Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

Published by nakichan, 2022-11-02 06:57:22

Description: รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

Search

Read the Text Version

+:*:!2+@#$- :+0 > 1:/<D +:83č +:*:!2+@#$- :+;D!<! :+ :)*@ 0:2+č:<#+8;#ā VYZX 5 8 ++): < :+< :)D2!5E!8 E-8D+ĉ+9 :+#+< A##+8D0E-8 :+9 ;E-8;D!!< :+:)*@ 0:2+č :< /@ 2< (: 01 06 02 05 03 04



ศาสตราจารย์พเิ ศษพรเพชร วชิ ิตชลชยั ประธานวุฒิสภา พลเอก สงิ หศ์ ึก สงิ หไ์ พร นายศุภชยั สมเจรญิ รองประธานวฒุ สิ ภา คนท่หี นง่ึ รองประธานวฒุ สิ ภา คนท่สี อง



รายนามคณะกรรมาธกิ ารตดิ ตาม เสนอแนะ และเร่งรดั การปฏริ ปู ประเทศ และการจดั ทำและดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ชาติ วุฒิสภา (ประธานคณะอนุกรรมาธิการตรวจสอบ วเิ คราะห์ และประเมินผลการดำเนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าติ คณะท่ี ๖ ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรบั สมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั พลเอก วรพงษ์ สงา่ เนตร พลเอก ไพชยนต์ ค้าทันเจรญิ พลเอก อาชาไนย ศรีสุข พลเอก สกล ชื่นตระกลู รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร คนที่หน่งึ คนทสี่ อง คนทส่ี าม (ประธานคณะอนกุ รรมาธิการตรวจสอบ วเิ คราะห และประเมนิ ผลการดำเนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าติ คณะที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นความมน่ั คง) นายดิเรกฤทธิ์ เจนครองธรรม นายพลเดช ปิน่ ประทปี นางสาวดาวน้อย สทุ ธนิ ิภาพนั ธ์ นายประมนต์ สธุ วี งศ์ ท่ปี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร รองโฆษกคณะกรรมาธกิ าร รองโฆษกคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี น่งึ คนทสี่ อง (ประธานคณะอนกุ รรมาธกิ ารตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ คณะที่ ๒ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งความสามารถ ในการแข่งขนั )



นายปานเทพ กล้าณรงคร์ าญ พลเอก สำเรงิ ศิวาดำรงค์ นายอำพล จนิ ดาวัฒนะ นายจรนิ ทร์ จกั กะพาก ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทปี่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร กรรมาธิการ ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร (ประธานคณะอนกุ รรมาธกิ ารตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมนิ ผลการดําเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าติ คณะท่ี ๔ ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม) พลเอก โปฎก บุนนาค นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์ นายณรงค์ ออ่ นสอาด กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร (ประธานคณะอนกุ รรมาธิการตรวจสอบ วิเคราะห์ และ (ประธานคณะอนุกรรมาธกิ ารตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติ คณะที่ ๕ ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความเติบโต และประเมนิ ผลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตร์ชาติ บนคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รต่อสิ่งแวดล้อม) คณะท่ี 3 ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการพฒั นาและ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย)์ นางดวงพร รอดพยาธิ์ พลเอก ธงชยั สาระสุข ศาสตราจารย์นสิ ดารก์ เวชยานนท์ คณุ หญงิ พรทิพย์ โรจนสุนนั ท์ กรรมาธกิ าร กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร นายสมชาย ชาญณรงค์กลุ นายสมศกั ดิ์ โชตริ ตั นะศริ ิ พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอตั ถ์ กรรมาธกิ าร กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ พลอากาศเอก อดศิ ักดิ์ กล่ันเสนาะ นายอนุศกั ดิ์ คงมาลยั นายเฉลิมชยั เฟือ่ งคอน กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ



รายนามประธานคณะกรรมาธกิ ารสามัญ ประจาวฒุ สิ ภา ๒๖ คณะ นายสงั ศติ พิรยิ ะรังสรรค์ พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ พลเอก ยอดยุทธ บุญญาธกิ าร ประธานคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธิการการคมนาคม ประธานคณะกรรมาธกิ ารการแก้ปัญหา ประธานคณะกรรมาธิการการกฬี า ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ ความยากจนและลดความเหลื่อมลา้ นายสมชาย หาญหิรญั นางพิกลุ แกว้ ไกรฤกษ์ พลเอก บุญสรา้ ง เนียมประดิษฐ์ พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏิมาประกร ประธานคณะกรรมาธกิ าร ประธานคณะกรรมาธิการการตา่ งประเทศ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการทหาร ประธานคณะกรรมาธกิ ารการท่องเที่ยว การเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง และความมน่ั คงของรัฐ พลเอก เลศิ รตั น์ รตั นวานิช พลเอก อกนิษฐ์ หม่นื สวสั ด์ิ พลเอก สกนธ์ สัจจานิตย์ นายเสรี สุวรรณภานนท์ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการพลงั งาน ประธานคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการปกครองท้องถ่นิ ประธานคณะกรรมาธิการ การพัฒนาการเมอื ง การบรหิ ารราชการแผ่นดิน และการมีสว่ นรว่ มของประชาชน นายวลั ลภ ตังคณานรุ ักษ์ พลตารวจเอก ชัชวาลย์ สขุ สมจิตร์ พลตารวจเอก อดลุ ย์ แสงสงิ แกว้ พลอากาศเอก ประจนิ จน่ั ตอง ประธานคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธิการการกฎหมาย ประธานคณะกรรมาธกิ ารการแรงงาน ประธานคณะกรรมาธกิ ารการอุดมศึกษา การพฒั นาสังคม และกิจการเดก็ เยาวชน การยตุ ธิ รรม และการตา้ รวจ วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม สตรี ผสู้ ูงอายุ คนพิการและผ้ดู อ้ ยโอกาส



พลเอก อนนั ตพร กาญจนรัตน์ นายมหรรณพ เดชวทิ ักษ์ นายตวง อันทะไชย นายเจตน์ ศิรธรานนท์ ประธานคณะกรรมาธกิ าร ประธานคณะกรรมาธกิ ารการศาสนา ประธานคณะกรรมาธิการการศกึ ษา ประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสขุ การเทคโนโลยีสารสนเทศ การสือ่ สาร คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศลิ ปะและวัฒนธรรม และการโทรคมนาคม นายกลา้ นรงค์ จันทิก พลเอก สุรศักด์ิ กาญจนรตั น์ พลเรอื เอก ศิษฐวัชร วงษส์ ุวรรณ นางอภริ ดี ตนั ตราภรณ์ ประธานคณะกรรมาธกิ าร ประธานคณะกรรมาธิการ ประธานคณะกรรมาธกิ ารการพาณิชย์ กจิ การองคก์ รอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ ประธานคณะกรรมาธิการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศึกษาตรวจสอบเร่อื งการทุจรติ ประพฤติมิชอบและเสริมสร้างธรรมาภบิ าล และการอตุ สาหกรรม นายสมชาย แสวงการ พลเอก ชาตอดุ ม ตติ ถะสริ ิ ประธานคณะกรรมาธิการสทิ ธมิ นุษยชน ประธานคณะกรรมาธิการติดตาม สิทธเิ สรีภาพและการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค การบรหิ ารงบประมาณ



(สำเนา) บันทกึ ขอ ความ สว นราชการ คณะกรรมาธกิ ารติดตาม เสนอแนะ และเรงรดั การปฏริ ูปประเทศฯ โทร. ๙๒๓๗ – ๘ ท่ี สว ๐๐๑๙.๑๙/(ร ๒๑) วนั ที่ ๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๕ เรือ่ ง รายงานสรปุ ผลการศกึ ษาวิเคราะหรายงานสรุปผลการดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ กราบเรียน ประธานวุฒสิ ภา ตามที่ในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑ (สมัยวิสามัญ) เปนพิเศษ วันอาทิตยที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ ที่ประชุมไดมีมติตั้งคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๗๕ ขึ้น โดยใหคณะกรรมาธิการมีหนาที่และอำนาจติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด กระทำกิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ เกี่ยวกับการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูป ประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติในภาพรวมใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ รวบรวมและจัดทำสรุปผลการศึกษาวิเคราะหรายงานผลการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศ และตามยุทธศาสตรชาติ รวมทั้งกำหนดแนวทางดำเนินการเพื่อประโยชนในการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามรัฐธรรมนูญ และการจัดทำและดำเนินการ ตามยุทธศาสตรชาติ และประสานงานกับคณะกรรมาธิการสามัญประจำวุฒิสภาอื่นทุกคณะ เพื่อดำเนินการใหเปนไปตามแนวทางดังกลาว และผลกั ดันใหค ณะกรรมาธิการดังกลาวมีการทำงานรวมกัน อยางบรู ณาการ ซึง่ คณะกรรมาธิการคณะนี้ ประกอบดวย ๑. พลเอก สงิ หศ ึก สงิ หไพร ประธานคณะกรรมาธกิ าร ๒. พลเอก ชูศกั ด์ิ เมฆสุวรรณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่หี นึง่ ๓. พลเรอื เอก ชมุ นุม อาจวงษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง ๔. ผูช วยศาสตราจารยเฉลิมชัย บุญยะลพี รรณ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทีส่ าม ๕. ศาสตราจารยพเิ ศษกาญจนารตั น ลีวโิ รจน รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีส่ ี่ ๖. พลเอก วรพงษ สงา เนตร เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร ๗. พลเอก ไพชยนต คาทนั เจรญิ รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนท่ีหนึ่ง ๘. พลเอก อาชาไนย ศรสี ขุ รองเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง ๙. พลเอก สกล ...

-๒- ๙. พลเอก สกล ช่ืนตระกลู รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนท่ีสาม ๑๐. นายดิเรกฤทธ์ิ เจนครองธรรม โฆษกคณะกรรมาธิการ ๑๑. นายพลเดช ปน ประทีป รองโฆษกคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีหน่ึง ๑๒. นางสาวดาวนอย สุทธินิภาพนั ธ รองโฆษกคณะกรรมาธิการ คนท่สี อง ๑๓. นายประมนต สุธีวงศ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ๑๔. นายปานเทพ กลา ณรงคราญ ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ๑๕. พลเอก สำเริง ศวิ าดำรงค ท่ปี รึกษาคณะกรรมาธิการ ๑๖. นายอำพล จนิ ดาวฒั นะ ทปี่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร ๑๗. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยุธยา กรรมาธกิ าร ๑๘. นายจรนิ ทร จักกะพาก กรรมาธิการ ๑๙. นายเฉลมิ ชยั เฟอ งคอน กรรมาธกิ าร ๒๐. นายณรงค สหเมธาพฒั น กรรมาธิการ ๒๑. นายณรงค ออนสอาด กรรมาธกิ าร ๒๒. นางดวงพร รอดพยาธ์ิ กรรมาธิการ ๒๓. พลเอก ธงชัย สาระสุข กรรมาธกิ าร ๒๔. ศาสตราจารยนสิ ดารก เวชยานนท กรรมาธกิ าร ๒๕. พลเอก โปฎก บุนนาค กรรมาธกิ าร ๒๖. คุณหญิงพรทิพย โรจนสนุ ันท กรรมาธิการ ๒๗. นายสมชาย ชาญณรงคก ลุ กรรมาธิการ ๒๘. นายสมศักด์ิ โชตริ ตั นะศิริ กรรมาธกิ าร ๒๙. พลเอก สสิน ทองภกั ดี กรรมาธิการ ๓๐. พลเอก สรุ พงษ สุวรรณอัตถ กรรมาธกิ าร ๓๑. พลอากาศเอก อดิศักด์ิ กลน่ั เสนาะ กรรมาธกิ าร ๓๒. นายอนุศกั ด์ิ คงมาลัย กรรมาธิการ ในการน้ี ...

-๓- ในการนี้ คณะกรรมาธิการไดจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาวิเคราะหรายงานสรุปผลการ ดำเนินการตามยุทธศาสตรช าติ ประจำป ๒๕๖๔ เสรจ็ แลว คณะกรรมาธิการจึงขอเสนอรายงานดังกลาว ตอที่ประชุมวุฒิสภาพิจารณา เพื่อใหเปนไปตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๑๗๘ ประกอบขอ ๑๗๕ วรรคสอง (๒) (๓) และ (๔) ตอ ไป จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาบรรจรุ ะเบียบวาระการประชุมวฒุ ิสภาตอไป (ลงช่ือ) พลเอก สงิ หศ กึ สิงหไ พร (สงิ หศ ึก สิงหไพร) รองประธานวุฒิสภา คนทหี่ น่งึ ในฐานะประธานคณะกรรมาธกิ ารตดิ ตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรปู ประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยทุ ธศาสตรช าติ วฒุ สิ ภา สำเนาถกู ตอ ง สำเนาถกู ตอง (นายตนพงศ ตั้งเติมทอง) (นางสาวจริ วนิ คะประสิทธ)ิ์ ผูช วยเลขานุการคณะกรรมาธิการติดตาม ผชู ว ยเลขานุการคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรปู ประเทศ เสนอแนะ และเรง รัดการปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ และการจดั ทำและดำเนินการตามยทุ ธศาสตรช าติ คนท่หี นึ่ง คนท่สี อง ฝา ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ ประธาน/อลนกรณ/ ณัฏฐกิตติ/์ สาคร/แสงจนั ทร/ รนิ รดา พมิ พ โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๒๓๗ – ๘ ตนพงศ/ จริ วิน ทาน



~ก~ บทสรปุ ผบู ริหาร วุฒิสภา โดยคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ และการจัดทำ และดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ” (คณะกรรมาธิการ ตสร.) และคณะกรรมาธิการสามัญประจำ วุฒิสภาไดรวมกันบูรณาการในการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินการ และจัดทำยุทธศาสตรชาติ การติดตามผลการดำเนินงานโครงการของหนวยงานภาครัฐ เพื่อนำผลการวิเคราะหไปสูการเสนอแนะ เรงรัด และการดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนด เพื่อใหเกิดเปนแรงผลักดันและขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศไปสูเปาหมาย โดยใชเครื่องมอื สำคัญ ประกอบดวย (๑) การตดิ ตามผลการดำเนินโครงการสำคัญ ใน ๖ มิติ (๒) การวิเคราะหเชิงการตัดสินใจการประมวลผลการติดตาม และ (๓) การวิเคราะหโอกาส การบรรลุเปาหมาย พรอมทั้งปรับปรุงพัฒนาระบบเทคโนโลยี รูปแบบ และวิธีการในการติดตาม ใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน เพื่อนำไปสูการวิเคราะหขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวนและ มีความนาเชื่อถือ สามารถนำผลไปใชในการดำเนินการใหบรรลุเปาหมาย ตัวชี้วัด และผลสัมฤทธ์ิ ที่กำหนดไวไดอยางแทจริง รวมทั้งสะทอนความเปนไปไดในการบรรลุเปาหมายหวง ๕ ปของการพัฒนา และนำไปสูการพิจารณาปรับปรุงการดำเนินตามแผนงาน/โครงการใหมีความเหมาะสมอยางเปนรูปธรรม ตามเปาหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” และบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศท่ีพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ ประกอบดวย ๗ สวนสำคัญ ไดแก (๑) ผลการติดตามและวิเคราะหผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ในภาพรวม (๒) สรุปผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดตอการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ (๓) สรุปภาพรวมการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ (๔) ขอเสนอแนะ เรงรัด ในวงรอบ ๕ ปถัดไป (๕) ขอเสนอแนะกระบวนการขับเคลื่อนใหบรรลุ เปา หมาย (๖) การตดิ ตามดา นงบประมาณเพอื่ สนบั สนนุ ดำเนินการตามยุทธศาสตรช าติ และ (๗) กลไก ขับเคลื่อนการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และแผนการปฏริ ปู ประเทศใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ สรุปไดด งั นี้ ๑. ผลการติดตามและวเิ คราะหผ ลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรช าติในภาพรวม แนวโนมสถานการณที่สงผลตอการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ และองคประกอบสำคัญตอ การบรรลุเปาหมาย ผลการดำเนินการในภาพรวม พบวา สถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตั้งแตปลายป ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบัน ทำใหเกิดผลกระทบทั่วโลกทั้งในดานเศรษฐกิจ สาธารณสุข แรงงาน การศึกษา การเกษตร การทองเที่ยว สภาพแวดลอม และสังคม ทำใหเกิดการปรับเปลี่ยนไปสูการดำเนิน ชีวิตแบบปกติใหม แมสถานการณจะดีขึ้นตามลำดับ แตภาครัฐและภาคธุรกิจยังคงมีการใชเทคโนโลยี ดิจิทัล เพอ่ื ใหเ กดิ ความตอเน่ืองในการดำเนนิ การและความย่ังยืน รวมท้งั เพอ่ื รับมอื กบั ภยั คุกคามในรปู แบบ ผสมผสานระหวางภัยคุกคามเดิมกับภัยคุกคามใหม แมวาทุกประเทศจะมีความเชื่อมโยงกันแตไดรับ ความเสียหายแตกตางกันตามศักยภาพ และความพรอมในการรับมือกับวิกฤตของแตละประเทศ ขณะท่ีความขัดแยงและการแขงขันอิทธิพลระหวางประเทศมหาอำนาจ และสงครามความขัดแยงระหวาง รัสเซียกับยูเครน สงผลกระทบตอวิกฤตในหลายดาน เชน ดานพลังงาน เศรษฐกิจ ความสัมพันธระหวาง

~ข~ ประเทศ เปน ตน มคี วามเขม ขน มากขนึ้ ในทุกมติ ิ และมีสว นทำใหเ กิดการขดั แยงในพ้ืนทตี่ าง ๆ สงผลกระทบ ตอเสถียรภาพและความมั่นคงของโลกและภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศมหาอำนาจยังคงใช ประเด็นสิ่งแวดลอมและสิทธิมนุษยชนเปนเครื่องมือสรางแรงกดดันและตอรองในเวทีระหวางประเทศ องคการระหวางประเทศ และองคกรดานสิทธิมนุษยชน เพื่อยกระดับใหทั่วโลกหันมาสนใจตอประเทศไทย มากขึ้น ขณะเดียวกันการพัฒนาความสามารถของประเทศในดานการแขงขันจึงไดกลายเปนประเด็น สำคัญภายใตสถานการณโลกที่ไดปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็วในชวงหลังการฟนตัวจากสถานการณ โรคโควิด ๑๙ เปนอยางยิง่ การดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติที่สำคัญของป ๒๕๖๔ แผนงาน/โครงการสำคัญสวนใหญ พบวา โครงการจำนวนมากยังไมตอบสนองตอการบรรลุเปาหมายและมีลักษณะเปนงานประจำ ประกอบกับในป ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบัน ประเทศไทยตองเผชิญกับสถานการณทั้งภายในและภายนอก ที่สงผลกระทบตอการบรรลุเปาหมายและการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตรชาติ ภารกิจของหนวยงานประสบปญหาในการจัดสรรงบประมาณที่ไมเปนไปตามแผนงาน/โครงการสำคัญ และการดำเนินการไมเปนไปตามแผนที่กำหนด จึงเปนประเด็นทาทายและปจจัยสำคัญที่ตองบูรณาการ และปรับปรุงการขบั เคล่ือนใหส อดคลอ งกบั สถานการณอ ยางเหมาะสม ภายใตข อ จำกดั ของงบประมาณ การวิเคราะหผลการดำเนินงานตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ จำนวน ๒๓ ประเด็น มีการดำเนินโครงการสำคัญที่เปนองคประกอบการบรรลุเปาหมาย จำนวน ๑,๙๐๕ โครงการ สามารถ ดำเนินการแลวเสร็จ จำนวน ๑,๕๔๖ โครงการ คิดเปนรอยละ ๘๑.๑ และอยูระหวางการดำเนินการ จำนวน ๓๕๙ โครงการ (ในจำนวนนี้ ดำเนินการลาชาจากแผนงาน จำนวน ๔๘ โครงการ และดำเนินการ ลาชาจากการเบิกจายงบประมาณ จำนวน ๕ โครงการ) คิดเปนรอยละ ๑๘.๙ กลาวโดยสรุป ผลการประเมิน โอกาสประสบความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติทั้ง ๖ ดาน ใน ๖ มิติ พบวา อยใู นระดับมาก ๒. ผลการตดิ ตามและวเิ คราะหผ ลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรชาติ ๒.๑ ยุทธศาสตรชาติดานความมน่ั คง ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติ ดานความมั่นคง ประจำป พ.ศ. ๒๕๖๔ คาดวา แนวโนมการบรรลุเปาหมายในภาพรวมอยูในระดับมาก เนื่องจากการประเมินผลความสำเร็จมีองคประกอบความสำเร็จจากแผนแมบทฯ ที่สนับสนุน จำนวน ๑๒ ประเด็น มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๘๐.๙๓ มีองคประกอบหลักที่เกี่ยวของโดยตรง จำนวน ๒ ประเด็น ซึ่งใหคาน้ำหนักเทากัน รอยละ ๔๐ และองคประกอบที่มีสวนสนับสนุน จำนวน ๑๐ ประเด็น ใหคาน้ำหนักเทากันในแตละประเด็นท่ีรอยละ ๒ โดยใหคาน้ำหนักของแผนแมบทฯ จำนวน ๒ ประเด็นหลกั ทม่ี ีคา นำ้ หนักมากท่ีสดุ สรุปในแตล ะประเด็นได ดังนี้ ๑) ประเดน็ ที่ ๑ ความม่นั คง คา นำ้ หนักรอ ยละ ๔๐ มีคาประเมนิ ความสำเร็จ รอยละ ๓๑.๑๘ ดังนั้น ควรใหความสำคัญและเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ การเสริมสราง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและความมั่นคงของมนุษย และแกไขปญหาความสามัคคีปรองดอง ของคนในชาติ ปญหาความไมสงบใน จชต. รวมทั้งการรักษาผลประโยชนของชาติทั้งทางบกและ ทางทะเล อยางเปน รูปธรรมและตอ เนือ่ ง

~ค~ ๒) ประเด็นที่ ๒ การตางประเทศ คาน้ำหนักรอยละ ๔๐ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๓๔.๔๗ ดังนั้น ควรบูรณาการการทำงานรว มกับสวนราชการที่เกี่ยวของในการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรม ตาง ๆ ตามแผนแมบทฯ และควรมีแผนระดับรองเปนกรอบใหญในการดำเนินงานของกระทรวงฯ และ หนวยงานที่เกี่ยวของ รวมถึงการใหความสำคัญและประเด็นเรงดวนใหสามารถตอบสนองตอบริบท ปจจบุ ันและงบประมาณทไ่ี ดร ับจรงิ สวนแผนแมบทฯ ซ่ึงมีระดับการบรรลุเปาหมายคอนขางนอย (รอยละ ๐.๖๗ – ๑.๙๑) ดังน้ัน ในการจัดทำโครงการสำคัญของหนวยงาน ควรใหความสำคัญกับโครงการที่มีผลตอการบรรลุ เปาหมายของแผนแมบทฯ ประเด็นความมั่นคง และแผนแมบทฯ ประเด็น การตางประเทศ เปนสำคัญ ทั้งนี้ เพื่อใหสงผลตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงในภาพรวม ดังแสดงตามภาพท่ี ๑ ภาพที่ ๑ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปา หมายของยุทธศาสตรชาติ ดา นความม่ันคง ประจำป ๒๕๖๔ ๒.๒ ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการสรางความสามารถในการแขงขัน ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ประจำป พ.ศ. ๒๕๖๔ คาดวา แนวโนมการบรรลุเปาหมาย ในภาพรวมอยูในระดับมาก เนื่องจากการประเมินผลความสำเร็จโดยมีองคประกอบความสำเร็จจาก แผนแมบทฯ ที่สนับสนุน จำนวน ๗ ประเด็น มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๘๔.๔๓ สรุปในแตละ ประเดน็ ได ดังน้ี ๑) ประเด็นที่ ๓ การเกษตร คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๒.๕๒ ดังนั้น ควรพิจารณาแนวทางการดำเนินงานของหนวยงานในการผลักดันการขับเคลื่อน แผนแมบทฯ การกำหนดตัวชี้วัดตองสามารถตอบโจทยอยางชัดเจน กำหนดแนวทางการบริหารจัดการ งบประมาณท่ีชัดเจน มีประสิทธิภาพ และมีความเปนเอกภาพ โดยการแบงมอบภารกิจและ การประสานงานระหวางหนว ยงานท่เี ก่ยี วขอ งไมใหซ ้ำซอ น

~ง~ ๒) ประเด็นที่ ๔ อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมิน ความสำเร็จ รอยละ ๑๐.๗๓ การดำเนินโครงการแลวเสร็จในภาพรวม ป ๒๕๖๔ ของยุทธศาสตรชาติ ดานนี้คอนขางมาก (รอยละ ๘๔.๓๓) แตผลสัมฤทธิ์ของโครงการยังไมสะทอนความสำเร็จของ คาเปาหมายตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว ซึ่ง สศช. ประเมินวา ผลสัมฤทธิ์ต่ำกวาตัวชี้วัดตามเปาหมาย ที่กำหนดคอนขางมาก เนื่องจากผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด ๑๙ อยางรุนแรง และโครงการ ของหนวยงานสวนมากเปนโครงการยอยที่มีความซ้ำซอนและเปนงานประจำ ไมมีน้ำหนักเพียงพอ ในการขับเคลื่อนผลักดันใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม และไมเปนตัวแทนของโครงการทั้งหมด ภายใตแผนแมบทฯ ประเด็นนี้ ดังนั้น ควรขับเคลือ่ นและสานตอการยกระดับอุตสาหกรรมเปาหมายเดิม อยา งตอ เนื่อง ควบคไู ปกบั การเรงรดั ผลักดนั นโยบาย BCG Model และพัฒนาตอยอดชองทางการตลาด ดจิ ทิ ลั /สรางมลู คา เพม่ิ ใหแกสนิ คา ชุมชน ๓) ประเด็นที่ ๕ การทองเที่ยว คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๑.๙๐ ดังนั้น มาตรการระยะส้ัน ควรเรง ฟน ฟูเพอ่ื กระตนุ การทองเท่ยี ว ปรบั ปรุงกฎ ระเบียบตามกฎหมาย ที่มีผลตอการบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวของชุมชน และสงเสริมใหสถาบันการเงินจัดการสงเสริม การทอ งเทีย่ วรวมกับบรษิ ทั นำเที่ยว ๔) ประเด็นที่ ๖ พื้นที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมิน ความสำเร็จ รอยละ ๑๐.๐๓ ดังนั้น ควรผลักดันและขับเคลื่อนโครงการสำคัญในทุกมิติ อาทิ ดานสาธารณสุข การศึกษา การจัดการภาครัฐดิจิทัล และเรงยกระดับความสามารถในการใชเทคโนโลยี และขอมูลตัวช้ีวัด ๕) ประเด็นที่ ๗ โครงสรางพื้นฐาน ระบบโลจิสตติกและดิจิทัล คาน้ำหนักรอยละ ๑๖ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๓.๖๙ ดังนั้น ควรเรงรัดการเบิกจายงบประมาณในการดำเนินการ ใหเกิดการบรูณาการโครงการตาง ๆ ที่อยูภายใตโครงสรางพื้นฐาน กำหนดตัวชี้วัดใหเหมาะสม และ ตอบโจทยที่ชัดเจน เนนและเพิ่มโครงการในการผลักดันเศรษฐกิจทั้งดานพลังงาน และดานคมนาคม โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานดานระบบโลจิสติกส อยางไรก็ตาม ในการประเมินความสำเร็จโครงสราง พื้นฐานในรายดาน ไดแก ดานพลังงาน มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๗๔.๑๗ ดานระบบโลจิสตติก มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๖๙.๕๙ และดานดิจิทัล มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๗๙.๐๒ แสดงใหเห็นวา ดานระบบโลจสิ ตต ิกยงั คงมีความจำเปนทต่ี อ งใหความสำคัญและเรงรดั ใหเกิดการพัฒนา อยางตอเนื่องเพื่อเปนพื้นฐานผลักดันการบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถ ในการแขงขนั ๖) ประเด็นที่ ๘ ผูประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๓.๔๒ การดำเนินโครงการแลวเสร็จ ในภาพรวม ป ๒๕๖๔ ของยุทธศาสตรชาติดานนี้คอนขางมาก (รอยละ ๘๔.๓๓) แตผลสัมฤทธ์ิ ของโครงการยังไมสะทอนความสำเร็จของคาเปาหมายตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว ซึ่ง สศช. ประเมินวา ผลสัมฤทธิ์ต่ำกวาตัวชี้วัดตามเปาหมายที่กำหนดคอนขางมาก เนื่องจากผลกระทบจากการระบาดของ โรคโควิด ๑๙ อยางรุนแรง และโครงการของหนวยงานสวนมากเปนโครงการยอยที่มีความซ้ำซอน และเปนงานประจำ ไมมีน้ำหนักเพียงพอในการขับเคลื่อนผลักดันใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม และไมเปนตัวแทนของโครงการทั้งหมดภายใตแผนแมบทฯ ประเด็นนี้ ดังนั้น รัฐบาลตองชวยเหลือและ

~จ~ สนับสนุนมาตรการทางการเงินใหแกภาคธุรกิจและผูประกอบการ SMEs อยางตอเนื่อง พัฒนา ผูประกอบการมุงเนนพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันของ SMEs และ Start up ใหสอดคลอ งและตอบสนองความตองการของภาคอุตสาหกรรมและแรงงาน และปรบั ปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ระเบยี บทเ่ี ปน อปุ สรรคตอ การดำเนนิ ธุรกิจ ๗) ประเด็นที่ ๙ เขตเศรษฐกิจพิเศษ คาน้ำหนักรอยละ ๑๔ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๒.๑๓ ดังนั้น ควรใหหนวยงานที่เกี่ยวของรายงานขอมูลการลงทุนจริงในพื้นท่ีการดำเนินการ อยางเปนเอกภาพและมีการบูรณาการขอมูลรวมกัน ผูประกอบการควรเรงปรับตัวเพื่อใหเขากับบริบทใหม ทง้ั ในดานการตลาดและการเพ่ิมชอ งทางซ้ือขายสินคา โดยเฉพาะการปรับตัวสูตลาดออนไลน หนวยงาน ที่รับผิดชอบควรปรับเปลี่ยนแนวทางการเพิ่มรายได เพื่อใหการเพิ่มขึ้นของรายไดในอนาคตมากกวา คาเปาหมายที่ตั้งไว นอกจากนั้นควรหาแนวทางการลดหนี้สินในชวงการแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ดวย ดังแสดงตามภาพที่ ๒ ภาพท่ี ๒ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ ดานการสรางความสามารถในการแขงขนั ประจำป ๒๕๖๔ ๒.๓ ยุทธศาสตรช าติดานการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ประจำป ๒๕๖๔ คาดวา แนวโนมการบรรลุ เปาหมายในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีองคประกอบความสำเร็จจากแผนแมบทฯ ที่สนับสนุน จำนวน ๖ ประเด็น ซึ่งกำหนดใหมีคาน้ำหนักเทากัน โดยมีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๘๕.๙๘ สรุปในแตล ะประเด็นได ดงั น้ี ๑) ประเด็น การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๓.๙๖ ดังนั้น ควรจัดทำแผนบูรณาการหรือแผนปฏิบัติการดานการเสริมสรางความเขมแข็งในสถาบัน ทางศาสนาในรูปแบบที่สรางสรรค สงเสริมการใชกลไก “บวร” ในการสรางความเขมแข็งของชุมชน

~ฉ~ และคานิยมเรื่องการมีจิตสาธารณะและความพอเพียงในสถานศึกษาทุกชวงชั้น และการใชสื่อออนไลน ในการสง เสรมิ การทอ งเท่ยี วเชงิ วฒั นธรรมของชมุ ชนใหแ พรห ลายยงิ่ ข้นึ ๒) ประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๔.๑๔ ดังนั้น ควรจัดทำฐานขอมูลและการกระจายตัวของกลุมแรงงานนอกระบบ การสรางความรวมมือ ระหวางหนวยงาน/องคกร/เครือขายตาง ๆ ในระดับพื้นที่ใหมากขึ้น เชน สถาบันการเงินชุมชน และสามารถนำโครงการดังกลาวไปผนวกกับการทำงานประจำของทองถิ่น เพื่อตอยอดงาน ดา นสวัสดกิ ารสังคมได และเพมิ่ ตัวชี้วัดจำนวนแรงงานในระบบและนอกระบบใหเขาสูระบบหลักประกัน รายได ๓) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู มีคาประเมินความสำเร็จรอยละ ๑๓.๐๘ ดังน้ัน ในระยะเรงดวน ควรดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินการตามกฎหมายดานการศึกษาที่ใชบังคับอยูแลว ในปจจุบันใหเกิดผลสัมฤทธิ์โดยเร็ว เชน พระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ และเรงรัดผลักดัน รางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. .... ใหมีผลใชบังคับ เปนตน ควรมีระบบการติดตาม และประเมินโครงการอยางตอเนื่อง รวมทั้งควรเพิ่มหลักสูตรการพัฒนาการเรียนรูที่เกี่ยวของกับ การประยุกตใ ชชีวติ ใหร ูเทา ทนั สิง่ ตา ง ๆ ของโลก และหลักสูตรการเสรมิ สรางทศั นคติทด่ี ี ๔) ประเด็น การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๕.๓๓ ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรบูรณาการเพื่อใหเกิดความรวมมือ เพื่อนำไปสูการพัฒนาและจัดทำระบบการรับมือปรับตัวตอโรคติดตออุบัติใหม/อุบัติซ้ำที่มีประสิทธิภาพ การใหความสำคัญและดำเนินการใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การพิจารณากำหนดใหมีกลไกระดับจังหวัดเปนกลไกหลักในการดำเนินงานในระดับพื้นที่ที่ชัดเจน เพ่ือใหส ามารถขับเคลอื่ น และบรู ณาการแผนงานไปสูก ารปฏิบัติไดอ ยางเปน รูปธรรม ๕) ประเด็น ศักยภาพการกีฬา มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๔.๖๐ ดังนั้น ควรปรับเปลี่ยนหนวยงานรับผิดชอบจากกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาเปนกระทรวงมหาดไทย รับผิดชอบภาพรวมทั้งหมด ควรปรับเปน “อปท.” เปนหนวยผูรับผิดชอบหลักแทน ควรกำหนดแนวทาง การสรางเครือขายจากทุกภาคสวน โดยการจัดกิจกรรมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน/เวทีประชาคม ตง้ั แตก ระบวนการ และกำหนดนโยบาย ตลอดจนการวางแผนการจดั กิจกรรม/โครงการตา ง ๆ ๖) ประเด็น การวิจัย และพัฒนานวัตกรรม มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๔.๘๗ ดังนั้น ควรกำหนดการวิจัยใหครบถวนใน ๓ มิติ ไดแก การวิจัยและพัฒนา การสรางนวัตกรรม และ การถายทอดเทคโนโลยี และควรคำนึงถึงความสมดุลระหวางการวิจัยพื้นฐานกับการวิจัยประยุกตดวย การวิจัยและพัฒนาควรมีความสอดคลองกับคุณภาพชีวิต วิถีชีวิต และศักยภาพทรัพยากรมนุษย ของบุคคลในแตละพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาระบบฐานขอมูลทางสังคมที่เชื่อมโยงในทุกระดับพื้นที่ ดังแสดง ตามภาพที่ ๓

~ช~ ภาพท่ี ๓ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปา หมายของยทุ ธศาสตรชาติ ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ประจำป ๒๕๖๔ ๒.๔ ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประจำป ๒๕๖๔ โดยมีองคประกอบความสำเร็จจาก แผนแมบทฯ ที่สนับสนุน จำนวน ๕ ประเด็น ไดแก (๑) ประเด็นที่ ๖ พื้นที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ (๒) ประเด็นที่ ๑๕ พลังทางสังคม (๓) ประเด็นที่ ๑๖ เศรษฐกิจฐานราก (๔) ประเด็นที่ ๑๗ ความเสมอภาคและ หลักประกันทางสังคม และ (๕) ประเด็นที่ ๒๓ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม อยางไรก็ตาม ในการดำเนินการ ไดนำแผนแมบทฯ จำนวน ๓ ประเด็นหลัก ไดแก ประเด็นที่ ๑๕ พลังทางสังคม ประเด็นที่ ๑๖ เศรษฐกิจ ฐานราก และประเด็นที่ ๑๗ ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม เปนหลักในการพิจารณาดำเนินการ เนื่องจากมีความเกี่ยวของโดยตรงและเปนองคประกอบสำคัญตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติดานน้ี มคี า ประเมนิ ความสำเร็จ รอยละ ๗๘.๘๘ สรุปในแตล ะประเด็นได ดังนี้ ๑) ประเด็นที่ ๑๕ พลังทางสังคม คาน้ำหนักรอยละ ๓๔ มีคาประเมินความสำเร็จ รอ ยละ ๒๖.๖๓ ดังนนั้ ควรจัดทำระบบฐานขอ มลู ของประเทศเปน ระบบฐานขอ มลู กลางทีม่ กี ารเชอื่ มโยง ระหวางหนวยงานตาง ๆ และใหความสำคัญตอการเสริมสรางชุมชน/ตำบลเขมแข็งใหครอบคลุม ในทุกพื้นที่ โดยการขับเคลื่อนตำบลเขมแข็งดวยจตุพลัง หนวยงานรัฐและทุกภาคสวน ควรใหความสำคัญ กบั เร่อื งสงั คมสูงวยั อยางจริงจัง ๒) ประเด็นที่ ๑๖ เศรษฐกิจฐานราก คาน้ำหนักรอยละ ๓๓ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๒๘.๐๕ ดังนั้น ควรจัดทำแผนงานบูรณาการงบประมาณในระดับจังหวัดกลุมจังหวัด และ หนวยงานที่มีแผนงาน/โครงการสำคัญในระดับจังหวัดและกลุมจังหวัด โดยพิจารณาขอกฎหมาย กฎ และระเบียบใหเกิดความรอบคอบและมีประสิทธิภาพ หนวยงานเจาภาพหลักและหนวยงาน ที่เกี่ยวของจะตองรวมกันวางแผน กำหนดเปาหมาย และตัวชี้วัดรวมกัน เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อน การดำเนินการไดอ ยางเปนรูปธรรม

~ซ~ ๓) ประเด็นที่ ๑๗ ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม คาน้ำหนักรอยละ ๓๓ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๒๔.๒๐ ดังนั้น หนวยงานที่จัดเก็บขอมูลควรมีการกำหนดความเปนขอมูล สวนบุคคลที่เปดเผยไมไดเปนลำดบั ชั้น และกำหนดความรับผิดชอบขอมูลสว นบุคคลที่อยูในความครอบครอง ของตนเอง การพัฒนาและสงเสริมการจัดทำฐานขอมูลชุมชน/ตำบล เพื่อใชประโยชนจากฐานขอมูล ดังกลาว ในดานการคุมครองและจัดสวัสดิการสังคมใหกับประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งบูรณาการระบบ บรหิ ารจัดการขอ มูลการพัฒนาคนแบบชีเ้ ปา ดังแสดงตามภาพที่ ๔ ภาพท่ี ๔ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ประจำป ๒๕๖๔ ๒.๕ ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เปนมติ รตอสิ่งแวดลอ ม ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ประจำป ๒๕๖๔ คาดวา แนวโนม การบรรลุเปาหมายในภาพรวมอยูในระดับมาก เนื่องจากการประเมินผลความสำเร็จโดยมีองคประกอบ ความสำเร็จจากแผนแมบทฯ ท่ีสนับสนุน จำนวน ๒ ประเด็น มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๘๙.๓๓ สรุปในแตละประเดน็ ได ดังนี้ ๑) ประเด็นท่ี ๑๘ การเติบโตอยางยงั่ ยืน คานำ้ หนกั รอยละ ๕๐ มคี า ประเมินความสำเร็จ รอยละ ๔๔.๓๓ ดังนั้น ควรเรงรัดผลักดันกฎหมายที่เอื้อตอการพัฒนาประเทศ และปรับปรุงแกไข กฎหมายและกระบวนงานที่มีความลาสมัยทำใหเกิดปญหาอุปสรรคในการพัฒนาประเทศ และ ขับเคล่ือนการประชาสัมพันธการดำเนินการติดตาม เสนอแนะ และเรงรดั การดำเนินการตามแผนแมบท ภายใตยทุ ธศาสตรช าติเชิงรุก ๒) ประเด็นที่ ๑๙ การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ คาน้ำหนักรอยละ ๕๐ มีคาประเมิน ความสำเร็จ รอยละ ๔๕.๐๐ ดังนั้น ควรรวบรวมและจัดการขอมูลที่จำเปนตอการพัฒนาระบบบริหาร จัดการน้ำทั้งระบบ และการบูรณาการขอมูลระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรสงเสริมบทบาทของ หนวยงานทองถิ่นในการมีสวนรวมตอการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และความรวมมือระหวาง หนว ยงานท่เี กีย่ วขอ ง เปนตน ดังแสดงตามภาพที่ ๕

~ฌ~ ภาพที่ ๕ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ ดา นการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน มิตรตอสิ่งแวดลอ ม ประจำป ๒๕๖๔ ๒.๖ ยุทธศาสตรชาตดิ า นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจดั การภาครฐั ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติในภาพรวม ประจำป ๒๕๖๔ คาดวา แนวโนมการบรรลุเปาหมายในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ซึ่งใกลเคียง กับความสำเร็จของเปาหมายในยุทธศาสตรชาติดานน้ี เนื่องจากภาพรวมการประเมินผลความสำเร็จ โดยมีองคประกอบความสำเร็จจากแผนแมบทฯ ที่สนับสนุน จำนวน ๓ ประเด็น มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๗๕.๐๑ สรุปในแตละประเด็นได ดงั น้ี ๑) ประเดน็ ที่ ๒๐ การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ คานำ้ หนักรอยละ ๔๐ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๓๘.๑๓ ซึ่งมีความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายอยูในระดับมาก ดังน้ัน ควรมีการบูรณาการเช่ือมโยงระบบตาง ๆ ระหวางหนว ยงานของรัฐ เรงรดั การใหบรกิ ารระบบเทคโนโลยี ดิจิทัลแกประชาชนอยางสะดวก รวดเร็ว ประหยัดฯ สามารถตอบโจทยความตองการของประชาชน ใหมากยิ่งขึ้นแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ณ จุดเดียว และเรงรัดกฎหมายและโครงการที่เกี่ยวของ รวมท้ัง กระจายหนาที่และอำนาจในการจัดบรกิ ารสาธารณะใหแก อปท. อยา งจรงิ จงั ๒) ประเด็นที่ ๒๑ การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ คาน้ำหนักรอยละ ๓๐ มีคาประเมินความสำเร็จ รอยละ ๑๖.๓๘ ซึ่งมีความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายอยูในระดับนอย ดังนั้น ควรยกระดับคะแนนดัชนีการรับรูการทุจริตในทุกภาคสวน และเรงพัฒนาระบบการปองกันการทุจริต เชงิ รกุ และขยายกลุม เปา หมายในการปองกนั การทจุ รติ สูเ จาหนา ที่ในหนวยงานภาครัฐ ๓) ประเด็นที่ ๒๒ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม คาน้ำหนักรอยละ ๓๐ มีคาประเมินความสำเรจ็ รอยละ ๒๐.๕๐ ซึ่งมีความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายอยูในระดับนอย ดังน้ัน ควรเรงรัดใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอรางพระราชบัญญัติการจัดทำประมวลกฎหมาย และกฎหมายเพื่อใหประชาชนเขาถึงไดโดยสะดวก พ.ศ. .... เรงรัดการเตรียมเสนอแผนงาน/โครงการ เกี่ยวกับการรวบรวมและจัดทำประมวลกฎหมายและกฎตอคณะรัฐมนตรีใหเร็วที่สุด และจัดใหมีกลไก

~ญ~ ชวยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอรางกฎหมาย รวมทั้งเรงรัดการพัฒนาระบบการเขาชื่อเสนอ กฎหมายทางอิเล็กทรอนิกส ดงั แสดงตามภาพท่ี ๖ ภาพที่ ๖ แสดงการประเมินผลความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ประจำป ๒๕๖๔ ๓. สรุปภาพรวมการติดตาม เสนอแนะ และเรง รดั การดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช าติ ผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ทั้ง ๖ ดาน พบวา ยุทธศาสตรชาติที่ ๕ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีผล ความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมาย มากที่สุด รอยละ ๘๙.๓๓ รองลงมา ไดแก ยุทธศาสตรชาติที่ ๓ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย รอยละ ๘๕.๙๘ ยุทธศาสตรชาติที่ ๒ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน รอ ยละ ๘๔.๔๓ ยทุ ธศาสตรชาติท่ี ๑ ดา นความม่ันคง รอยละ ๘๐.๙๓ ยุทธศาสตรชาติที่ ๔ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม รอยละ ๗๘.๘๘ และยุทธศาสตรชาติที่ ๖ ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ รอยละ ๗๕.๐๑ ตามลำดับ ดงั แสดงตามภาพท่ี ๗ เปรยี บเทียบผลความสําเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ 95 84.43 85.98 89.33 90 78.88 75.01 85 80.93 80 75 70 65 ภาพท่ี ๗ เปรียบเทียบผลความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของยทุ ธศาสตรช าติ

~ฎ~ ผลการติดตามและวิเคราะหขอมูลในภาพรวม พบวา แนวโนมสถานการณที่สงผลตอ การดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ และองคประกอบสำคัญตอการบรรลุเปาหมาย คือ สถานการณ การแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ ตั้งแตปลายป ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบัน ทำใหเกิดผลกระทบทั่วโลก ในทุก ๆ ดาน เกิดการปรับเปลี่ยนไปสูการดำเนินชีวิตแบบปกติใหม แมสถานการณจะดีขึ้นตามลำดับ ก็ตาม แตภายใตบริบทของสังคมโลก ผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงกอความเสียหายไปทั่ว แตกตางกันตาม ศักยภาพและความพรอมในการรับมือกับวิกฤต ขณะท่ีความขัดแยงและการแขงขันอิทธิพลระหวาง ประเทศมหาอำนาจ และสงครามระหวางรัสเซียกับยูเครน สงผลกระทบตอวิกฤตในหลายดานและ มีความเขมขนมากขึ้นในทุกมิติ และมีสวนทำใหเกิดการขัดแยงในพื้นที่ตาง ๆ สงผลกระทบตอเสถียรภาพ และความมั่นคงของโลกและภูมิภาคตาง ๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศมหาอำนาจยังคงใชประเด็นสิ่งแวดลอม และสิทธิมนุษยชน เปนเครื่องมือสรางแรงกดดันและตอรองในเวทีระหวางประเทศ และกลุมความเห็นตาง ในประเทศที่พยายามดึงองคการระหวางประเทศและองคสิทธิมนุษยชนเขาสนับสนุนความเคลื่อนไหว เพื่อยกระดับใหเกิดกระแสความสนใจจากทั่วโลกที่มีตอไทยมากขึ้น ประกอบกับการดำเนินการตาม ยุทธศาสตรชาติที่สำคัญป ๒๕๖๔ แผนงาน/โครงการสำคัญสวนใหญ พบวา โครงการจำนวนมาก ยังไมตอบสนองตอการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติและมีลักษณะเปนงานประจำ รวมถึง ในป ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบัน ประเทศไทยตองเผชิญกับสถานการณและความเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน และภายนอกที่สงผลกระทบตอการบรรลุเปาหมายและการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตาม ยุทธศาสตรชาติ ภารกิจของหนวยงานประสบปญหาในการจัดสรรงบประมาณที่ไมเปนไปตามแผนงาน/ โครงการสำคัญ และการดำเนินการไมเปนไปตามแผนที่กำหนด จึงเปนประเด็นทาทายและปจจัย สำคัญที่ตองทบทวนเปาหมาย/ตัวชี้วัดในการดำเนินการพรอมกับบูรณาการและปรับปรุง การขับเคลื่อนใหสอดคลองกับสถานการณอยางเหมาะสม ภายใตขอจำกัดของงบประมาณ ความคุมคา ของการดำเนนิ โครงการและประโยชนท ่ปี ระชาชนจะไดรับ ดังนั้น เพื่อใหประเทศไทยสามารถฟนฟูประเทศจากสถานการณดังกลาวขางตนและกลับมา เขมแข็งเปนประเทศที่พัฒนาแลว เศรษฐกิจเติบโตอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน และมีขีดความสามารถ ในการแขงขันสูงขึ้น ภายใตสถานการณโลกที่ปรับเปลี่ยนอยางรวดเร็วในชวงหลังการฟนตัวจาก สถานการณโรคโควิด ๑๙ จึงควรใหความสำคัญกับยุทธศาสตรชาติที่ ๒ ดานการสรางความสามารถ ในการแขงขันเปนอยางยิ่ง ควบคูไปกับยุทธศาสตรชาติที่ ๔ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม โดยเฉพาะประเด็น เศรษฐกิจฐานรากที่มุงเนนใหความสำคัญกับภาคการเกษตร อันเปน รากฐานที่สำคัญของ “เศรษฐกิจฐานราก” เพื่อใหเกษตรกรไทยสามารถแสวงหาโอกาสและพรอมเผชิญ กับความทาทายที่จะเกิดขึ้นในโลกไดอยางเขมแข็ง และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม รวมถึง การเสริมสรางผูประกอบการเศรษฐกิจฐานราก ใหมีศักยภาพ มีขีดความสามารถ และมีรายได เพิ่มขึ้นอยางยั่งยืน ทั้งนี้ เพื่อเปนปจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนไปสูเปาหมาย “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” และบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ใหบรรลุผลสัมฤทธ์ิ เปาหมาย และตัวชี้วัดที่กำหนดไว ในเชิงประจักษ อนั จะทำใหประชาชนไดร บั ประโยชนและประเทศชาติมีความเจรญิ มั่นคงอยางแทจ ริง

~ฏ~ ๔. ขอ เสนอแนะ เรงรดั ในวงรอบ ๕ ปถ ดั ไป ๔.๑ ยุทธศาสตรชาตดิ านความมั่นคง ๑) เรงผลักดันแผนตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ใหเปนแผนบูรณาการ (ดานงบประมาณ) และดำเนนิ การขบั เคลอื่ นอยา งตอ เนือ่ งใหเ ปนรูปธรรม ๒) ขับเคลื่อนการดำเนินงานผานจุดเนนที่สอดคลองกับสถานการณตางประเทศ โดยกระทรวงการตางประเทศในฐานะเจาภาพหลกั ของแผนแมบทฯ และพิจารณาปรับคาเปาหมายและ ตัวชี้วัด เพื่อใหสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานดานการตางประเทศไดอยางเปนรูปธรรม และเกิดประสทิ ธผิ ลอยางแทจริง ๓) ผลักดันการขับเคลื่อนกรอบความรวมมือตาง ๆ ในเชิงรุก เพื่อเปนตนแบบการจัดทำ โครงการสำคัญเชิงบูรณาการ เชน กรอบความรว มมือ ACMECS เพือ่ เปนกลไกรักษาความเปน แกนกลาง ของประเทศในอนุภูมิภาค สรางดุลยภาพทางการเมืองกับประเทศมหาอำนาจ และรักษาผลประโยชน ทางเศรษฐกิจของประเทศ กรอบความรวมมือยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจาพระยา- แมโ ขง (ACMECS) เปน ตน ๔.๒ ยุทธศาสตรช าตดิ านการสรางความสามารถในการแขง ขนั ๑) ประเด็น การเกษตร กระทรวงเกษตรฯ ควรติดตามการดำเนินงานของหนวยงานในสังกัด ตามยุทธศาสตรกระทรวงเกษตรฯ ระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) สงเสริมการใชเทคโนโลยี เครื่องจักรกลเกษตรอัจฉริยะ/เทคโนโลยีเกษตรดิจิทัลรูปแบบตาง ๆ การวิจัยและพัฒนากระบวนการ เพิ่มประสิทธิภาพในฟารม การเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมอัจฉริยะ และ การขยายตลาดสนิ คาเกษตรอจั ฉริยะ รวมถงึ การพัฒนาเกษตรกรใหเ ปน เกษตรกรปราดเปร่ืองอยางจรงิ จัง ๒) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ภาคอุตสาหกรรม ควรขับเคลื่อนและ สานตอการยกระดับอุตสาหกรรมเปาหมายเดิม (S-curve) อยางตอเนื่อง ควบคูไปกับการเรงรัดผลักดัน นโยบาย BCG Model เชน เศรษฐกิจชีวภาพ เนนการพัฒนาเปนผลิตภัณฑมูลคาสูง ภายใตเศรษฐกิจ สีเขียว การพัฒนาตอยอดชองทางการตลาดดิจิทัล อาทิ การใช soft power ควบคูกับธุรกิจทองเที่ยว บันเทิง รานอาหารและบริการตาง ๆ ฯลฯ รวมทั้งการพัฒนาและสรางมูลคาเพิ่มใหแกสินคาชุมชน และขยายชอ งทางการตลาดไปสูการคา ออนไลน ๓) ประเด็น การทองเที่ยว ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) กรณีเสนอเปาหมายใหม ควรระบุ แนวทางการพัฒนาที่เปนองคประกอบการบรรลุเปาหมายและโครงการที่สงผลสัมฤทธิ์ ผลลัพธ ผลผลิต และเวลาที่ตองแลวเสร็จตามเปาหมาย (๒) มาตรการระยะสั้นเรงดวน ควรขยายระยะเวลาโครงการ สงเสริมการทองเที่ยวใหเหมาะสมกับสถานการณ (๓) ควรปรับปรุงกฎ ระเบียบที่มีผลตอการบริหาร จัดการแหลงทองเท่ียวของชุมชน ๔) ประเด็น พื้นที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) ภาครัฐควรสงเสริม ใหเกิดการลงทุนในหลายมิติยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการจัดทำฐานขอมูลของเมืองใหครอบคลุมทุกพื้นที่ (๒) อปท. ตองยกระดับความสามารถในการใชเทคโนโลยีและขอมูลเปาหมายและตัวชี้วัดใหชัดเจน เนน โครงการ/กิจกรรมการผลติ และบรโิ ภค และโครงการแกไขปรมิ าณขยะตดิ เช้ืออันตรายและพลาสตกิ

~ฐ~ ๕) ประเดน็ โครงสรางพ้นื ฐาน ระบบโลจสิ ตติกและดิจทิ ัล ๕.๑) โครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) แกไขกฎหมายที่ยัง ไมสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน และกำหนดระยะเวลาในแผนแมบทการใชระยะเวลาในการ ดำเนนิ การที่ยาวนานในการบรรลุผลสัมฤทธ์ิ (๒) ปรบั เปลี่ยนตัวชว้ี ัดยังไมเหมาะสม และไมตอบโจทยที่ชัดเจน ๓) แยกการดำเนนิ งานทม่ี ีเปน ลักษณะเปนการปฏิบตั ิราชการประจำ และไมม ุงสกู ารปฏริ ปู ประเทศ ๕.๒) โครงสรางพื้นฐานดานระบบโลจิสติกส ควรมีการดำเนินโครงการตามแนวทาง การพัฒนาท่ี ๑ – ๑๑ ที่สำคัญ จำนวน ๒๑ โครงการ เชน แนวทางที่ ๑ โครงการศนู ยเปล่ยี นถา ยสนิ คานาทา (Transshipment Yard) จังหวัดหนองคาย แนวทางที่ ๒ โครงการจัดระเบียบการขนถายสินคากลางทะเล บริเวณเกาะสีชังและเขตทาเรือศรีราชา (ควรสำเร็จในป ๒๕๖๖) แนวทางที่ ๓ โครงการสนับสนุน สายการบินของไทยภายใตนโยบายการเปดนานฟาเสรี (ควรสำเร็จในป ๒๕๗๐) รวมถึง ควรเรงรัดการ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางรางโครงการกอสรางรถไฟทางคูช วงขอนแกน - หนองคาย และชวงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ ที่ลาชา เพื่อใหสามารถขนสงสินคาเชื่อมโยงกับประเทศจีนและประเทศลาวไปทาเรือ แหลมฉบังได รวมทั้งเรงรัดผานรางพระราชบัญญัติสงเสริมพาณิชยนาวี พ.ศ. ........ เขาสูการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาใหประกาศใชโดยเร็ว และเรงรัดการพัฒนาศักยภาพกองเรือแหงชาติและทาเรือ เพื่อพฒั นาการขนสง ทางทะเลใหเ ปน ศูนยกลางผา นแดน-ถา ยลาในภูมิภาค เปนตน ๕.๓) โครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) การเบิกจายงบประมาณ ในการดำเนินการใหเกิดการบรูณาการโครงการที่อยูภายในโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล เชน โครงการเน็ตประชารัฐ โครงการเน็ตบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในพื้นที่หางไกล เปนตน (๒) ภาครัฐ ตองเรงรัดโครงการที่ลาชาที่ตองประเมินปญหาอุปสรรคเพื่อนำมาปรับปรุงการดำเนินการในหวงตอไป (๓) ประชาสมั พนั ธเพือ่ สรางการตระหนักรูและรับรูรวมกันของสงั คมเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสว นบุคคล ๖) ประเด็น ผูประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) ผลักดันมาตรการชวยเหลอื และสนบั สนุนมาตรการทางการเงินกับภาคธุรกิจ และผูประกอบการ SMEs อยางตอเนื่อง (๒) ควรติดตามผลสัมฤทธ์ิของการสนับสนุน Voucher การใช Sandbox และประเมินผลความคุมคาของการดำเนินการ และปรับปรุงการบริหารงบประมาณใหเหมาะสม (๓) เรงติดตามประเมินผลผลสัมฤทธิ์ของผูประกอบการที่ไดรับสินเชื่อ เพื่อใชประกอบการพิจารณา แนวทางการดำเนนิ การทเ่ี หมาะสมในระยะตอไป ๗) ประเด็น เขตเศรษฐกิจพิเศษ ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) ประเด็นตัวชี้วัดยังมีการวัดผล ลาชาอยางนอย ๑ - ๒ ป ไมเปนไปตามปปฏิทินและปงบประมาณที่ตองรายงาน จึงควรปรับปรุงแกไข การดำเนินการดังกลาว ใหเปนไปตามกรอบเวลาที่กำหนด (๒) ประเด็นการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษ ควรใหหนวยงานทเี่ กีย่ วของรายงานขอ มลู การลงทุนในพืน้ ท่ีอยา งจรงิ จัง เปนตน ๔.๓ ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ๑) การกำหนดโครงการสำคัญในการดำเนินการตามแผนการปฏิรูปประเทศและ ยุทธศาสตรชาติรวมกันทั้ง ๓ ฝาย ไดแก (๑) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศและคณะกรรมการจัดทำ ยทุ ธศาสตรช าติดา นตาง ๆ (๒) รฐั บาล ในฐานะฝา ยบริหาร ผกู ำหนดนโยบายในการบริหารประเทศและ เปนผูกำกับดูแลการดำเนินการของสวนราชการทั้งประเทศ และ (๓) วุฒิสภา ซึ่งมีหนาที่และอำนาจใน

~ฑ~ การติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ เพื่อใหบรรลุเปาหมายตามหมวด ๑๖ การปฏิรูป ประเทศ และการจัดทำและดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรชาติ ๒) กลไกการดำเนินงาน ควรปฏริ ูปการดำเนินงานของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ (สศช.) ควรมีการปฏิรูปกระบวนการจัดทำแผนงาน/โครงการสำคัญใหม และสำนัก งบประมาณ ควรปฏิรูปกระบวนการและวิธีการดานงบประมาณใหม ใหเปนไปอยางประสิทธิภาพ และบูรณาการฐานขอมูลรว มกันอยางเปนเอกภาพ ๓) กลไกระดับจังหวัด ควรกำหนดใหมีหนาที่รับผิดชอบและดำเนินการ ในสวนที่เกี่ยวของ กับ Flagship Project โดยตรง ภายใตการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาสังคม ๔) ฐานขอมูล ควรมีการจัดทำฐานขอมูลกลางที่ทุกสวนราชการที่มีภารกิจที่เกี่ยวของ ใหการยอมรบั และสามารถใชป ระโยชนรวมกันได ๕) ประเด็น การปรับเปลี่ยนคานยิ มและวัฒนธรรม ควรดำเนนิ การ ดังนี้ (๑) ควรมีมาตรการ ในการประเมินเรื่องดัชนีคุณธรรม ๕ ประการ ใหเปนรูปแบบเดียวกัน และสอดคลองกับแผนแมบท สง เสรมิ คุณธรรมแหง ชาติ (๒) เรงขยายคานยิ มและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงคในภาคธรุ กิจ และ (๓) การใช ส่อื และสอ่ื สารมวลชนปลูกฝงคานยิ มและวฒั นธรรมของคนในสังคม ๖) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) เรงรัดการดำเนินการตาม แผนแมบทฯ ใหบรรลุผลสำเร็จโดยเร็ว ควรขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามพระราชบัญญัติ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ (๒) เรงดำเนินการตามแนวทางที่ไดกำหนดใหไดตามที่ ตั้งเปาหมายไว (๓) พัฒนาศักยภาพมนุษยที่อยูนอกระบบการศึกษาทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอดุ มศกึ ษา (๔) ควรใชกลไกกองทนุ เพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษาเขามาชว ยเหลอื นักเรียน นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย และกลุมเด็กที่หลุดออกนอกระบบการศึกษาทั้งในระดับการศึกษา ขนั้ พื้นฐานและระดบั อดุ มศกึ ษา ๗) ประเด็น การเสรมิ สรา งใหค นไทยมสี ุขภาวะท่ดี ี ควรดำเนนิ การ ดงั นี้ (๑) ระดับสวนกลาง ควรกำหนดใหมีกลไกการขับเคลื่อนที่เปนรูปธรรม (๒) ระดับพื้นที่ ควรกำหนดใหเปนเปาหมายตัวชี้วัด ของผูวาราชการจังหวัด และสวนราชการภายในจังหวัด (๓) ดานงบประมาณ รัฐบาลควรพิจารณา ทบทวนกระบวนการและวิธกี ารพิจารณาจัดสรร ใหบ รรลเุ ปา หมายท่ีกำหนดไวไดอ ยางเปนรูปธรรม ๘) ประเดน็ ศกั ยภาพการกีฬา ควรดำเนนิ การ ดงั น้ี (๑) หนว ยงานทเ่ี กีย่ วขอ ง ควรบูรณาการ การทำงานรวมกัน ในการจัดทำคำของบประมาณ และเชิญผูแทนจากสำนักงบประมาณเขามา มสี วนรว มการจัดทำต้ังแตเริ่มแรก (๒) การจัดหาอปุ กรณอยา งเพียงพอและเหมาะสมการเผยแพรความรู เพื่อสรางความตระหนักดานการออกกำลังกายใหคนรุนใหมไดรับรูและเขาใจ (๓) ทบทวนประเด็น กฎหมายที่ลาสมัยและไมเหมาะสมกับสถานการณใ นปจจุบัน รวมถึงเปนอปุ สรรคตอการพัฒนากีฬาของ ประเทศ (๔) เรงขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีเปน คานงดั ทีส่ ำคญั ย่งิ ตอการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา

~ฒ~ ๔.๔ ยุทธศาสตรช าติดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๑) จัดทำระบบฐานขอมูลของประเทศ ควรจัดทำเปน “ระบบฐานขอมูลกลาง” ที่มี การเชื่อมโยงระหวางหนวยงานตาง ๆ สำหรับในระดับตำบล ควรมุงเนน “การจัดทำขอมูลของตำบล โดยตำบล เพื่อตำบล” และบรู ณาการฐานขอมลู ขององคกรปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) ๒) สรางเสริมชุมชนเขมแข็ง/ตำบลเขมแข็ง ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยใหความสำคัญ กับกลไกและกระบวนการแบบมีสวนรวม เนนการทำงานแบบบูรณาการจริงในพื้นที่ระดับตำบลลงไป โดยใชจตุพลังใหรวมกันจดั การการพัฒนาและการแกป ญ หาในพื้นท่ี ๓) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพของกลุมประชากร ใหความสำคัญดูแลและสงเสริม ตั้งแตกอนการตั้งครรภและดูแลแบบองครวม โดยสงเสริมสนับสนุนใหเ ด็กเยาวชนไดเรียนควบคูไปพรอมกบั การทำงาน พัฒนาทักษะแรงงานในภาคเกษตรกรรมที่เปนภาคเศรษฐกิจที่มีผลิตภาพแรงงานอยู ในระดับต่ำ และผลักดันใหเกิดการจางงานผูสูงอายุที่มีศักยภาพและสมรรถนะในสถานประกอบการตาง ๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชนเพิม่ มากขนึ้ ๔) ยกระดับศักยภาพของเศรษฐกิจฐานราก การปรับตัวของผูประกอบการสราง สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก ยกระดับ ศักยภาพและรายได พัฒนาทักษะและองคความรูสมัยใหม สำหรับการประกอบอาชีพและการบริหาร จัดการดานธุรกิจ และสรางสรรคผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและแนวโนม การเปล่ียนแปลงของโลก ๕) การบริหารจัดการระบบรองรับสังคมสูงวัย โดยใชตำบลเปนฐานสนับสนุนใหเกิด การบรู ณาการการทำงานรว มกันผานเครือขายท่ีเกยี่ วของ โดยมีองคกรภาครี วมดำเนนิ การในระดับพ้ืนท่ี ตำบล อาทิ สภาองคก รชมุ ชน สถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ี สถาบนั การเงินชมุ ชน ๖) เรงรัดผลักดันการพัฒนาปรับปรุงกฎหมาย การสรางความรูความเขาใจ และ การบังคบั ใชกฎหมายใหม ีประสิทธภิ าพ ๗) ปรับปรุงตัวชี้วัดของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ การดำเนินงานติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการดำเนินงานใหมีความถูกตอง นาเชื่อถือ ทันสมัย ทันตอเหตุการณ และ มีความครบถวนสมบรู ณ ๔.๕ ยุทธศาสตรชาติดา นการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เปนมิตรตอ สิง่ แวดลอ ม ๑) เรงรดั ดำเนินโครงการทีส่ ง ผลตอ การบรรลุเปา หมายอันพึงประสงค ๒) เรง รัดผลักดันกฎหมายทีเ่ อือ้ ตอ การพฒั นาประเทศ และปรับปรุงแกไ ขกฎหมายและ กระบวนงานทมี่ ีความลาสมยั ๓) บูรณาการการทำงานรวมกันของหนวยงานภาครัฐ ในการจัดทำแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ตลอดจนการแกไขปญหาตาง ๆ เพือ่ ใหก ารพฒั นาประเทศเปนไปในทิศทางเดยี วกนั

~ณ~ ๔) ขับเคลื่อนการประชาสัมพันธการดำเนินการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด การดำเนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติเชิงรุก และสนับสนุนใหเกิดการรับรูและมีสวนรวม ของประชาชนในการดำเนนิ การตามแผนแมบ ทฯ ๕) การจัดสรรงบประมาณประจำป ควรใหมีความสอดคลองกับแผนงาน/กิจกรรมของ โครงการตามแผนการปฏริ ูปประเทศและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และหนว ยงานภาครัฐจะตอง ดำเนนิ การอยางจริงจังและตอ เนื่อง ๖) ควรรวบรวมและจัดการขอมูลที่จำเปนตอการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ และบูรณาการขอ มูล รวมถึงกฎหมายและขอบงั คบั ทเี่ กย่ี วของระหวา งหนวยงานและเผยแพรตอ สาธารณชน ๔.๖ ยทุ ธศาสตรชาติดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ๑) เรงรัดและใหบริการประชาชนในเชิงรุกดวยจิตบริการ และนำระบบเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใหบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ณ จุดเดียว เพื่อใหการบริการภาครัฐบรรลุเปาหมาย ในชว ง พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒) เรงรัดการพัฒนาตอยอด การรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรที่อาจสงผล ตอ ความเชือ่ มัน่ ของประชาชนในบริการภาครฐั ๓) ควรยกระดับคะแนนดัชนีการรับรูการทุจริต (CPI) โดยการปรับปรุงหลักเกณฑการประเมนิ ITA การแบง กลมุ การประเมนิ ออกเปน ๕ - ๖ กลมุ และผลักดนั ขับเคลอ่ื นไปยังทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของ ในจงั หวดั อยางมปี ระสิทธิภาพ ๔) ควรปรับปรุงหลักสูตรตานทุจริตศึกษา ใหมีความทันสมัย สอดคลองกับสถานการณ ปจจุบัน สามารถวัดผลเชิงพฤติกรรมไดอยางแทจริง และนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการรวบรวม และเชอื่ มโยงขอ มูลเกยี่ วกับการทจุ ริต ๕) ในระยะเรงดวน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ควรเรงพิจารณาทบทวนกฎหมาย เกี่ยวกับการขออนุญาตและอนุมัติใหมากที่สุด เพื่ออำนวยความสะดวกใหกับประชาชน และจัดลำดับ กฎหมายทจ่ี ะดำเนนิ การกอ น – หลัง ใหช ัดเจน ๖) ควรจัดใหมีชองทางอิเล็กทรอนิกสใหผูที่เกี่ยวของหรือประชาชนที่ไดรับผลกระทบ จากการบังคับใชกฎหมายไดแสดงความคิดเห็น ควรจัดหมวดหมูกฎหมายโดยจัดทำเปนประมวล และ ควรส่อื สารใหป ระชาชนมีความรูความเขาใจอยางทั่วถึง และควรจัดตง้ั หนว ยงานเฉพาะในการดำเนินการ เผยแพรความรูทางกฎหมายแกประชาชน ในรูปแบบที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก เชน อินโฟกราฟกหรือคลิปวีดีโอ เปนตน โดยมีหนวยงานเฉพาะ (back office) ที่ทำหนาที่ดูแล รวมถึง การปรบั ปรงุ และพัฒนาขอมลู ในระบบกลาง ใหมคี วามถูกตอง เหมาะสม และเปน ปจ จบุ ันอยูเสมอ ๗) เรงรัดการแกไขปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมายที่หมดความจำเปน ไมสอดคลองกับ สภาพการณ หรอื ท่เี ปนอปุ สรรคตอการดำรงชวี ิต หรือการประกอบอาชพี ของประชาชน ๘) สำนักงานตำรวจแหงชาติ ควรพิจารณาทบทวนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาข้ึน เพื่อสนับสนุนการแจงความรองทุกขตางทองที่ เพื่อใหสามารถบูรณาการรวมกันไดทุกทองท่ีและการจัด

~ด~ ใหม ีการรับฟง ความคดิ เห็นของประชาชนและผูปฏิบตั ิงาน เพือ่ พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหตรง ตามความตองการของผูใชงานตอไป ๙) ควรประเมินผลสัมฤทธิ์สถานีตำรวจที่มีทนายความอาสาประจำ และความคุมคา ของโครงการ รวมทงั้ ปญหาอปุ สรรคในการดำเนินการเพ่ือปรับปรุงพฒั นาการใหบ รกิ ารในระยะตอ ไป ๑๐) ควรมีการพิจารณาขยายโครงการการปลอยชั่วคราวในขั้นตอนอื่น ๆ ของ กระบวนการยุติธรรม เชน การปลอ ยชัว่ คราวในชัน้ การสอบสวน หรือในชน้ั ของพนักงานอยั การ เปนตน ๑๑) ควรมีการแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อใหนำหลัก การบันทึกภาพและเสียงในการตรวจคน จับกุม และการสอบปากคำในการสอบสวนไปใชใหครอบคลุม การปฏบิ ัติหนาท่ดี งั กลาวของพนักงานเจาหนา ทห่ี นว ยงานอ่นื ๆ ดวย ๑๓) หนวยงานของรัฐควรดำเนินการตามหลักการบริหารงานคุณภาพ (Plan-Do- Check-Act : PDCA) ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตรชาติ ใหครอบคลุมเปาหมายการพัฒนาประเทศ จัดทำแผนระดับที่ ๓ การนำขอมูลจากแหลงตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชประกอบการประมวลและวิเคราะหเชิงลึก รวมทั้งใชเปนขอมูลประกอบการปรับปรุงแกไขและ พัฒนากระบวนการจดั ทำแผนระดับท่ี ๓ โครงการ ๕. ขอเสนอแนะกระบวนการขับเคลอ่ื นใหบ รรลุเปา หมาย ๕.๑ ยุทธศาสตรช าติดานความมน่ั คง ๑) ผลักดันแผนตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปน “แผนบูรณาการ” ขับเคลื่อนใหบรรลุ เปาหมายอยา งเปนรปู ธรรมตอไป ๒) เรงแกไขปญหาความมั่นคงใหบรรลุเปาหมายตามที่กำหนด เชน ปญหาจังหวัด ชายแดนใต ยาเสพติด ความม่นั คงปลอดภัยทางไซเบอร การคามนุษย ความมนั่ คงตามแนวชายแดน เปนตน ๓) เรงรัดใหมีการจัดทำฐานขอมูลดานความมั่นคง (Big Data) ใหครอบคลุมในทุกมิติ และเกดิ การบูรณาการระหวางหนวยงานอยางเปน ระบบ ๔) ควรเพิ่มการดำเนินการ ตสร. ตั้งแตในชวงตนน้ำใหมากขึ้น ตั้งแตการจัดทำ แผนบูรณาการ (แผนระดับ ๓) การจัดทำโครงการสำคัญ ตลอดจนการจัดทำแผนงาน/โครงการ ที่ตอบสนองตอ การบรรลุเปา หมายของแผนยอยและยุทธศาสตรช าติอยางเปนรูปธรรม ๕) การบูรณาการการทำงานรวมกับสวนราชการที่เกี่ยวของ ท่ีเปนปจจัยความสำเร็จ ที่สำคัญในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ที่มีลักษณะบูรณาการตามแผนแมบทฯ กระทรวง การตางประเทศ ในฐานะหนว ยงานเจาภาพหลักประสบความสำเร็จในการจดั ทำตารางประสานสอดคลอง (แผนระดับที่ ๓) ในแผนยอยความรวมมือดานความมั่นคงระหวางประเทศ (S1) และเรงรัด ผลักดัน ใหขยายการจดั ทำตารางประสานสอดคลองทีม่ ีความครอบคลุมในทุกแผนยอย ๖) กระทรวงการตางประเทศ ควรเรงรัดหารือกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ (สศช.) เพื่อปรับคาเปาหมายและตัวชี้วัดของแผนแมบทฯ ประเด็น การตางประเทศ ใหสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามภารกิจดานการตางประเทศไดอยางเปนรูปธรรมและ เกิดประสิทธิผล เพือ่ ใหส ามารถรองรบั การดำเนนิ การในหว งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) และหวงตอ ไป

~ต~ ๕.๒ ยทุ ธศาสตรชาติดา นการสรา งความสามารถในการแขง ขนั ๑) ประเด็นการเกษตร ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) มีระบบงบประมาณ แผนงาน/โครงการ สำคัญที่สามารถตอบสนองตอความเปลี่ยนแปลงจากความตองการพัฒนาไดทันเหตุการณ (๒) เรงแกไข ปญหาความซ้ำซอนกันของเปาหมาย การบูรณาการแผนงาน/โครงการสำคัญ และงบประมาณ ท่คี รอบคลุมตลอดทั้งกระบวนการทจี่ ะนำไปสูก ารบรรลุเปาหมาย (๓) ทบทวนบทบาทหนาทข่ี องสำนักงาน เศรษฐกจิ การเกษตร เนอ่ื งจากปจ จบุ นั เปน เพยี งหนว ยงานท่ที ำหนา ทีแ่ ทนกลมุ ขบั เคลอ่ื น ปยป.กษ. ๒) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต หนวยงานกลาง ไดแก สศช. สำนักงบประมาณ สำนักงาน ป.ย.ป. และสำนักงาน ก.พ.ร. ควรบูรณาการทำงานรวมกันในการกลั่นกรอง โครงการสำคัญ รวมทั้งขับเคลื่อนในภาพรวม เชน จัดเรียงลำดับความสำคัญโดยเฉพาะประเด็นเรงดวน กำหนดหนวยงานเจาภาพ/หนวยงานสนับสนุน และบทบาทหนาที่ในการขับเคลื่อนงาน ผลักดัน การจดั สรรงบประมาณใหแกโ ครงการทตี่ อบโจทยและเปา หมายของแผนแมบทฯ และยุทธศาสตรชาติ ๓) ประเด็น การทองเที่ยว ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) ผลักดันแผนพัฒนาการทองเที่ยว เรือสำราญของกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาและโครงการสงเสริมกิจการการแขงขันเรือเร็วสูตรหนึ่ง (Formula1) (๒) ปรับปรุงทาเรือน้ำลึกภูเก็ต เพื่อใหสามารถรองรับเรือสำราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) (๓) เรงรัดโครงการพัฒนาการทองเที่ยวในแมน้ำเจาพระยา เสนทางกรุงเทพ-อยุธยา และโครงการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โบราณสถาน วัดวาอารามสวยงาม และบานเรือนชุมชน บริเวณ คลองบางกอกนอ ย เปนตน ๔) ประเด็น พื้นที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) การนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมเขามาปรับใชหรือประยุกตใชในการพัฒนาเมืองนาอยู ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (๒) ใหค วามสำคัญเร่ืองทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มมากยงิ่ ข้ึน เชน ลดการใชพลงั งานหรือการใช พลงั งานทดแทนรปู แบบอื่นในการดำเนนิ โครงการ เปนตน ๕) ประเด็น โครงสรา งพนื้ ฐาน ระบบโลจิสตต ิกและดิจิทลั ๕.๑) โครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) สถานการณการ แพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ หนวยงานของรัฐตองปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินการ (๒) ผลักดันกฎหมาย ที่เอื้อตอการพัฒนาประเทศ ยกเลิกกฎหมายและกระบวนงานที่ลาสมัย และเปนอุปสรรคตอการพัฒนา ประเทศ (๓) บูรณาการการดำเนนิ งานระหวางหนวยงานที่เกยี่ วของในการแกป ญหา เปนตน ๕.๒) โครงสรา งพื้นฐานดานระบบโลจสิ ติกส ควรดำเนินการ ดงั น้ี (๑) รฐั บาลตอ งมี นโยบายควบคูกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ เพื่อใหแตละกระทรวงนำไปขับเคลื่อนสูการปฏิบัติ ไดอยางเปนรูปธรรม (๒) รัฐบาลตองมีระบบการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อนำมา วิเคราะหความคุมคาและความเสี่ยงในการปรับแผนงาน/โครงการสำคัญในอนาคต รวมทั้งการบริหาร โครงการ และการบริหารสัญญา (๓) การบูรณาการการทำงานระหวางกระทรวง ตองมีการถายทอด เปาหมาย/ตัวชี้วัดการกำหนดผลลัพธตามวัตถุประสงคอยางชัดเจน รวมถึง ควรเรงรัดการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานทางรางโครงการกอสรางรถไฟทางคูชวงขอนแกน - หนองคาย และชวงมาบกะเบา – ชุมทางถนนจิระ ที่ลาชา เพื่อใหสามารถขนสงสินคาเชื่อมโยงกับประเทศจีนและประเทศลาวไปทาเรือ แหลมฉบังได รวมทั้งเรงรัดผานรางพระราชบัญญัติสงเสริมพาณิชยนาวี พ.ศ. ........ เขาสูการพิจารณา

~ถ~ ของคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาใหประกาศใชโดยเร็วและเรงรัดการพัฒนาศักยภาพกองเรือแหงชาติและ ทา เรอื เพือ่ พฒั นาการขนสง ทางทะเลใหเปนศูนยก ลางผานแดน-ถายลาในภมู ิภาค เปน ตน ๕.๓) โครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล ควรดำเนินการ ดังน้ี (๑) เบิกจายงบประมาณ ใหเกิดการบรูณาการของโครงการที่อยูภายในโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัล (๒) เรงรัดโครงการที่ลาชา และประเมินปญหาอุปสรรคที่เกิดในการดำเนินการป ๒๕๖๔ (๓) ประชาสัมพันธเพื่อสรางการตระหนักรู และการรบั รรู ว มกันของสังคมเกีย่ วกับการคุม ครองขอมูลสว นบุคคล ๖) ประเด็น ผูประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ มยุคใหม ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) กระทรวงการคลัง ควรผลักดันมาตรการชวยเหลือทางการเงินกับภาคธุรกิจ (๒) สำนักงาน สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม (สสว.) ควรกำหนดแนวทางชว ยเหลอื /พัฒนา SMEs ในกลุม อุตสาหกรรมเปาหมายที่ชัดเจนเปนระบบตอเนื่อง เพื่อใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม (๓) กระทรวง อุตสาหกรรม ควรจัดลำดับความสำคัญของกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายที่จะใหการสนับสนุนทั้งกลุม อุตสาหกรรมเปาหมายเดมิ และกลุม อตุ สาหกรรมใหม ๗) ประเด็น เขตเศรษฐกิจพิเศษ ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) มุงเนนพิจารณาศึกษา ติดตาม ผลการดำเนินงานวาแผนงาน/โครงการสำคัญที่หนวยงานไดดำเนินการ เปนไปตามเปาหมายและตัวชี้วัด ที่กำหนดไวหรือไมวัดผลไดจริง และมีหนวยงานผูรับผิดชอบครบถวนหรือไม (๒) การรายงานผลสัมฤทธ์ิ ควรรายงานใหตรงตามตวั ชว้ี ัดที่กำหนดไวแ ละตามกำหนดเวลา เปน ตน ๕.๓ ยทุ ธศาสตรชาตดิ านการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย ๑) ประเด็น การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม เนนการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และเสริมสรางจิตสาธารณะและการเปนพลเมืองที่ดี ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) กำหนด คาเปาหมายต้ังแตระดับโครงการ ระดับแผนยอยและระดับแผนแมบทใหชัดเจน (๒) กำหนดรูปแบบ โครงการและกิจกรรมที่สามารถดำเนินการไดทั้งในสถานการณปกติและพิเศษอื่น ๆ เชน โรคระบาด การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร เปนตน (๓) ใหความสำคัญกับการสรางคา นิยมซ่ือสตั ยสุจริต ใหแกบุคคลและหนวยงานในภาคสวนตาง ๆ ใหแพรหลายและจริงจังมากยิ่งขึ้น การสรางคานิยม และวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกิจ และการใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยม และวฒั นธรรมของคนในสังคม ๒) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) เรงดำเนินการทดสอบ สมรรถนะครูรายสาขาที่สามารถเทียบเคียงกับมาตรฐานสากลไดใ หมากข้ึน (๒) การพฒั นามาตรฐานของ สถานศึกษาและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการศึกษา รวมทั้งการสรางความรวมมือ เพื่อพัฒนาการเรียนรูและการมีสวนรวมของชุมชนและครอบครัวและ การรว มมือกบั EdTech startup ๓) ประเด็น การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี รัฐบาลควรพิจารณาทบทวน กระบวนการและวิธีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณใหเปนการเฉพาะ เพื่อใหสามารถขับเคลื่อน แผนงาน/โครงการตาง ๆ ใหบรรลเุ ปาหมายท่กี ำหนดไวไ ดอยา งเปน รูปธรรม ๔) ประเด็น ศักยภาพการกีฬา ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม ใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน โดยเตรียมความพรอมทุกดาน (๒) เชื่อมโยงขอมูลดานการ

~ท~ ออกกำลังกาย และขอมูลดานสุขภาพใหสามารถนำมาวิเคราะหเชิงสถิติเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ที่ไดจาก การใชจายงบประมาณที่ไดรับ (๓) ใหการสนับสนุนการบริหารจัดการ และการติดตามในเรื่องตาง ๆ เพื่อพัฒนาการใหบ ริการทางการกีฬาในสว นภูมิภาคสูความเปนเลิศตามมาตรฐานสากล (๔) การบูรณาการ ดานงบประมาณและทรัพยากรดานการกีฬาทุกหนวยงานใหเกื้อกูลกัน (๕) ควรมีบุคลากรดาน วทิ ยาศาสตรการกฬี าอยูทุกจงั หวดั เพอ่ื ใหค ำแนะนำ ปรึกษากับนักกฬี า ผฝู ก สอน หรือผทู สี่ นใจได ๕) ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) ภาครัฐควรมี มาตรการกระตุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนาของทั้งภาคเอกชนและภาครัฐใหมีการลงทุนอยางตอเนื่อง (๒) ควรปรับและพัฒนาระบบบริหารจัดการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทยเปาหมาย การพัฒนาประเทศในองครวม รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรวิจัย (๓) ยกระดับการบริหารจัดการทรัพยสิน ทางปญญาของประเทศ และการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยเชิงพาณิชยท่ีอาจดำเนินการรวมกับ ตางประเทศ โดยมีมาตรการทางการเงินและการคลังเพื่อสงเสริมการสรางนวัตกรรมและการสงเสริม การนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใชประโยชนใหสอดรับกับสถานการณ และเนนการลงทุนวิจัยและ พัฒนาเพือ่ พัฒนาธุรกิจในการสรา งนวตั กรรมใหม ากขนึ้ ๕.๔ ยุทธศาสตรช าติดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๑) การผลักดันใหมีระบบฐานขอมูลกลาง ควรกำหนดหนวยงานเจาภาพหลัก และ หนวยงานสนับสนุนใหชดั เจน และบูรณาการทำงานรวมกันอยางจริงจัง การจัดการขอมูลในระดับตำบล มุง เนน ใหต ำบลเปน ผูจ ัดทำฐานขอมูลใหครอบคลุมทุกมิติ ๒) การเสริมสรางใหตำบลเขมแข็ง ควรดำเนินการ ดังนี้ (๑) กำหนดการสรางตำบล เขมแข็งเปนวาระแหงชาติ (๒) กำหนดเปนนโยบายของสวนราชการในการใช “จตุพลัง” เพื่อสรางเสริม ชุมชนเขมแข็ง/ตำบลเขมแข็ง และเผยแพรการดำเนินการเพื่อขยายผลใหครอบคลุมทุกพื้นที่ (๓) กำหนดใหมีสมัชชาตำบลเขมแข็งแหงชาติ เพื่อเปนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และพัฒนา การจดั การตำบลเขม แข็งอยางตอเนอ่ื ง ๓) การสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของกลุมประชากร ยกระดับศักยภาพของ เศรษฐกิจฐานราก การปรับตัวของผปู ระกอบการ และการพัฒนารายไดของประชากรกลุมรายไดนอ ย ๔) การพัฒนาและออกแบบระบบสนับสนุนทางดานเศรษฐกิจที่จะชวยใหชีวิต มีความมั่นคง มีศักดิ์ศรี และการออมรูปแบบอื่น ๆ โดยบูรณาการทั้งภาครัฐ เอกชน ภาควิชาการ และ ภาคประชาชน ๕) การออกแบบและการพัฒนาระบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาว โดยใชหลักชุมชน รอบรูสขุ ภาพมาเปนเคร่อื งมือพฒั นาศกั ยภาพบุคคลและชุมชนใหเกดิ การขบั เคลอ่ื นทเี่ ปน รูปธรรม ๖) การปรับปรุงตัวชี้วัดของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ หนวยงานเจาภาพหลัก และหนวยงานสนับสนุน ควรหารือกับ สศช. ใหเกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการปรับปรุงตัวชี้วัด ปญหา อุปสรรค ขอ ดแี ละขอ เสีย

~ธ~ ๕.๕ ยทุ ธศาสตรช าติดานการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอ ม ๑) ประเด็น การเตบิ โตอยางยั่งยนื (๑) ควรสงเสริมการใชดาวเทียมรวมกับการลงพื้นที่สำรวจในการจัดทำขอมูลพื้นที่ ปาไมใหเปนปจจุบัน และสงเสริมสนับสนุนขอมูลการศึกษาวิจัยดานทรัพยากรปาไมและพื้นที่สีเขียว ตลอดจนสรา งเครอื ขายรวมกบั ภาคใี นภาคสว นตาง ๆ (๒) เรงรัดการดำเนินการจัดทำฐานขอมูล/คลังขอมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ระดบั ชมุ ชนใหค รอบคลมุ ท่ัวประเทศ (๓) ปรับแผนการปฏิบัติงานใหสอดคลองและเหมาะสมกับสถานการณภายใต สถานการณแพรร ะบาดของโรคโควิด ๑๙ (๔) กำหนดใหเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบรรจุอยูในหลักสูตรการเรียน การสอน โดยพิจารณาคัดเลือกใหเ หมาะสมกบั แตละระดับการศึกษา (๕) ควรใหความสำคัญกับประเด็นที่ตองดำเนินการอยางตอเนื่องและเรงดวน เชน การลดการปลอยกาซเรือนกระจก การเพิ่มประสิทธิภาพการใชทรัพยากร การลดปญหาการสูญเสีย อาหาร และขยะอาหาร เปนตน ๒) ประเด็น การบรหิ ารจัดการนำ้ ทั้งระบบ (๑) สงเสริมบทบาทของหนวยงานระดับทองถิ่น ในการมีสวนรวมตอการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ และสงเสรมิ ความรวมมือระหวางหนว ยงานท่เี กยี่ วของ (๒) การสนับสนุนมาตรการนอกเหนือจากเชิงโครงสราง อาทิ การปรับปรุงกฎหมาย และรวบรวมจัดหมวดหมูกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการภัยพิบัติทางน้ำ การจัดตั้งกองทุนสนับสนุน การปองกันเพื่อลดผลกระทบจากภัยน้ำทวมและน้ำแลงอยางเปนระบบ เรงพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ประชาชนและชมุ ชน ในการรบั มอื กับภยั พิบตั ิดา นน้ำและการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (๓) ควรใหความสำคัญกับการพัฒนาเครื่องมือบริหารจัดการน้ำ อาทิ ฐานขอมูล ดานน้ำในระดับลุมน้ำ และระบบการติดตามสถานการณน้ำ ที่หนวยงานและภาคสวนตาง ๆ สามารถ ใชประโยชนรวมกัน ซึ่งจะเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการใหสอดคลองกับสถานการณความตองการ ของผูใชน้ำ และความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ รวมทั้งการดำเนินงานที่เปนเอกภาพ และ เปนไปในทิศทางเดยี วกัน (๔) การบรรลุเปาหมายการเพิ่มผลิตภาพการใชน้ำ โดยสงเสริมใหเกิดการใชน้ำ ตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle) ทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการผานการสนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ชวยใหประหยัดน้ำ และพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหาร จัดการความตองการใชนำ้ ของภาคสวนตาง ๆ อยางเปน ธรรมและเปนระบบ (๕) ควรใหความสำคัญกับการบูรณาการและเสริมสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ท้ังหนวยงานภาครฐั เอกชน และประชาชน

~น~ ๕.๖ ยุทธศาสตรชาติดานการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ๑) ควรทบทวนเปาหมายระดับแผนยอยใหสอดคลองกับขอเท็จจริงของแตละแผนยอย ที่จะสงผลตอความสำเร็จตามเปาหมายระดับประเด็น ปรับปรุงจำนวนคาเปาหมายและตัวชี้วัด รวมทั้ง แนวทางการพัฒนาใหมีความเหมาะสมและสะทอนการบรรลุคาเปาหมายอยางแทจริง นอกจากน้ัน ควรกำหนดตวั ช้วี ดั ในแตละปใหชดั เจน ๒) การจัดทำโครงการใหสอดคลองกับเปาหมายของแตละแผนยอยที่สะทอนการบรรลุ คาเปาหมายอยางแทจริง และพิจารณาคัดกรองและจัดลำดับความสำคัญของโครงการ รวมท้ัง การประสานและบรู ณาการระหวา งทกุ ภาคสวน เพื่อใหการดำเนนิ งานเปนไปในทศิ ทางเดยี วกนั อยางตอ เนอ่ื ง ๓) เรงรัดการจัดทำหรือปรับปรุงแกไขกฎหมาย รวมทั้งการออกกฎหมายลำดับรอง เพ่ือการขบั เคลอ่ื นการดำเนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ๔) เรงรัดสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ นำระบบบริหารผลงานปฏิบัติงาน (Performance Management : PM) และระบบการบริหารทรัพยากรขององคกร (Enterprise Resource Planning : ERP) มาปรับใชกับการบริหารงานภาครัฐอยางเปนระบบ เพื่อใหการสรางและพัฒนาบุคลากร ภาครฐั เกิดผลอยา งมปี ระสิทธิภาพ ๖. การตดิ ตามดา นงบประมาณเพอ่ื สนับสนุนดำเนินการตามยุทธศาสตรช าติ ขอ เสนอแนะเรงรัดทสี่ ำคัญ ควรเรง รัดการดำเนนิ การ ดงั นี้ ๑) รัฐบาลตองเรงรัดกำกับและควบคุมหนวยงานที่รับผิดชอบประเด็นในเปาหมาย ทั้งที่อยูในระดับวิกฤต ระดับที่มีความเสี่ยง และระดับที่ยังไมบรรลุเปาหมายอยางจริงจัง และนำหลัก ความรับผิดรับชอบมาพิจารณาใหคุณใหโทษ รวมทั้งรวมมือกับสำนักงาน ก.พ.ร. และสำนักงาน ก.พ. ในการพัฒนาระบบการจัดวางยุทธศาสตรองคกร ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการในระดับ หนวยงานและตวั บุคคล (โดยเฉพาะผูบ รหิ าร) ใหม ีความสอดคลอ งกับการขบั เคล่อื นแผนยุทธศาสตรช าติ ๒) สศช. ควรดำเนินการพัฒนาตัวชี้วัดอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะมิติเปาหมาย เชิงผลกระทบ (Impact Goal) เพื่อเปนแนวทางใหหนวยราชการที่รับผิดชอบนำไปใชในการกำหนด ใหเปน สว นหนง่ึ ของการบรรลเุ ปา หมายเชิงยุทธศาสตรทัง้ ในระยะ ๕ ป และแผนปฏบิ ตั ิราชการ ๑ ป ๓) ควรใหความสำคัญในดานการกระจายอำนาจที่จะตองคำนึงถึง ๓ ลักษณะ คือ (๑) การกระจายอำนาจทางการเมือง (๒) การกระจายอำนาจทางการคลังหรือความสามารถในการ หารายไดของทองถิ่น และ (๓) การกระจายอำนาจทางการบริหารและทรัพยากร เพื่อตอบสนองตอ ปญหาและความตองการพัฒนาของประชาชนในแตละพื้นที่ที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ๔) สำนักงบประมาณ ควรทำหนาที่ในการสรางระบบและวางหลักประกันใหแตละหนวยงาน ที่อยูในแผนงานบูรณาการรวมกันขับเคลื่อน และทำหนาที่เปนผูอำนวยความสะดวกและผูกำกับดูแล ใหแตละหนวยงานดำเนินการจัดทำแผนงานรวมกัน และนำเปาหมายยุทธศาสตรชาติและแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติ ไปบรรจุไวในแผนยุทธศาสตรองคกร โดยมีการอนุมัติการเบิกจายงบประมาณ เปนเคร่ืองมือหรือเง่อื นไขเพื่อใหเ กิดการเรงรัดดำเนนิ การ

~บ~ ๕) หนวยงานที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อน ควรใหความสำคัญกับประเด็นทาทาย และการดำเนินการในระยะตอไป และนำผลการประเมินการพัฒนาตามยุทธศาสตรชาติในปที่ผานมา โดยเฉพาะแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติที่มีสถานการณบรรลุเปาหมายระดับประเด็นที่อยูในระดับ วิกฤต (สีแดง) หรือมีสถานะการบรรลุเปาหมายที่อยูในระดับเสี่ยง (สีสม) มาเปนกรอบหรือทิศทาง ในการใหนโยบาย การกำกับติดตาม การใหน้ำหนักหรือการจัดลำดับความสำคัญตอเปาหมายของ แผนแมบทยอย รวมถึงการใหคะแนนของหนวยงานผูมีสิทธิ์ประเมินโครงการสำคัญใหเปนไปในทิศทาง เดียวกัน แลวถายทอดไปยังหนวยงานเจาภาพในการขับเคลื่อนแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ทุกระดับ เพื่อใหการจัดทำโครงการสำคัญประจำปงบประมาณของหนวยงานสนับสนุนที่อยูภายใต เปาหมายแผนแมบทยอยในประเด็นตาง ๆ มีกรอบและทิศทางดำเนินการที่ชัดเจน สามารถเสนอ โครงการสำคัญที่สามารถขับเคลื่อนการดำเนินการใหบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติและแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติไดอ ยางเปนรูปธรรม ๖) โครงการสำคัญที่เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ อาจยังมีจำนวนไมมากนัก หนวยรับงบประมาณบางสวนยังไมมีความพรอมหรือเสนอ ขอตั้งงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณไมทันตามระยะเวลาที่กำหนดไวในปฏิทินงบประมาณ ควรกำหนดขั้นตอนการจัดทำโครงการสำคัญใหทันตามขั้นตอนและวิธีการเสนอขอตั้งงบประมาณตาม ปฏิทนิ งบประมาณในแตล ะปใ หช ดั เจน เพ่อื ใหห นวยรับงบประมาณสามารถปฏิบตั ิไดอยางเปน รปู ธรรม ๗) ควรปรบั เปาหมายการใหบ รกิ ารของกระทรวงใหต รงกบั เปาหมายยทุ ธศาสตรชาติและ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ เพื่อใหการรายงานผลการปฏิบัติงานและผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน ที่ไดรับจากการใชจายงบประมาณตรงกันกับเปาหมายและตัวชี้วัดแผนแมบทยอยและแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ และการถายทอดเปาหมาย ตัวชี้วัดของยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจาย ประจำป จากนั้นจึงถายทอดไปยังหนวยรับงบประมาณเพื่อนำไปกำหนดเปนแผนปฏิบัติราชการราย ๕ ป และราย ๑ ป แลวใหแตละกระทรวงกำหนดเปาหมาย/ตัวชี้วัดยอยใหหนวยงานในสังกัด ดำเนินการ จัดทำแผนงาน/โครงการสำคัญ และเสนอขอตั้งงบประมาณตามหนาท่ีและอำนาจ เพื่อใหการขับเคลื่อน สามารถบรรลุเปาหมาย/ตวั ช้ีวัดไดอ ยางแทจ ริง ๗. กลไกขบั เคลอ่ื นการติดตาม เสนอแนะ และเรงรดั การดำเนนิ การตามแผนแมบ ทภายใต ยทุ ธศาสตรชาตแิ ละแผนการปฏิรูปประเทศใหบ รรลุผลสัมฤทธิ์ ๗.๑ การขับเคลื่อนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ ในหวงป ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ ที่ผานมาถือไดวาเปนการ ตสร.ของวุฒิสภาตอรายงานตามวงรอบ ๓ เดือน (รายงาน ตามมาตรา ๒๗๐) และรายงานประจำป อยา งไรกต็ าม ขอ เท็จจริงแสดงใหเห็นวา ถาเปนประเด็นท่ีเก่ียวกับ แผนงาน/โครงการ งบประมาณจะมผี ลในทางปฏิบตั คิ อ นขา งนอ ย ในขณะท่ีการ ตสร.จะลาชากวาเวลาที่รายงาน ๓ - ๖ เดือน ถาเปนการ ตสร. รายงานตาม วงรอบ ๑ ป (ป ๒๕๖๔) ก็จะกระทำขึ้นไดก็ตอเมือ่ กาวเขาไปในปงบประมาณตอไปแลว ประมาณ ๖ เดือน และอาจจะอยูชวงตน ๆ ของการจัดทำงบประมาณรายจายประจำป + ๒ (ป ๒๕๖๓) แลวเชนกัน จึงทำใหแผนงาน/โครงการและงบประมาณที่ไดรับการเสนอแนะจะถูกนำไปดำเนินการจริงไดในชวงเวลา

~ป~ อีก ๒ ปงบประมาณถัดไป ขณะท่ีขอเสนอแนะเชิงนโยบายที่ไมเกี่ยวของกับการใชจายงบประมาณอาจจะ สามารถดำเนินการไดทันทแี ตก ระนน้ั ก็ยงั ลาชาไปกวาชวงเวลาทคี่ วรดำเนนิ การ ประมาณ ๓ - ๖ เดือน เพราะฉะนั้นเพื่อเปนการปดชองวางดังกลาวขางตน จึงควรมีการพิจารณาปรับปรุงการ ดำเนินงานที่สอดคลองกับปฏิทินการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ และการจัดทำและดำเนินการตาม ยุทธศาสตรชาติของรัฐบาลเพิ่มเติมที่สำคัญ เชน ๑) การจัดทำโครงการสำคัญ (โดย สศช.) ๒) การกำหนด ปฏิทินการจัดทำคำของบประมาณรายจายประจำปของทุกสวนราชการ (โดยสำนักงบประมาณ) ๓) ในชวงเวลากอนและระหวางขั้นตอนการจัดทำโครงการสำคัญ (ป + ๒) ประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือน ธันวาคม (ป + ๐) ซึ่งมีขั้นตอนยอย ๆ ที่ตองใหความสำคัญ คือ (๑) การกำหนดประเด็นการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรชาติที่เปนรูปธรรมในระดับรัฐบาล ระดับกระทรวง และระดับจังหวัด (๒) การจัดทำ แผนปฏิบัติการ/หรือแผนปฏิบัติการดาน.... ตอประเด็นดังกลาวที่เปนรูปธรรม (๓) การกำหนดกิจกรรม และสวนราชการที่รับผิดชอบในการดำเนินการ (๔) การจัดทำแผนงาน/โครงการ ความตองการงบประมาณ ของแตละสวนราชการ ซึ่งเปนโครงการที่แตละสวนราชการจะดำเนินการที่เปนโครงการสำคัญ ซึง่ มีการดำเนนิ การภายใตก ารกำกับของ สศช. ตอกรณีดังกลาวพบจุดออนที่ผานมา คือ รัฐบาลไมไดกำหนดประเด็นที่จะพัฒนาใหชัดเจน แตใหสวนราชการพิจารณากันเองและไมไดมีการจัดทำแผนปฏิบัติการ/แผนปฏิบัติการดาน.... ที่เปน รูปธรรม จึงทำใหโครงการที่แตละสวนราชการเสนอมาไมสามารถตอบไดวามีความเหมาะสมเพียงพอ หรือไม และจะสามารถทำใหบรรลุเปาหมายไดหรือไมอยางไร นอกจากนั้น สศช. กไ็ มไ ดมีการตรวจสอบ วาโครงการที่นำมาเสนอสำคัญจริงหรือไม เพียงพอตอการบรรลุเปาหมายหรอื ไม และถาไมเพียงพอแลว ควรจะดำเนินการอยางไรตอ ไป ดังนั้น จึงควรพิจารณาดำเนินงานในแตละขั้นตอนยอยของการจัดทำคำของบประมาณ รายจายประจำปของสวนราชการ โดยใหเนนลงไปในสวนที่เกี่ยวกับการจัดแผนปฏิบัติการ/ แผนปฏิบัติการดาน.... แผนงาน/โครงการ และงบประมาณ (การดำเนินการของ แตละสวนราชการ) รวมถึงในขั้นตอนการใหความเห็นชอบงบประมาณรายจายประจำปของ แตละสวนราชการวาไดรับการสนับสนุน ครบถวนหรือไม เพียงใด (การดำเนินการภายใตการกำกับ ของสำนักงบประมาณ) เพื่อลดทอนความคลาดเคลื่อนในการจัดทำแผนงาน/โครงการที่ตองจัดทำข้ึน ลวงหนากอนการปฏิบัติจริงถึงประมาณ ๒ ป โดยจำเปนตองดำเนินแนวทางแกไขปญหา คือ ตองเรงรัด ใหมีการจัดทำแผนปฏิบัติการ/แผนปฏิบัติการดาน....ระยะ ๕ ป (๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ในแตละประเด็น อยางเปนรูปธรรมเพื่อใชเปนกรอบสำหรับการจัดทำโครงการและคำของบประมาณขึ้นไวขั้นหนึ่งกอน ดังแสดงตามภาพท่ี ๘

~ผ~ ภาพที่ ๘ ขอเสนอแนะตอ การจัดทำโครงการตามแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ และแผนการปฏริ ูปประเทศใหบ รรลผุ ลสมั ฤทธิ์ ๗.๒ การขับเคลื่อนการแปลงแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ ใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ จากการติดตามโครงการที่สวนราชการดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศที่ผานมาชี้ใหเห็นวา จำเปนตองเพิ่มระดับความเขมขน ใหมากขึ้น เพื่อใหการดำเนินการตามขอ ๗.๑ บรรลุเปาหมาย โดยรัฐบาลควรใหคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (ก.พ.ร.) รวมกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) สำนัก งบประมาณ และกรมบญั ชีกลาง วางระบบการบริหารผลการปฏบิ ตั ิงาน (Public Sector Performance Management System) ใหกระทรวงตาง ๆ ดำเนินการ โดยรายงานผลการปฏิบัติงานทันทีเมื่อปฏิบัติ เสร็จสิ้นตามแผนงานและโครงการในระบบติดตามประเมินผลแหงชาติ (eMENSCR) พรอมกับ การขอเบิกจายงบประมาณในระบบ GFMIS เนื่องจากรายงานผลการปฏิบัติงานเปนขอมูลสำคัญ ในการบริหารผลการปฏิบัติงานใหเกิดผลสัมฤทธิ์สูง และในระบบการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ เพื่อสนับสนุนการ พิจารณารายจายประจำปและเพื่อการติดตามผลสัมฤทธิ์ เสนอแนะ และเรงรัด ตามแผนปฏริ ปู ประเทศและยุทธศาสตรชาติ โดยดำเนินการ ดงั นี้ ๑) การใหความสำคัญในการผลักดันและขับเคลื่อนตอผลสำเร็จในการบรรลุเปาหมาย จากระดบั รฐั มนตรี (ปจจบุ ันผรู ับผดิ ชอบเปน ระดบั ขา ราชการประจำ) ๒) การกำหนดลำดับความสำคญั เรงดวนในเรอ่ื งท่ีตอ งการเรงรดั ใหบรรลผุ ล ๓) การถายทอดเปาหมาย/ตัวช้ีวดั ลงไปยังผูปฏบิ ตั ใิ นระดับพืน้ ทอี่ ยา งชัดเจน ๔) การจัดทำแผนบูรณาการการดำเนินงานที่ดี และอยูบนพื้นฐานของการสรางความรู ความเขา ใจรวมกนั อยา งตอ เน่ือง ๕) ปรับระบบราชการ/ระบบงบประมาณ ใหเอื้อตอการดำเนินการในนโยบายสำคัญ ใหบ รรลผุ ลสัมฤทธิ์และสนบั สนนุ งบประมาณใหก ับโครงการสำคญั

~ฝ~ ๖) การแปลงแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ เปนแผนงาน/ โครงการสำคัญของสวนราชการที่อยูใ นความรับผิดชอบใหถูกตองและครบถวน ตามหลักเกณฑการประเมนิ โครงการ เพื่อขอรับงบประมาณในการขับเคลื่อนใหบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาตปิ ระจำป ทั้งในสวนของ สศช. สำนักงบประมาณและหนวยงาน ในฐานะ (๑) หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนประเด็น จ.๑. หรือ (๒) หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนเปาหมาย จ.๒. หรือ (๓) หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนเปาหมายของ แผนยอย จ.๓. หรือ (๔) หนวยงานผูรับผิดชอบหลักกิจกรรมปฏิรูปที่เกี่ยวของในการดำเนินการทั้งหมด ใหสามารถนำไปปรับใชในการปฏิบัติไดจริง อันจะทำใหการดำเนินโครงการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รอบคอบ รอบดานและครบถวนทุกมิติ รวมถึงทันตอการจัดทำคำขอดำเนินการโครงการสำคัญ ตามแผนแมบ ทฯ และทันตอ การจดั ทำคำขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจายประจำปของสว นราชการ *****************************

สารบัญ บทสรุปผบู ริหาร หนา สวนที่ ๑ บทนาํ ก สว นที่ ๒ ผลการตดิ ตาม เสนอแนะ และเรงรดั ๑ ๒.๑ ผลการตดิ ตาม เสนอแนะ และเรง รดั ตามยทุ ธศาสตรช าติ ๖ ดา น ๗ ๗ ๑) ยุทธศาสตรช าตดิ านความมน่ั คง ๙ ๒) ยทุ ธศาสตรชาตดิ านการสรางความสามารถในการแขงขนั ๓) ยทุ ธศาสตรชาตดิ านการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย ๒๕ ๔) ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔๙ ๕) ยุทธศาสตรช าตดิ า นการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทเี่ ปนมติ รตอ สิง่ แวดลอม ๖๕ ๖) ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ๘๑ ๒.๒ ผลการตดิ ตาม เสนอแนะ และเรงรดั แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ๙๓ ๑) แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเดน็ ความมน่ั คง ๑๐๕ ๑๐๗ ๒) แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น การตางประเทศ ๑๑๓ ๓) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การเกษตร ๑๒๓ ๔) แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแหง อนาคต ๑๓๕ ๕) แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ การทอ งเทยี่ ว ๑๔๓ ๖) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ พนื้ ที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ ๑๕๙ ๗) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ โครงสรา งพ้นื ฐานระบบโลจสิ ตกิ ส ๑๖๕ และดจิ ิทลั ๘) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ ผปู ระกอบการและวสิ าหกิจ ๑๙๕ ๒๐๓ ขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม ๒๑๑ ๙) แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ เขตเศรษฐกจิ พิเศษ ๒๑๙ ๑๐) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การปรบั เปล่ียนคานยิ มและวฒั นธรรม ๒๒๕ ๑๑) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ติ ๒๓๓ ๒๓๙ ๑๒) แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น การพฒั นาการเรียนรู ๒๔๙ ๑๓) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การเสรมิ สรางใหค นไทยมสี ขุ ภาวะท่ดี ี ๑๔) แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น ศักยภาพการกฬี า ๑๕) แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น พลังทางสงั คม

สารบัญ (ตอ ) ๑๖) แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ เศรษฐกจิ ฐานราก หนา ๑๗) แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเด็น ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ๒๕๕ ทางสังคม ๒๖๓ ๑๘) แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การเตบิ โตอยา งยง่ั ยนื ๒๖๙ ๑๙) แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การบรหิ ารจดั การน้ําทงั้ ระบบ ๒๘๑ ๒๐) แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ ๒๙๑ ภาครัฐ ๒๙๙ ๒๑) แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ การตอ ตา นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ ๓๐๕ ๒๒) แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ๓๑๓ ๒๓) แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม ๓๒๑ สว นท่ี ๓ บทสรุป ๓๒๒ ๑) ยุทธศาสตรช าตดิ า นความม่ันคง ๓๒๔ ๒) ยุทธศาสตรช าตดิ า นการสรา งความสามารถในการแขง ขนั ๓๒๔ ๓) ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย ๓๒๖ ๔) ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๓๒๗ ๕) ยุทธศาสตรชาตดิ านการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน มิตรตอ ส่งิ แวดลอม ๓๒๙ ๖) ยทุ ธศาสตรช าตดิ า นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั สวนที่ ๔ ผลการศกึ ษาดา นงบประมาณเพอ่ื สนบั สนุนการตดิ ตาม เสนอแนะ และเรงรดั ๓๓๑ การดาํ เนนิ การตามยุทธศาสตรชาติ สรุปประเดน็ การอภิปรายของสมาชกิ วฒุ ิสภา

สารบญั ภาพ ภาพท่ี ๑ แสดงการประเมนิ ผลความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ หนา ดา นความม่ันคง ประจำป ๒๕๖๔ ค ภาพท่ี ๒ แสดงการประเมนิ ผลความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของยุทธศาสตรช าติ จ ดา นการสรางความสามารถในการแขง ขัน ประจำป ๒๕๖๔ ช ซ ภาพท่ี ๓ แสดงการประเมนิ ผลความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ ดานการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย ประจำป ๒๕๖๔ ฌ ญ ภาพที่ ๔ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ ญ ดานการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประจำป ๒๕๖๔ ผ ๔ ภาพท่ี ๕ แสดงการประเมนิ ผลความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายของยุทธศาสตรช าติ ๕ ดานการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน มติ รตอ สิ่งแวดลอ ม ประจำป ๑๒ ๒๕๖๔ ๑๒ ภาพที่ ๖ แสดงการประเมินผลความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ ๑๙ ดา นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครฐั ประจำป ๒๕๖๔ ๒๐ ๒๑ ภาพที่ ๗ เปรยี บเทยี บผลความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปา หมายของยุทธศาสตรชาติ ภาพท่ี ๘ ขอเสนอแนะตอ การจดั ทำโครงการตามแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ๓๕ และแผนการปฏิรปู ประเทศใหบรรลุผลสัมฤทธ์ิ ภาพท่ี ๙ ตารางเมทริกซ (Matrix) เพ่ือตดั สนิ ใจเสนอแนะทางเลือกในการดำเนนิ โครงการทขี่ บั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรชาติ ภาพท่ี ๑๐ สรปุ ผลวเิ คราะหการวิเคราะหโอกาสการบรรลเุ ปาหมาย ภาพที่ ๑๑ แสดงความเชื่อมโยงของแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ กบั ยุทธศาสตร ชาตดิ านความม่นั คง ภาพที่ ๑๒ ภาพแสดงความเชือ่ มโยงของแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ กับยุทธศาสตรช าตดิ า นความมน่ั คงของภาพท่ี ๙ ภาพท่ี ๑๓ แสดงการวิเคราะหผ ลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ โดยผลรวมตามแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ ความมัน่ คง และ การตางประเทศ ภาพท่ี ๑๔ แสดงรอยละความสำเรจ็ ท่ีเปน องคป ระกอบตอการบรรลผุ ลสำเรจ็ ของ ยทุ ธศาสตรชาติดา นความมั่นคง ภาพที่ ๑๕ แสดงการประเมินผลความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายของยุทธศาสตรช าติ ดา นความมน่ั คง ภาพท่ี ๑๖ แสดงการวิเคราะหผลการดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช าติ ประจำป ๒๕๖๔ โดยผลรวมตามแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาตดิ านการสรางความสามารถ ในการแขง ขนั

สารบญั ภาพ (ตอ) ภาพที่ ๑๗ แสดงการวิเคราะหสรปุ ผลการประเมินความสำเร็จตอ การบรรลุเปา หมาย หนา โดยผลรวมตามแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาตดิ า นการสรางความสามารถ ภาพท่ี ๑๘ ในการแขง ขัน ประจำป ๒๕๖๔ ๓๖ แสดงการวิเคราะหสรปุ ผลการประเมินความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปา หมาย ภาพที่ ๑๙ โดยผลรวมตามแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติดา นการสรางความสามารถ ๓๗ ภาพที่ ๒๐ ในการแขงขัน ประจำป ๒๕๖๔ ๕๒ การติดตามแผนแมบ ทภายใตย ทุ ะสาสตรชาตทิ ่สี นับสนนุ ยุทธศาสตรชาติ ภาพที่ ๒๑ ดา นการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย ๕๕ ภาพท่ี ๒๒ แสดงการวเิ คราะหผลการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรช าติ ประจำป ๒๕๖๔ ๕๖ ภาพที่ ๒๓ โดยผลรวมตามแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็นการปรบั เปลย่ี น ๕๗ คานยิ มและวัฒนธรรม ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชวี ติ ภาพท่ี ๒๔ ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู ประเดน็ การเสรมิ สรางใหคนไทยมสี ุขภาวะ ๗๑ ภาพที่ ๒๕ ทดี่ ี ประเดน็ ศกั ยภาพ ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ๗๒ ภาพท่ี ๒๖ แผนการปฏิรูปประเทศทส่ี นับสนนุ ยุทธศาสตรชาตดิ า นการพัฒนา ๗๓ ภาพท่ี ๒๗ และเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย ๘๖ ภาพท่ี ๒๘ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ ๘๗ ภาพที่ ๒๙ ดานการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ๘๘ ภาพท่ี ๓๐ แสดงการวิเคราะหผลการดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรช าติ ประจำป ๒๕๖๔ ๙๙ โดยผลรวมตามแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเดน็ พลงั ทางสังคม ๑๐๐ เศรษฐกิจฐานราก และความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม แสดงแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติท่สี นบั สนุนยทุ ธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แสดงการประเมินผลความสำเร็จตอ การบรรลเุ ปาหมายของยทุ ธศาสตรชาติ ดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แสดงการวิเคราะหผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติดานการสราง การเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตที่เปนมติ รตอ ส่งิ แวดลอม ประจำป ๒๕๖๔ แสดงการประเมนิ ผลความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายของยุทธศาสตรช าติ ดา นการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปนมติ รตอ ส่งิ แวดลอ ม แสดงการประเมนิ ผลความสำเร็จตอ การบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรช าติ ดา นการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมติ รตอ สงิ่ แวดลอม แสดงการวิเคราะหผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ ยทุ ธศาสตรช าติดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครฐั แสดงรอ ยละความสำเร็จที่เปนองคประกอบตอการบรรลผุ ลสำเร็จของ ยทุ ธศาสตรช าติดา นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครฐั

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพท่ี ๓๑ แสดงการประเมินผลความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปาหมายของยทุ ธศาสตรช าติ หนา ประจำป ๒๕๖๔ ยุทธศาสตรช าติดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหาร จดั การภาครัฐ ๑๐๑ ๑๐๘ ภาพที่ ๓๒ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบ ท ๑๑๐ ภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น ความมน่ั คง ๑๑๕ ๑๑๗ ภาพท่ี ๓๓ รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมาย แผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ๑๒๔ ประเด็น ความมัน่ คง ๑๓๐ ๑๓๗ ภาพท่ี ๓๔ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมแผนแมบทภายใต ๑๓๘ ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น การตางประเทศ ๑๔๖ ๑๕๑ ภาพที่ ๓๕ รอยละความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ๑๖๐ ประเดน็ การตา งประเทศ ๑๖๑ ภาพท่ี ๓๖ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมแผนแมบทภายใต ๑๖๖ ยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การเกษตร ๑๗๔ ภาพที่ ๓๗ รอยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น การเกษตร ภาพที่ ๓๘ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง อนาคต ภาพท่ี ๓๙ รอ ยละความสำเร็จตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเดน็ อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหงอนาคต ภาพที่ ๔๐ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น ทองเทีย่ ว ภาพท่ี ๔๑ รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปาหมายแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น ทอ งเทย่ี ว ภาพที่ ๔๒ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น พืน้ ทีแ่ ละเมอื งนา อยูอ ัจฉริยะ ภาพท่ี ๔๓ รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ พื้นท่ีและเมอื งนา อยูอจั ฉริยะ ภาพที่ ๔๔ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น โครงสรางพื้นฐานระบบโลจสิ ตกิ ส และดจิ ทิ ลั แผนยอ ยโครงสรางพื้นฐานดา นพลังงาน ภาพที่ ๔๕ รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ โครงสรา งพน้ื ฐาน ระบบโลจิสติกส และดิจิทลั แผนยอ ยโครงสรางพนื้ ฐานดานพลังงาน

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพท่ี ๔๖ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมแผนแมบทภายใต หนา ยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ โครงสรางพืน้ ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส และดิจิทลั ภาพท่ี ๔๗ แผนยอ ย โครงสรางพื้นฐานดา นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส ๑๗๘ รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ภาพท่ี ๔๘ ประเด็น โครงสรา งพ้ืนฐาน ระบบโลจิสติกส และดจิ ิทลั ๑๘๒ แผนยอย โครงสรา งพ้ืนฐานดา นคมนาคมและระบบโลจิสติกส ภาพท่ี ๔๙ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมแผนแมบ ทภายใต ๑๘๙ ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น โครงสรางพนื้ ฐาน ระบบโลจิสติกส และดิจทิ ลั ภาพท่ี ๕๐ แผนยอยโครงสรา งพ้นื ฐานดานดจิ ทิ ัล ๑๙๐ รอ ยละความสำเร็จตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ภาพที่ ๕๑ ประเด็น โครงสรา งพนื้ ฐาน ระบบโลจสิ ติกส และดจิ ทิ ัล ๑๙๗ ภาพที่ ๕๒ แผนยอยโครงสรางพื้นฐานดา นดจิ ิทัล ๑๙๘ ภาพท่ี ๕๓ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมแผนแมบ ทภายใต ๒๐๕ ภาพท่ี ๕๔ ยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น ผูป ระกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและ ๒๐๘ ภาพที่ ๕๕ ขนาดยอมยคุ ใหม ๒๑๓ ภาพที่ ๕๖ รอยละความสำเร็จตอ การบรรลุเปาหมาย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ๒๑๔ ภาพที่ ๕๗ ประเดน็ ผปู ระกอบการและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม ๒๒๐ ภาพที่ ๕๘ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใต ๒๒๑ ภาพที่ ๕๙ ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น เขตเศรษฐกจิ พิเศษ ๒๒๖ รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ๒๒๗ ประเด็น เขตเศรษฐกจิ พิเศษ แสดงสรุปผลการวเิ คราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบ ทภายใต ยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ การปรับเปล่ียนคา นิยมและวัฒนธรรม รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปา หมายของแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การปรบั เปล่ยี นคานิยมและวฒั นธรรม แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมของแผนแมบ ท ภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ิต รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปา หมายของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเด็น การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งชีวติ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู (ขน้ั พื้นฐาน) รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู (ขนั้ พืน้ ฐาน)

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพท่ี ๖๐ แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบ ทภายใต หนา ภาพที่ ๖๑ ยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู (ขนั้ อุดมศกึ ษา) ๒๓๐ ภาพที่ ๖๒ รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปาหมายของแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ๒๓๑ ภาพที่ ๖๓ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู (ขั้นอดุ มศกึ ษา) ๒๓๕ ภาพท่ี ๖๔ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหก ารดำเนินโครงการ/กิจกรรมของแผนแมบทภายใต ๒๓๖ ภาพที่ ๖๕ ยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ การเสริมสรา งใหคนไทยมสี ุขภาวะท่ดี ี ๒๔๓ ภาพที่ ๖๖ รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปา หมายของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ๒๔๔ ภาพท่ี ๖๗ ประเด็น การเสริมสรา งใหค นไทยมีสขุ ภาวะที่ดี ๒๕๑ ภาพท่ี ๖๘ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหก ารดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมของแผนแมบ ทภายใต ๒๕๓ ภาพที่ ๖๙ ยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ ศักยภาพการกีฬา ๒๕๘ ภาพท่ี ๗๐ รอ ยละความสำเร็จตอการบรรลเุ ปาหมายของแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ๒๕๙ ภาพที่ ๗๑ ประเดน็ ศักยภาพการกีฬา ๒๖๕ ภาพที่ ๗๒ แสดงสรปุ ผลการวเิ คราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมของแผนแมบ ทภายใต ๒๖๖ ภาพท่ี ๗๓ ยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ พลังทางสังคม ๒๗๖ ภาพท่ี ๗๔ รอยละความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ๒๗๗ ภาพท่ี ๗๕ ประเดน็ พลงั ทางสังคม ๒๘๕ ภาพท่ี ๗๖ แสดงสรุปผลการวิเคราะหก ารดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบทภายใต ๒๘๖ ยทุ ธศาสตรช าติ ประเดน็ เศรษฐกจิ ฐานราก ๒๙๔ รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปา หมายของแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ เศรษฐกจิ ฐานราก แสดงสรุปผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมของแผนแมบ ท ภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเดน็ ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสงั คม รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายของแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ ความเสมอภาคและหลักประกันทางสงั คม แสดงสรุปผลการวิเคราะหก ารดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบ ทภายใต ยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น การเตบิ โตอยางย่งั ยืน รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การเตบิ โตอยางย่งั ยืน แสดงสรปุ ผลการวเิ คราะหการดำเนินโครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบ ทภายใต ยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น การบรหิ ารจดั การนำ้ ทง้ั ระบบ รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเด็น การบริหารจัดการนำ้ ทัง้ ระบบ แสดงสรุปผลการวเิ คราะหก ารดำเนินโครงการแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธภิ าพภาครัฐ

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพท่ี ๗๗ รอ ยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปาหมายแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ หนา ภาพที่ ๗๘ ประเด็น การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธภิ าพภาครัฐ ๒๙๕ ภาพที่ ๗๙ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนินโครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใต ๓๐๐ ภาพท่ี ๘๐ ยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การตอตา นการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ ๓๐๒ ภาพที่ ๘๑ รอยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๓๐๗ ภาพที่ ๘๒ ประเด็น การตอ ตา นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ ๓๐๙ ภาพท่ี ๘๓ แสดงสรปุ ผลการวิเคราะหการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมแผนแมบ ทภายใต ๓๑๖ ยุทธศาสตรชาติ ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ๓๑๗ รอ ยละความสำเรจ็ ตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม แสดงสรปุ ผลการวเิ คราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมของแผนแมบ ทภายใต ยทุ ธศาสตรช าติ ประเด็น การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม รอยละความสำเร็จตอการบรรลุเปา หมายของแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook