด 3. ใชฉ ากและตัวละคร บรรยายลักษณะนิสัย และใหข อคิดท่ีผูอ านตีความ โดยฉาก หรอื สถานท่เี หมาะสมกับเร่ือง 4. ไดรบั การยกยอ ง และนําไปเปนเรื่องใหศกึ ษาของนักเรียนและนักศกึ ษาได 2.2 วรรณคดที ่ีนา ศกึ ษา สําหรับระดับประถมศึกษาน้ีมีวรรณคดีที่แนะนําใหศึกษา 3 เร่ือง คือ สังขทอง ซง่ึ เปน กลอนบทละคร พระอภัยมณี เปนกลอนนทิ าน และขุนชา งขุนแผน เปน กลอนเสภา

56 บทที่ 7 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชพี เร่อื งท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย ภาษาไทย นอกจากจะเปนภาษาที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวันของชาวไทยแลว ภาษาไทยยงั บง บอกถงึ เอกลกั ษณค วามเปนไทย มาตั้งแตโ บราณกาลเปน ภาษาที่ประดิษฐค ิดคนข้ึน โดยพระมหากษัตริยไทย ไมไดลอกเลียนแบบมาจากภาษาอื่น หรือชาติอ่ืน ประเทศไทยมี ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ ซึ่งถือไดวาเปนประเทศท่ีมีศิลปะวัฒนธรรมทางภาษา กลาวคือ เปนภาษาที่ไพเราะ สุภาพ ออนหวาน แสดงถึงความนอบนอม มีสัมมาคารวะ นอกจากนี้ยัง สามารถนํามาเรียบเรยี ง แตงเปนคําประพันธประเภทรอยแกว รอยกรอง นิยาย นิทาน วรรณคดี และบทเพลงตางๆ ไดอยางไพเราะ ทําใหเพลิดเพลิน ผอนคลายความตึงเครียดใหกับสมอง แมชาวตางชาติก็ยังชนื่ ชอบในศิลปวัฒนธรรมไทยของเรา ดังนน้ั พวกเราชาวไทย จงึ ควรเห็นคุณคา เห็นความสําคญั และรวมกันอนุรกั ษภ าษาไทย ไวใ หชนรุนหลังไดศ ึกษาเรียนรู และสืบทอดกันตอ ๆ ไป เพื่อใหภ าษาไทยของเราอยูค ูกับประเทศไทย และคนไทยตลอดไป ความสาํ คัญของภาษาไทย ภาษาไทยมคี วามสาํ คญั และกอ ใหเ กิดประโยชนห ลายประการเชน 1. เปนพื้นฐานในการศึกษาเรียนรูและแสวงหาความรู บรรพบุรุษไดสรางสรรค สะสม อนุรักษและถา ยทอดเปนวัฒนธรรมจนเปนมรดกของชาติ โดยใชภาษาไทยเปน ส่อื ทําใหคนรุนหลัง ไดใชภาษาไทยเปนเคร่ืองมอื ในการแสวงหาความรู ประสบการณ เลือกรับส่ิงท่ีเปนประโยชนมาใชใน การพัฒนาตนเอง พัฒนาสติปญญา กระบวนการ คือ การวิเคราะห วิพากษ วิจารณ การแสดง ความคดิ เหน็ ทาํ ใหเ กิดความรูและประสบการณท ีง่ อกงาม 2. เปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น เชน ศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา เปนตน ลว นตอ งใชภาษาไทยเปน พื้นฐานในการศึกษาทง้ั ส้นิ 3. เปนพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพ การบันทึกเรื่องราวตาง ๆ การจด บนั ทึก การอาน การฟงการดู ทําใหเ กดิ ประสบการณเหน็ ชองทางการประกอบอาชีพ

57 เรอ่ื งท่ี 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี การศึกษาและเรียนรูรายวชิ าภาษาไทย นบั เปน พนื้ ฐานสาํ คัญในการประกอบอาชพี หากมี การฝก ฝนเพม่ิ พนู ทกั ษะดานตา ง ๆ เชน การฟง การพดู การอา น และการเขียน ก็จะสามารถใช ประโยชนจากภาษาไทยไปประกอบอาชพี ได ในการประกอบอาชพี ตาง ๆ นั้น ลว นตองใชภาษาไทยเปนพนื้ ฐาน การไดฟง ไดอาน ได เขียนจดบันทึก ตวั อยา งเรื่องราวตาง ๆ จะทาํ ใหไ ดร ับความรแู ละขอ มูลเก่ียวกบั อาชพี ตา ง ๆ ทาํ ให มองเห็นชอ งทางการประกอบอาชพี ชวยใหต ัดสนิ ใจประกอบอาชพี ไดอยา งม่ันใจ นอกจากนย้ี งั เปน ขอ มูลที่จะชวยสงเสรมิ ใหบุคคลผทู ี่มีอาชีพอยแู ลว ไดพฒั นาอาชีพของตนใหเ จริญกาวหนา อีกดวย นอกจากนยี้ งั สามารถใชการฟง การดู และการอานเปนเคร่ืองมือท่จี ะชว ยใหผเู รยี นมีขอมลู ขอ เทจ็ จริง หลกั ฐาน เหตุผล ตวั อยา งแนวคิดเพ่ือนําไปใชใ นการวิเคราะห วิจารณ และตัดสินใจ แกปญ หาตา ง ๆ รวมท้ังตัดสินใจในการประกอบอาชีพไดเปนอยางดี ชอ งทางการประกอบอาชพี วิชาชีพทีใ่ ชภาษาไทย เปนทกั ษะพืน้ ฐานในการประกอบอาชีพ เชน 1. ผูประกาศ 2. พธิ ีกร 3. นกั จัดรายการวิทยุ 4. นักเขียนโฆษณาประชาสัมพันธ 5. นักขาว 6. นักเขียนบทความ ทง้ั นี้ ในการตดั สนิ ใจเลือกอาชีพตา ง ๆ ขึ้นอยกู ับความถนัด ความสามารถและ ประสบการณท่ีแตละคนไดส ่ังสมมา รวมท้งั ตอ งมีการฝก ฝนเรียนรเู พ่ิมเติมดว ย ขอคดิ สําหรบั การนาํ ความรไู ปใชใ นการพูด 1. เนอื้ หาทีพ่ ดู จะตองตรงตามวตั ถปุ ระสงคของงานหรอื กิจกรรมนั้น 2. มีวิธีพูดถูกตอ ง พูดชดั เจน สัน้ กระชบั ไดใจความ สรา งความประทบั ใจ 3. ผพู ูดมกี ารแสดงออกทางกาย สหี นา และทาทางเหมาะสมกบั เนือ้ หา 4. ฝกฝนและพัฒนาตนเองอยเู สมอ 5. พดู อยางสรางสรรคแ ละมีจรรยาบรรณในการพูด

58 ขอคดิ สาํ หรบั การนําความรูไ ปใชในการเขียน 1. เขียนถกู ตองตามหลกั ภาษาไทย 2. เขยี นใหสอดคลอ งกับวัตถปุ ระสงคของเร่อื งน้ัน ๆ 3. ฝก ฝนและพัฒนาตนเองในการเขยี นอยเู สมอ 4. เขยี นตวั อยางสรา งสรรคแ ละมีจรรยาบรรณในการเขยี น เร่อื งที่ 3 การเพ่มิ พูนความรูและประสบการณด านภาษาไทยเพอื่ การประกอบอาชีพ ผูเรียนที่มองเห็นชองทางการประกอบอาชีพแลว และในการตัดสินใจเลือกอาชีพ จําเปนตองศึกษา เรียนรูเพิ่มเติม เพ่ือเพ่ิมพูนความรูและประสบการณ นําไปประกอบอาชีพได อยา งมปี ระสิทธิภาพ การศกึ ษาเรยี นรเู พ่มิ เติม อาจทําไดห ลายวิธี 1. ศึกษาตอ ในระดบั ทสี่ ูงขึน้ 2. ศึกษาตอเรียนรูเพ่ิมโดยเลือกเรียนในรายวิชาเลือกตาง ๆ ท่ีสํานักงาน กศน. หรือ สถานศึกษาอนื่ ๆ ตามความตอ งการและตามความสนใจ 3. ฝก ฝนตนเองใหม ที กั ษะ มปี ระสบการณเพิ่มมากข้ึน โดยการเขารวมการอบรม สัมมนา หรอื ฝกปฏิบัตกิ าร เปน ตน

59 เฉลยกิจกรรมทา ยบทท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 1 ข้นั ที่ 1 ผสู อนแบง กลมุ ผูเ รยี น กลุม ละ 3 – 5 คน และเปดวดี ทิ ศั นภาพยนตรโ ฆษณา (ความยาวประมาณ 3 นาที) ใหผเู รยี นดู (5 คะแนน) ขั้นท่ี 2 ผเู รยี นรวมกันสรปุ เนือ้ หาตามหลกั การฟง การดู และสงผแู ทนกลุมนําเสนอ ข้ันที่ 3 ครูและผูเรียนรวมกันสรปุ เนือ้ หา ตามหัวขอ หลักการฟง และดู แนวคาํ ตอบ 1. ผเู รยี นสามารถสรุปเน้ือหาสาระที่ดูจากสื่อวดี ิทัศนไดครบถว น (2 คะแนน) 2. ผเู รียนสามารถบอกไดว า ไดรับประโยชนอ ะไรจากการฟง และดู (2 คะแนน) 3. ผเู รยี นมีการจดบนั ทึกสาระสาํ คัญเพ่ือเปนขอมลู ในการทบทวน (1 คะแนน) 4. ผูสอนสงั เกตผูเรยี นในการนาํ เสนอและสรุปเน้อื หาใหเ ปน ความแตกตา งระหวางพ้ืนฐาน การรับรขู องผเู รียนและสรุปเนอื้ หารวมกับผูเ รียน เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบเก่ยี วกบั เนื้อหาสาระไดถ ูกตองครบถว น ได 2 คะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบประโยชนใ นการฟงและดู ได 2 คะแนน ผเู รยี นมีการจดบนั ทกึ สาระสาํ คัญเพ่ือเปน ขอมลู ในการทบทวน ได1 คะแนน ตอบนอกเหนือจากแนวคาํ ตอบใหอ ยูในดุลยพินิจของผสู อน กิจกรรมที่ 2 ใหผเู รียนบอกประโยชนของการฟงและการดทู ่ีสามารถนําความรูไปใชในการพฒั นา ความเปน อยูในชีวิตประจําวันได พรอมยกตัวอยา ง (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ 1. การฟงและการดูทาํ ใหไดร ับความรูและขอ มลู ในการตดั สินใจแกปญ หา เชน การดสู าร คดี ขา วสารบา นเมอื ง และสาระความรตู า งๆ ทง้ั เอกสารส่งิ พิมพ 2. ไดร ับความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ผอนคลาย จากการดแู ละฟง ดนตรี นวนิยาย ละคร 3. สามารถจับใจความสาํ คญั จากการฟงและดู แลว นํามาประยุกตใชก บั ตนเองได 4. ไดคติชีวิต นาํ ไปสูกําลังใจในการพฒั นาตนเองใหส ามารถดําเนนิ ชวี ิตและแนวทางการ ประกอบอาชีพ

60 เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบครบถว นถูกตอง 4 ขอ ได 5 คะแนน ตอบตามแนวคําตอบครบ 3 ขอ ได 4 คะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบครบ 2 ขอ ได 3 คะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบครบ 1 ขอ ได 1-2 คะแนน กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนแบงกลมุ อภิปรายเกย่ี วกบั มารยาทในการฟง และมารยาทในการดู และสง ผแู ทนกลุมนาํ เสนอผลการอภปิ ราย (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ (ในการนําเสนอ) มารยาทในการฟง (2.5 คะแนน) 1. ตั้งใจฟงไมส งเสยี งรบกวนผูอืน่ ขณะฟง 2. ใหเ กียรติวิทยากร ไมค ยุ และไมถามเพอื่ ทดสอบความรูของผูพดู 3. ไมควรใช หรอื ควรปดอุปกรณก ารส่อื สารทกุ ชนดิ 4. หากมีขอ สงสยั ขณะฟง ควรถามเม่อื มโี อกาสท่เี หมาะสม มารยาทในการดู (2.5 คะแนน) 1. ต้ังใจดูไมพูดคยุ เสยี งดงั 2. ไมรบกวนสมาธิของผูอื่น 3. ไมค วรฉกี หรือทําลายภาพเอกสารทดี่ ี 4. ไมค วรวจิ ารณผ ูพูดในขณะทพี่ ูด เกณฑก ารใหค ะแนน รวมกนั ทํากิจกรรมกลุมและนาํ เสนอไดต ามแนวคําตอบใหหัวขอ ละ 2.5 คะแนน รวม 2 หวั ขอ ได 5 คะแนน เฉลยกจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รียนแบงกลมุ เพ่ือเตรียมการพดู ในโอกาสตาง ๆ ดงั นี้ (5 คะแนน) 1. การพูดอวยพร 2. การพูดขอบคณุ 3. การพูดแสดงความดีใจและเสยี ใจ 4. การพูดตอนรบั

61 5. การพูดรายงาน 6. การกลา วอําลา แนวคําตอบ 1. นาํ เสนอเนื้อหาไดเหมาะสมกับหัวขอที่ไดรับมอบหมาย 2. ความพรอม บุคลกิ ของผูท่ีไดรับมอบหมายจากกลมุ ใหเปนผนู ําเสนอ 3. เนื้อหาสาระในการพูดถูกตอง มีความนา เช่อื ถอื 4. มีการเตรียมเอกสารหลกั ฐานประกอบการพูด 5. การแตง กายสภุ าพเหมาะสมเพอ่ื เปน การใหเ กียรติผูฟง เกณฑก ารใหค ะแนน (5 คะแนน) - นาํ เสนอเนอื้ หาไดเหมาะสมกับหวั ขอ (การพูดในโอกาสตาง ๆ) ตามทไี่ ดร บั มอบหมาย ได 3 คะแนน - ความพรอม บคุ ลกิ ภาพ และการแตงกายสุภาพเหมาะสมของผนู าํ เสนอ ได 1 คะแนน - เนือ้ หาสาระถูกตอ งนา เชื่อถอื และมกี ารเตรียมส่ือประกอบการพดู ไดอ ยา งเหมาะสม ได 1 คะแนน เฉลยกจิ กรรมทา ยบทท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ เู รียนอานบทรอยกรองตอไปนีแ้ ลว สรปุ เปนรอยแกวใหไดความหมายทส่ี มบรู ณ (5 คะแนน) รักกันอยู ขอบฟา เขาเขยี ว เสมออยหู อ แหงเดยี ว รวมหอ ง ชงั กันบ แลเหลียว ตาตอกันนา เหมอื นขอบฟา มาปอง ปา ไมม าบงั โครงโลกนติ ิ สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยา เดชาดศิ ร แนวคําตอบ คนที่มีความรกั ความหวงใยกนั จะมคี วามรูสกึ ทีด่ ี เปรียบไดวา ถึงแมจ ะอยูห างไกลกนั แตยัง คดิ ถงึ หรือระลึกถึงกันอยเู สมอ แตสาํ หรบั คนท่ีเกลียดกันแมอ ยใู กลช ิดกนั ก็ไมต องการทจี่ ะพบปะกัน เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบตามแนวคาํ ตอบ ให 5 คะแนน ตอบนอกเหนอื จากแนวคาํ ตอบใหอ ยใู นดลุ พนิ ิจผสู อน

62 เฉลยกิจกรรมทายบทที่ 4 กิจกรรมท่ี 1 ใหผ ูเรยี นเติมคาํ คลอ งจองในชอ งวา งใหไดประโยคทส่ี มบูรณ (5 คะแนน) แนวคําตอบ ปูนา ขา เก รูมาก ยาก นาน ยุใหร ํา ตาํ ให ร่ัว พอ ของฉัน ฟน สี ขาว ชอบเรอ่ื งราว ท่ี เลา ขาน ไปตลาด ซือ้ ขนม ตาล อยากพบพาน แต คน ดี ขงิ ก็รา ขา ก็ แรง ไมขดั แยง เปน เรือ่ ง ดี เกณฑก ารใหค ะแนน คําคลอ งจองท่ผี ูเรยี นตอบไมจําเปนตองเหมอื นแนวคําตอบแตต อ งอา นใหพ อ ง เสียงเปน คําคลอ งจองและใหอยใู นดลุ ยพินิจของครูผสู อน - ตอบคาํ คลองจองไดค รบ 9-8 ขอ ได 5 คะแนน - ตอบคาํ คลองจองไดครบ 6-7 ขอ ได 4 คะแนน - ตอบคาํ คลอ งจองไดครบ 4-5 ขอ ได 3 คะแนน - ตอบคําคลองจองไดค รบ 2-3 ขอ ได 2 คะแนน - ตอบคาํ คลอ งจองได 1 ขอ ได 1 คะแนน - ตอบนอกเหนอื จากแนวคาํ ตอบใหอยใู นดุลพนิ ิจผสู อน กิจกรรมที่ 2 การบนั ทึกจากการอาน ใหผ เู รียนอา นบทความตอ ไปนี้ แลว ดาํ เนินการจดบันทกึ การอานตามหลกั การจด บันทกึ ใหถูกตอง (5 คะแนน) แนวคําตอบ 1. บันทกึ และจับใจความสาํ คัญของเรอ่ื งวา มวี ตั ถปุ ระสงคของขอ เขียนได 2 คะแนน 2. มคี ติขอคิดที่ผูเรียนตดั สนิ ใจจดบันทกึ ไว ได 2 คะแนน 3. มีการอา งองิ ชือ่ หนังสอื ................ผูแตง................แตงเม่ือใด ได 1 คะแนน

63 กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รียนเขียนเรียงความ เรอ่ื ง “แนวทางการดําเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มคี วามยาวไมเ กนิ 1 หนากระดาษ (10 คะแนน) แนวคําตอบ 1. เขยี นครบองคประกอบ 3 สว น คือ 1. คาํ นํา (2 คะแนน) 2. เน้อื เรื่อง (5 คะแนน) และ 3. สรปุ (3 คะแนน) (รวม 10 คะแนน) 2. ตอบนอกเหนือจากแนวคาํ ตอบ ใหอ ยูในดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน กิจกรรมที่ 4 ใหผ เู รยี นบอกมารยาทในการอานและการสรางนสิ ัยรักการอา น (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ มารยาทในการอาน (2 คะแนน) 1. ไมค วรอา นเรื่องสว นตวั ของผูอ ่นื 2. ไมควรชะโงกอา นหรอื แยงอานในขณะท่ผี ูอื่นกําลงั อาน 3. ไมอานออกเสียงดงั ในขณะท่ผี ูอน่ื ตองการความสงบ 4. ไมท ําลายหรอื ขดี ฆา ขอความในหนงั สือทไี่ มใชของตนเอง การสรางนสิ ัยรกั การอาน (3 คะแนน) เทคนิคการสรางนสิ ยั รกั การอา น ดังน้ี 1. เรมิ่ จากการหาหนังสือ วารสาร นติ ยสาร ส่ิงพิมพ ในประเภททตี่ นเองชอบ หรอื สนใจ มาเปน ตวั เรมิ่ ตน เชน นิตยสารดารา นวนิยายเด็ก หนังสือพิมพ วารสารทอ งเท่ยี ว นติ ยสาร กฬี า เปน ตน รวมถึงเว็บไซตข อมลู หรือบทความตาง ๆ ที่มเี นอ้ื หาทต่ี นสนใจ เพราะหากเราเร่ิมจาก สิ่งทต่ี นเองรักชอบเปนพิเศษ จะทําใหอ ยากอาน และทนอา นไดนาน 2. เมื่อเรม่ิ ตนฝกนิสัยการอา น จะพบวาตนเองอานไดไมเร็วนกั เน่ืองจากขาดการฝก ฝนมา นาน บางคนอา นยอ นไปยอ นมา หรือ อานเปนคํา ๆ ทําใหอ า นไดชา แตเมอ่ื อานส่งิ ทต่ี นสนใจ บอย ๆ กจ็ ะทําใหส ามารถอา นไดค ลอ งขึ้นและเร็วข้ึน ทกั ษะดานการอานเร็วน้นั ตอ งคอ ย ๆ พฒั นาจากการอา นบอ ยๆโดยฝกตนเองใหอ า นทลี ะประโยค ไมใ ชทลี ะคํา และอา นรวดเดียวจนจบ ยอหนา อยา อานยอ นประโยคไปมา เมอ่ื อา นจบยอหนา หากไมเ ขา ใจคอ ยยอ นมาอานใหมตั้งแตตน ยอหนา รวดเดียวจนจบซํา้ อีกครงั้ จงึ จะไดความคดิ รวบยอดของยอ หนา นน้ั 3. เมื่ออา นหนงั สอื ประเภททตี่ นชอบจนเริม่ คลอ งแลว ซึง่ คนสว นใหญกม็ ักชอบอานหนงั สือ แนวบนั เทิง กข็ ยบั ขยายมาเปนหนังสอื แนวอนื่ ท่อี าจเปน แนวสาระมากขึ้น แตย งั เปนสาระทีต่ นเอง

64 สนใจเปนการสวนตวั อยู เชน คอมพวิ เตอร เทคโนโลยี การเงินสว นบุคคล จติ วทิ ยาการพัฒนา ตนเอง เปน ตน เพราะหนังสือแนวน้ีจะชวยพัฒนาความรคู วามคิดใหแกผ อู านไดมาก 4. คอยๆอา นวันละเล็กละนอยกอนนอน เชน อานเปนเวลา 15 -30 นาที กอนนอนทุกคืน จนติดเปน นิสยั เหมือนการแปรงฟนอาบนํ้ากอ นนอน คอื ตอ งอานหนงั สือกอนนอน มิฉะนนั้ จะรูสกึ วา ลมื ทาํ อะไรไปสกั อยาง แสดงวา ทานเร่ิมตดิ การอา นแลว 5. พฒั นานสิ ยั รักการอา นมาสจู ุดทม่ี ีหนงั สอื ตดิ ตวั ติดรถ หรือ ตดิ กระเปา ไวต ลอดเวลา เมื่อไหรท ีม่ ีเวลาวา ง หรอื กาํ ลงั นง่ั รออะไรก็ตาม ก็หยบิ หนังสือขน้ึ มาอานทกุ ครั้งไป เปนการฆา เวลา และไดความรไู ปดว ย ทาํ ใหไมต องหวงวา ไมวาง ไมมเี วลาอานหนงั สอื เหมือนกับขอ อางของ คนสวนใหญ เพราะคณุ สามารถอา นไดท ุกชว งเวลาสัน้ ๆ ทม่ี ี เกณฑก ารใหค ะแนน - มารยาทในการอานตอบตามแนวคําตอบ ไดขอละ 0.5 คะแนน (รวม 2 คะแนน) - การสรางนิสยั รักการอา นตอบตามแนวคําตอบ ไดขอละ 1 คะแนน (รวม 3 คะแนน) - ตอบนอกเหนือแนวคําตอบใหอยูในดลุ ยพนิ ิจของผสู อน

65 เฉลยกิจกรรมทา ยบทท่ี 5 กิจกรรมท่ี 1 หลักภาษาไทย “ขุนชา ง ขุนแผน และนางวันทอง เปนคนเมืองสุพรรณบุรี พวกเขาเคยเปนเพ่ือนเลนกันมา และตางเปนกําพราบิดา ขุนแผนกับมารดาอพยพไปอยูกาญจนบุรี ตอมาขุนแผนไปบวชอยูท่ี วัดปาเลไลยสพุ รรณบุรี มโี อกาสไดพ บกบั นางวันทอง” จากขอความขางตน คาํ ใดเปนคาํ นามเรียกบุคคล สถานที่ และสมุหนาม (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ คาํ นามเรียกชื่อบุคคล คอื ขนุ ชาง ขนุ แผน นางวันทอง คาํ นามเรยี กชอ่ื สถานที่ คือ เมืองสุพรรณบุรี กาญจนบรุ ี วัดปาเลไลย คํานามที่เรียกรวมกันเปนหมู คือ (สมหุ นาม) พวก เกณฑก ารใหค ะแนน - ตอบไดครบทุกคาํ ถามครบถวน ได 5 คะแนน - ตอบไดไมครบทกุ คําถามใหอ ยูในดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน กจิ กรรท่ี 2 ใหผูเ รียนบอกลกั ษณะคาํ วิเศษณท ่ีขีดเสน ใตไวว าเปน คาํ วิเศษณประเภทใด (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ คําวเิ ศษณบอกลกั ษณะ คอื เค็ม หวาน ดี ชว่ั ขาว แดง คําวิเศษณบ อกเวลา คอื โบราณ สาย คําวเิ ศษณบ อกจาํ นวน คือ มาก คําวเิ ศษณบอกสถานท่ี คือ นอก คาํ วิเศษณบ อกทแี่ สดงความช้ีเฉพาะ คอื น้ี

66 เกณฑก ารใหค ะแนน ได 5 คะแนน ได 4 คะแนน - ตอบไดครบทุกขอแยกประเภทถกู ตอง ได 3 คะแนน - ตอบแยกประเภทไดถกู ตอ ง 6-8 คาํ ได 2 คะแนน - ตอบแยกประเภทไดถ กู ตอ ง 3-5 คํา ได 1 คะแนน - ตอบแยกประเภทไดถ กู ตอ ง 2 คาํ - ตอบแยกประเภทไดถ กู ตอ ง 1 คาํ กิจกรรมท่ี 3 ใหผูเ รยี นนาํ ประโยคตอไปนมี้ ากรอกในโครงสรางของประโยคใหถกู ตอง (5 คะแนน) แนวคําตอบ ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง สว น ประธาน สวนขยาย กริยา สวน กรรม ขยาย 1. นอ งคนเล็กกินไอศกรีม ขยาย - 2. พี่สาวฉนั ชอบดูทีวี นอ ง คนเล็ก กิน - ไอศกรีม - 3. แมค า ขายผลไมทกุ วัน พส่ี าว ฉัน ชอบดู - ทวี ี ทกุ วัน 4. ลูกชายเลนฟุตบอลใน แมค า - ขาย - ผลไม ในสนาม สนาม ลกู ชาย - เลน - ฟตุ บอล 5. พอของฉนั ออกกาํ ลงั กาย ตอนเชา พอ ของฉนั ออกกาํ ลงั ตอนเชา กาย เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบถูกขอ ละ 1 คะแนน กิจกรรมท่ี 4 เคร่อื งหมายวรรคตอน ใหผ ูเ รียนบอกช่อื เครอ่ื งหมายวรรคตอนและวิธใี ชใหถูกตองพรอ มยกตัวอยา งประโยค (5 คะแนน)

แนวคาํ ตอบ 67 เครอื่ งหมาย ? ปรศั นี วธิ ีใช ใชกับขอ ความท่ีเปนคําตอบ เชน ขอ นี้คาํ ตอนคอื อะไร? ! อัศเจรยี  ใชก บั คาํ อุทานหรือขอ ความท่ีแสดงอารมณตา งๆ เชน อุยตาย! อนิจจา! ( ) นขลิขติ ใชคั่นขอความอธบิ ายหรอื ขยายความคาํ หรอื ประโยคขา งหนาให ชัดเจน เชน นกมหี ู หนมู ีปก (คา งคาว) “…………” อัญประกาศ ใชสาํ หรับเขยี นครอ มคาํ หรอื ขอความเพ่ือแสดงวาขอความน้ันเปน คําพดู เชน “นํา้ มาปลากนิ มด น้ําลดมดกนิ ปลา” ๆ ไมย มก ใชเขยี นเพอื่ ซํ้าคาํ ซํ้าวลี ซาํ้ ประโยคสน้ั ๆ เชน เดินเร็ว ๆ ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชล ะขอ ความตอนปลายหรอื ตอนกลาง เชน ตนไมที่เปน สมุนไพร ไดแ ก ขิง ขา ตะไคร มะกรดู ฯลฯ ฯ ไปยาลนอย ใชละบางสว นของคาํ ทีเ่ นน ชอ่ื เฉพาะและรจู กั กนั ดแี ลว เชน กรุงเทพฯ เกณฑก ารใหค ะแนน - ตอบชอ่ื เครื่องหมาย พรอมยกตัวอยา งถูกตอ งไดม ากกวา 5 ขอ ให 5 คะแนน - ตอบชอ่ื เคร่อื งหมาย พรอ มยกตวั อยา งถูกตอ งได 4-5 ขอ ให 4 คะแนน - ตอบชือ่ เครือ่ งหมาย พรอ มยกตัวอยา งถูกตอ งได 3 ขอ ให 3 คะแนน - ตอบช่ือเคร่ืองหมาย พรอมยกตัวอยางถกู ตอ งได 2 ขอ ให 2 คะแนน - ตอบชอื่ เครื่องหมาย พรอมยกตวั อยา งถูกตองได 1 ขอ ให 1 คะแนน

68 กิจกรรมท่ี 5 ใหนักศึกษาเขียนคาํ ราชาศัพทและคําทีใ่ ชกบั พระสงฆ (5 คะแนน) แนวคาํ ตอบ 1. พอ คาํ ราชาศพั ท (2.5 คะแนน) 2. แม พระราชบิดา พระชนก 3. ลกู สาว พระราชมารดา พระราชชนนี 4. ใหพ ร สมเดจ็ พระเจา ลูกเธอ พระราชธิดา 5. ไปหาหรอื เขา พบ ถวายพระพร เฝาทูลละอองธลุ พี ระบาท 6. เชิญ 7. ไหว คาํ ทใ่ี ชเกีย่ วกับพระสงฆ (2.5 คะแนน) 8. ปว ย อาราธนา 9. ให นมสั การ 10. ทาน อาพาธ ถวาย ฉันภัตตาหารเชา เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบถกู ขอละ 0.5 คะแนน (10 ขอ รวม 5 คะแนน) กิจกรรมที่ 6 คําพงั เพย ใหผเู รยี นแปลความหมายคําพงั เพยตอ ไปน้ี (5 คะแนน) แนวคําตอบ 1. ยอมเสียสละแมแตข องจําเปน ท่ีตนมอี ยู เพือ่ รักษาช่ือเสยี งของตนไว 2. ลงทนุ มากแตไดผ ลนอ ยไมคมุ คา 3. ทาํ อาการมีพริ ธุ ขนึ้ เองแสดงออกอาการเดอื ดรอนขึ้นเอง 4. เก็บเลก็ ผสมนอ ยโนน บางนบ่ี า งจนสาํ เรจ็ เปนรปู เปน รางข้นึ มา 5. เขาไปยุงกับเร่อื งของผอู นื่ จนเกิดเปนเร่อื งกลับมาทตี่ ัวเอง เกณฑก ารใหค ะแนน ตอบถูกตามแนวคาํ ตอบได ขอ ละ 1 คะแนน ตอบนอกเหนอื จากแนวคาํ ตอบแตม ีความหมายตรงกันกบั แนวคําตอบใหอยใู นดลุ ยพนิ ิจ ของครูผูส อน

69 บรรณานกุ รม สงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั , สํานักงาน หนงั สอื เรยี นสาระความรู พื้นฐาน รายวชิ าภาษาไทย พท 11001 ระดับประถมศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554 เอกสารทางวิชาการ หมายเลช 1/2555 สรุ ะ ดามาพงษ และคณะ ภาษาไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน กรุงเทพฯ : โรงพิมพว ฒั นา พานชิ จาํ กดั . มปพ เอกรินทร สมี่ หาศาล และคณะ ภาษาไทย ป.6 กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั น กาญจนา เชือ่ มศรจี นั ทร 2552. จุดมงุ หมายในการอาน (ออนไลน)ใ แหลงท่มี า : http://www. thaigoodview,com (14 มกราคม 2557) ทีมงานทรูปลูกปญ ญา. 2552 การอานในใจ (ออนไลน) . แหลง ที่มา : http://www trueplookpamya.com (15 มกราคม 2557) www.m-cutture.go.th/ilovethaiculture/index.php/2013-09-03-09-34-32/km- travel/item/มารยาทในการพดู www.sopon.ac.th/sopon/thai/dand 2/Index/P2N2ntm/13 มกราคม 2557 http ://2020143.165.163/th-m1/chap 1/chap 1_2.pdf

70 คณะผูจัดทาํ ท่ปี รกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. 1. นายประเสรฐิ ทับสพุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. นายชาญวทิ ย จําจด รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายสรุ พงษ จันทรโอกลุ ผูเ ชยี่ วชาญเฉพาะดา นพฒั นาส่ือการเรียนการสอน 4. นางวัทนี สุวรรณพิทักษ ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดา นเผยแพรท างการศึกษา 5. นางกนกพรรณ งามเขตต ผูอ ํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางศทุ ธนิ ี ผเู ขียน/ผเู รียบเรยี ง และบรรณาธกิ าร 1. นางสาวพิมพาพร อินทจักร ขา ราชการบํานาญ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ 2. นางนพรัตน เวโรจนเ สรวี งศ ขา ราชการบาํ นาญ สาํ นักงาน กศน. 3. นายเริง กองแกว ศึกษานิเทศก สาํ นักงาน กศน. จังหวดั นนทบุรี คณะทํางาน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางสาวชมพูนท สังขพ ชิ ัย ผพู ิมพต น ฉบับ เพช็ รสวาง กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางสาวสลุ าง อนิ ทระสนั ต กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางจุฑากมล ผูออกแบบปก ศรีรตั นศิลป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน นายศุภโชค

71 คณะผูจัดทาํ กิจกรรมทา ยบทเอกสารสรปุ เน้ือหาท่ีตองรู ระหวา งวนั ที่ 1- 3 มถิ ุนายน 2559 ณ หอ งประชมุ บรรจง ชสู กลุ ชาติ ชั้น 6 สํานักงาน กศน. ทปี่ รกึ ษา เลขาธิการ กศน. 1. นายสรุ พงษ จาํ จด รองเลขาธิการ กศน. 2. นายกติ ติศักด์ิ รตั นฉายา ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางพรรณทพิ า ชนิ ชัชวาล ผเู ขียน/ผูเ รียบเรียง และบรรณาธิการ สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั นนทบุรี 1. นายเริง กองแกว สาํ นักงาน กศน. จงั หวดั ลพบรุ ี 2. นางสาวนติ ยา มขุ ลาย กศน.อําเภอเมอื ง จงั หวัดชลบรุ ี 3. นางสาวเอมอร แกว กลํ่าศรี กศน.เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 4. นางสาวอริญชัย อนิ ทรนัฏ คณะทาํ งาน กลุมพฒั นาระบบการทดสอบ 1. นางเกณกิ า ซิกวารท ซอน กลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ 2. นายธานี เครืออยู กลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ 3. นางสาวจรุ ีรตั น หวงั สิริรตั น กลมุ พัฒนาระบบการทดสอบ 4. นางสาวอษุ า คงศรี กลุม พัฒนาระบบการทดสอบ 5. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพฒั น กลมุ พฒั นาระบบการทดสอบ 6. นายภาวติ นธิ ิโสภา กลุมพฒั นาระบบการทดสอบ 7. นางสาวหทยั มาดา ดิฐประวรรตน

72


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook