Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

Published by nakichan, 2022-11-02 06:57:22

Description: รายงานยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปี 2564

Search

Read the Text Version

๒๙๙ ประเด็น การตอตา นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีแผนยอย จำนวน ๒ แผนยอ ย ตดิ ตามแนวทางการพัฒนาทงั้ หมด ๘ กจิ กรรม ๑. บริบทของแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การตอตานการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ไดกำหนด แผนยอ ย ดงั น้ี ๑) การปอ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ (๑) ปลกู และปลุกจติ สำนึกการเปนพลเมอื งทีด่ ี มวี ัฒนธรรม สุจริต และการปลกู ฝงและหลอหลอม วฒั นธรรมในกลมุ เดก็ และเยาวชนทกุ ชวงวยั ทุกระดับ (๒) สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความใสสะอาด ปราศจากพฤตกิ รรมท่ีสอ ไปในทางทุจรติ (๓) พัฒนาคานิยมของนักการเมืองใหมีเจตนารมณที่แนวแนในการทำตนเปนแบบอยางที่ดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ความซือ่ สัตยส จุ รติ เหน็ แกป ระโยชนสว นรวม (๔) ปรบั ระบบเพ่ือลดจำนวนคดที ุจริตและประพฤตมิ ิชอบในหนว ยงานภาครฐั (๕) ปรับระบบงานและโครงสรางองคกรที่เอื้อตอการลดการใชดุลพินิจในการปฏิบัติงานของ เจาหนาท่ี ๒) การปราบปรามการทุจริต (๑) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการดำเนินงานของกระบวนการและกลไกการปราบปรามการทุจรติ (๒) ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทจุ รติ ที่มีความรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ (๓) พัฒนาการจดั การองคความรดู านการปราบปรามการทจุ รติ ๒. แนวโนมสถานการณของประเทศที่สงผลตอการดำเนินงาน และองคประกอบสำคัญตอการบรรลุ เปา หมายในมติ ติ าง ๆ ๑) แผนยอ ยการปอ งกนั การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ - การสรางจิตสำนึกการเปนพลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรม สุจริต และการปลูกฝงและหลอหลอม วัฒนธรรมในกลุมเดก็ และเยาวชนทุกชวงวัยทุกระดับ ๒) แผนยอ ยการปราบปรามการทจุ ริต - การปรบั ปรงุ กระบวนการปราบปรามการทุจริตทม่ี คี วามรวดเรว็ และมปี ระสิทธิภาพ ๓. ประเด็นความทาทายที่สงผลตอการบรรลเุ ปาหมาย ๑. แผนยอยการปองกนั การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ - การปรบั ระบบเพ่ือลดจำนวน คดีทจุ ริตและประพฤติมิชอบในหนวยงานภาครัฐ ๒. แผนยอยการปราบปรามการทุจริต - กระบวนการปราบปรามการทจุ ริตท่ีมีความรวดเร็วและมปี ระสิทธภิ าพ


๓๐๐ ๔. สรุปผลการตดิ ตามความคบื หนา ในภาพรวม และขอเสนอแนะ ผลการดำเนินการมโี อกาสประสบความสำเรจ็ ในระดบั ปานกลาง การวิเคราะหผลการดำเนินโครงการที่เลือกมาติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด จำนวน ๘ โครงการ/ กจิ กรรม ซง่ึ ผลการตดิ ตาม พบวา โครงการอยรู ะหวา งดำเนนิ การตามแผนทกุ โครงการ (รอ ยละ ๑๐๐) การวิเคราะหโครงการที่ดำเนินการสำเร็จแลวตามหลักเกณฑการประเมินโครงการตัวชี้วัดหลัก ๖ มิติ ( ความจำเปนเรงดวน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบูรณาการ ผลกระทบ และความยั่งยืน) พบวา โครงการทง้ั หมดอยูในระดับ ปานกลาง ท้งั ๖ มติ ิ การพิจารณาสถานะโครงการ พบวา ควรดำเนินการตอเนื่องทุกโครงการ รอยละ ๑๐๐ รายละเอียดปรากฏดงั ภาพที่ ๗๘ ภาพที่ ๗๘ แสดงสรุปผลการวเิ คราะหการดำเนินโครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ การตอ ตานการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ ขอ เสนอแนะ คณะคณะอนุกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศดานการปราบปราม การทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสรางธรรมาภิบาล ในคณะกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบเรื่อง การทุจริต ประพฤติมิชอบและเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา ไดดำเนินการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดโครงการ/กิจกรรม ของสำนักงาน ป.ป.ช. ซึ่งหนวยงานดังกลาวไดดำเนินการตามที่ไดรับ จัดสรรงบประมาณตามแผนบูรณาการปองกัน ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบตามยทุ ธศาสตร การปองกันและปราบปรามการทุจริต ของสำนักงาน ป.ป.ช. สรุปไดวาควรเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ดำเนินการใหบรรลตุ ามเปา หมายท่ีกำหนดไวตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเด็นการตอตาน การทุจริตและประพฤติมิชอบที่กำหนดไววาจำนวนคดีทุจริตในภาพรวม และจำนวนคดีทุจริต รายหนวยงานตอ งลดลง ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๕


๓๐๑ ๕. สรปุ ผลการประเมนิ ความสำเรจ็ ตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวม และขอ เสนอแนะ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ศึกษาแนวทางการพัฒนา จำนวน ๘ กิจกรรม มีโอกาสประสบความสำเร็จในระดับปานกลาง โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์การดำเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมาย รอยละ ๕๗.๑๗ โดยองคประกอบที่ ๒ สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมท่ี สอไปในทางทุจริต บรรลุเปาหมาย มากที่สุด รอยละ ๙.๐๐ ในขณะที่การดำเนินการในองคประกอบที่ ๗ ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอยที่สุด รอยละ ๕.๖๗ คณะกรรมาธิการไดกำหนดคาน้ำหนักของแตละแผนยอยและมคี วามสำเร็จตอ การบรรลุเปาหมาย ของแผนยอ ย ดังนี้ ๑) แผนยอยการปองกันการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ (๑) ปลูกและปลุกจิตสำนึกการเปนพลเมืองที่ดีมีวัฒนธรรม สุจริต และการปลูกฝงและหลอ หลอมวัฒนธรรมในกลุม เดก็ และเยาวชนทุกชวงวยั ทุกระดับ น้ำหนักรอยละ ๑๕ บรรลุเปาหมาย รอยละ ๘.๕๐ (๒) สงเสริมการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐใหมีความใสสะอาด ปราศจากพฤตกิ รรมทีส่ อ ไปในทางทุจรติ นำ้ หนักรอ ยละ ๑๕ บรรลุเปาหมาย รอ ยละ ๙.๐๐ (๓) พัฒนาคานิยมของนักการเมืองใหมีเจตนารมณที่แนวแนในการทำตนเปนแบบอยางที่ดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความซือ่ สัตยสุจริต เหน็ แกประโยชนสวนรวม นำ้ หนกั รอ ยละ ๑๕ บรรลุเปาหมาย รอ ยละ ๖.๕๐ (๔) ปรับระบบเพื่อลดจำนวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหนวยงานภาครัฐ น้ำหนัก รอ ยละ ๑๐ บรรลุเปาหมาย รอยละ ๖.๖๗ (๕) ปรับระบบงานและโครงสรางองคกรที่เอื้อตอการลดการใชดุลพินิจในการปฏิบัติงานของ เจา หนา ที่ น้ำหนักรอยละ ๑๐ บรรลุเปาหมาย รอ ยละ ๖.๖๗ ๒) แผนยอ ยการปราบปรามการทุจริต ๑) เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของกระบวนการและกลไกการปราบปรามการทุจริต นำ้ หนกั รอ ยละ ๑๕ บรรลเุ ปา หมาย รอยละ ๗.๕๐ ๒) ปรับปรุงกระบวนการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ น้ำหนัก รอยละ ๑๐ บรรลเุ ปาหมาย รอยละ ๕.๖๗ ๓) พัฒนาการจัดการองคความรูดานการปราบปรามการทุจริต น้ำหนักรอยละ ๑๐ บรรลุ เปา หมาย รอยละ ๖.๖๗


๓๐๒ 100.00 90.00 80.00 70.00 57.17 60.00 50.00 40.00 มติ 6ิ มติ 5ิ 30.00 มติ 4ิ มติ 3ิ 20.00 8.50 9.00 6.50 6.67 6.67 7.50 5.67 6.67 มติ 2ิ 10.00 มติ 1ิ 0.00 ภาพที่ ๗๙ รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การตอ ตา นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ สำนักงาน ป.ป.ช. ไดนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใชในการพัฒนาระบบรับคำรองเรียน กลาวหา ทำใหกระบวนการรับเรื่องรองเรียนในชั้นตรวจรับคำกลาวหาของสำนักงาน ป.ป.ช. เกิดความ รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น สอดคลองกับรัฐธรรมนูญ และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยในชวงที่ผานมา สำนักงาน ป.ป.ช. ดำเนินการเขมขนขึ้นหากเทียบระหวางป พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ พบวา ปริมาณงานประสบความสำเร็จ ในการดำเนินการเกือบรอยละ ๑๐๐ ในขณะเดียวกันคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดออกกฎหมายวาดวย การคุมครองชวยเหลือพยาน พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่อใหการคุมครองผูแจงเบาะแสหรือขอมูลใดเกี่ยวกับ การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมถึง คูสมรส บุพการี ผูสืบสันดานหรือบุคคลอื่นใด ที่มีความสัมพันธใกลชิดกับผูแจงเบาะแส เปนตน เปนผลใหกระบวนการดำเนินคดีทุจริตมีความรวดเร็ว เปน ธรรม และโปรง ใสมากขึน้ ในป พ.ศ. ๒๕๖๔ ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตยสุจริต พิจารณาจากผล การประเมิน ITA ในป พ.ศ. ๒๕๖๔ ภาพรวมของประเทศไทยมีแนวโนมที่ดีขึ้นมีผลการประเมิน โดยเฉลี่ยอยูที่ ๘๑.๓ คะแนน เพิ่มขึ้นจากป พ.ศ. ๒๕๖๓ ทีมี ๖๗.๙ คะแนน ทั้งนี้ มีจำนวนหนวยที่มี การประเมินผานเกณฑ และมีจำนวนหนวยงานที่มีผลการประเมินผานเกณฑ (ระดับ ๘๕ คะแนนขึ้นไป จากคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) จำนวน ๔,๑๔๙ หนวยงานหรือคิดเปนรอยละ ๔๙.๙๕ นอกจากนั้น สำนักงาน ป.ป.ช. ไดรวมกับหนวยงานตาง ๆ ดำเนินโครงการเพื่อปองกันการทุจริตในพื้นที่ อาทิ โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ขับเคลื่อนหลักสูตรตานทุจริตศึกษาและหลักสูตรวัยใส ใจสะอาด ในระดับอุดมศึกษา โครงการธรรมาภิบาล โปรงใส โครงการประเมิน ITA ในหนวยงานตาง ๆ โครงการ พัฒนาแผนที่พื้นที่เสี่ยงตอการทุจริตในประเทศไทย ตลอดจนเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการปองกันและ ปราบปรามการทจุ ริตอยา งตอเน่ือง คดีทุจริตและประพฤติมิชอบลดลง พิจารณาจากในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวนคดีทุจริต ในภาพรวมลดลงกวาเปาหมายที่ตั้งไวมาก โดยลดลงรอยละ ๑๙.๔๔ ซึ่งสูงจากเปาหมายในป พ.ศ. ๒๕๖๔ ทก่ี ำหนดไวร อยละ ๑๐ ดังจะเห็นไดวา สำนักงาน ป.ป.ช. ไดร ว มมือกบั หนว ยงานตา ง ๆ สามารถ


๓๐๓ ดำเนินการตรวจสอบเบื้องตนและไตสวนขอเท็จจริงแลวเสร็จไดแลวเสร็จ ๕,๓๗๖ เรื่อง (จากเปาหมาย ที่กำหนดไวจำนวน ๖,๕๖๕ เรื่อง) และผลจากการที่สำนกั งาน ป.ป.ช. ทำใหจำนวนคดีทุจริตในภาพรวม ลดลงสูงกวา เปาหมายทีต่ งั้ ไวม าก การดำเนินคดีทุจริตมีความรวดเร็ว เปนธรรม โปรงใส ไมเลือกปฏิบัติ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีเรือ่ งกลาวหาทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมตใิ หไ ตสวน ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๗๒๕ เร่ือง และมีเรือ่ งกลาวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติใหไ ตส วนและมกี ารขยายกรอบเวลาดำเนินการเกินกวา กรอบเวลาปกติที่กฎหมายกำหนด (๒ ป) ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๕๓๒ เรื่อง คิดเปน รอยละ ๗๓.๓๗ ของเรื่องกลาวหาที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติใหไตสวน นอกจากนั้นจำนวนคดีอาญา ที่หนวยงานไตสวนคดีทุจริตถูกฟองกลับในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ หนวยงานไตสวนคดีทุจริต ยงั ไมถูกฟอ งกลบั จากคดีทม่ี กี ารสงฟองศาล ๖. ขอเสนอแนะ เรงรัด สำหรับการดำเนินการตามยุทธศาสตรช าตใิ นวงรอบ ๕ ปถ ัดไป การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) และ หลักสูตรตานทุจริตศึกษาจะมีการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และการปฏริ ปู ประเทศดา นการปองกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบในระยะตอไป ๗. ขอ เสนอแนะกระบวนการขับเคล่ือนใหบรรลุเปา หมาย ควรเรงพัฒนาระบบปองการทุจริตเชิงรุก โดยพัฒนากลไกการปองกันการทุจริตและพัฒนา กระบวนการทำงานดานการปองกันการทุจริตใหเทาทันตอสถานการณ โดยเฉพาะการทุจริตใน เชิงนโยบาย เพื่อมุงปองกันการทุจริตตั้งแตกระบวนการกำหนดนโยบาย ตัดสินใจและขั้นการนำ นโยบายไปปฏิบัติ ตลอดจนควรเสริมสรางธรรมาภิบาล กระจายประโยชนสูประชาชนอยางเปนธรรม ไมมีการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนและสวนรวม โดยเสริมสรางความรูความเขาใจในกฎหมาย ที่เกี่ยวของ มีมาตรการเสริมสรางความรู เจตคติ และมีกลไกการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ของรัฐใหดำเนินไปตามกฎหมาย เชน กฎหมายการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชน สวนรวม เพื่อลดการกระทำผิดของเจาหนาที่ ตลอดจนควรนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการรวบรวม และเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับการทุจริต โดยเฉพาะคดีทุจริตที่มีนัยสำคัญ เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน ในสังคม กลุมเปา หมายและผรู ับผดิ ชอบมีความเปนมอื อาชพี มีบรรทัดฐานในการปฏิบัติงานอยางโปรงใส เปนธรรม ไมร ับสินบน นอกจากนี้ ควรตองขยายกลุมเปาหมายในการปองการทุจริตสูเจาหนาที่ผูเกี่ยวของในหนวยงาน ตาง ๆ ที่เขารวมใหมีโครงการ กิจกรรม หรือมาตรการในการยกระดับจิตใจของเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ ใหมากขึ้น และหนวยงานเจาภาพหลักในการดำเนินงานควรใหความสำคัญกับการนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใชในการรวบรวมและเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับการทุจริต โดยเฉพาะคดีทุจริตที่มีนัยสำคัญ เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกันในสังคมพัฒนาการสรางฐานขอมูลบูรณาการคดีเกี่ยวกับการทุจริตและการ ติดตามผลของคดีดังกลาวอยางตอเนื่อง และสนับสนุนโครงการพัฒนาเครือขายความรวมมือระหวาง ประเทศ ตามที่กำหนดไวในอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการทจุ ริต ค.ศ. ๒๐๐๓ (UNCAC ๒๐๐๓) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานใหเปนไปอยางรวดเร็วและถูกตองทำใหสามารถบรรลุ เปา หมายตามทกี่ ำหนดไวใ นแผนแมบ ทฯ เปน ไปไดมากข้นึ


๓๐๔ QR Code ผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรดั แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ การตอ ตา นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ


๓๐๕ ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม มีแผนยอย จำนวน ๒ แผนยอย มีกิจกรรม Big Rock จำนวน ๑๐ กิจกรรม ติดตามทั้ง ๑๐ กิจกรรม และ ๓ โครงการตามแผนการปฏริ ปู ประเทศฉบับเดิม ๑. บรบิ ทของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม แผนการปฏิรูปประเทศดานกระบวนการยุติธรรม มีเปาหมายอันพึงประสงค คือ การอำนวย ความยุติธรรมในแตละขั้นตอนเปนไปอยางโปรงใส แลวเสร็จตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด และเขาถึงงาย โดยเสมอภาค และการบังคับการตามกฎหมายเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ และพัฒนาระบบการบริหารงาน ยุติธรรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ไมเลือกปฏิบัติและเปนธรรม โดยมีเปาหมายที่ตองบรรลุในป พ.ศ. ๒๕๖๕ คือ ๑) รอยละ ๑๐๐ ของจำนวนกระบวนการในการอำนวยความยุติธรรมที่มีการกำหนดระยะเวลา การดำเนนิ งานในแตละขน้ั ตอนและการตรวจสอบความคืบหนา ๒) ไมต่ำกวารอยละ ๘๐ ของหนวยงานที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรมที่มีการกำหนด มาตรการคุมครองสิทธิผูเสียหาย พยาน ผูตองหา/ จำเลยใหเขาถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได โดยงา ยและเสมอภาค ๓) รอยละ ๑๐๐ ของคูความและผูที่เกี่ยวของในคดีที่ขาดแคลนทุนทรัพยและดอยโอกาสที่ไดรับ ความคุมครอง สิทธิและเขาถึงกระบวนการยตุ ิธรรม ๔) ไมต่ำกวารอยละ ๗๕ ของจำนวนขั้นตอนในการอำนวยความยุติธรรมที่ใชนวัตกรรมและ เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ ความโปรง ใส ความสะดวก และรวดเร็ว ๕) รอ ยละ ๑๐๐ ของมาตรการเพื่อคุมครองหรอื อำนวยความสะดวก ใหแกเ ดก็ สตรี ผสู งู อายุ คน พิการหรือผูดอยโอกาสในกระบวนการยตุ ธิ รรม ๒. แนวโนมสถานการณของประเทศ ทีส่ ง ผลตอ การดำเนินงาน และองคประกอบสำคัญตอ การบรรลุ เปาหมายในมติ ิตา ง ๆ แผนการปฏิรูปประเทศดานกระบวนการยุติธรรมมีจุดเนนใหมีกระบวนการยุติธรรมที่เคารพ ตอสิทธิมนุษยชน มีธรรมาภิบาล และมีประสิทธิภาพเทียบเทาระดับสากล ประชาชนสามารถเขาถึง กระบวนการยุติธรรมไดโดยสะดวกและเสมอภาค เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมมีความกลาหาญ ทางจริยธรรม ไมเลือกปฏิบัติและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมมีการทำงานรวมกันอยางบูรณาการ โดยมีปจจัยสำคัญที่สงผลตอการบรรลุเปาหมาย ไดแก การเคารพสิทธิและเสรีภาพของผูที่มีสวน เกี่ยวของในการเสริมสรางจิตสำนึกและการปลูกฝงทัศนคติที่ดีเพื่อใหสังคมสงบสุข การเขาถึง กระบวนการยุติธรรมที่ทุกภาคสวนสามารถเขามามีสวนรวม ตลอดจนการบูรณาการการดำเนินงาน ระหวางหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบ ทั้งนี้ ในระยะที่ผานมายังคงมีความทาทายในการ บูรณาการขอมูลสารสนเทศระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนหนวยงาน


๓๐๖ ที่เกี่ยวของ ในกระบวนการยุติธรรมหลายหนวยงานยังคงมีวัฒนธรรมองคกรที่แตกตางกันในการ ดำเนินงาน รวมถึงมกี ฎหมาย จริยธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพที่แตกตางกนั ระหวา งหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง ๓. ประเดน็ ความทาทายทส่ี งผลตอการบรรลเุ ปาหมาย แผนการปฏิรูปประเทศกระบวนการยุตธิ รรม มีเรื่องที่สำคัญ คือ การใหประชาชนสามารถตดิ ตาม ความคบื หนาขน้ั ตอนการดำเนนิ งานตา ง ๆ ในกระบวนการยุตธิ รรม โดยการกำหนดใหม รี า งพระราชบัญญตั ิ กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... และภายหลังจากที่กฎหมายดังกลาว มีผลบังคับใช หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมจะตองประกาศใหประชาชนทราบภายใน ๙๐ วัน ซึ่งหนวยงานควรมีการเตรียมการลวงหนาและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับ การดำเนินงาน สำหรับการดำเนินโครงการรับแจงความรองทุกขทุกทองที่ ถึงแมสำนักงานตำรวจ แหงชาติจะมีคำสงั่ หรือออกระเบยี บ รวมทัง้ จัดทำระบบตาง ๆ เพอื่ รองรบั การดำเนินงานในเรื่องดังกลาว มากพอสมควรแลว แตจากขอเท็จจริงที่ไดรับทราบจากการประชุมรวมกับผูวาราชการจังหวัด รวมท้ัง การเดินทางไปดูงานที่จังหวัดตาง ๆ ในชวงที่ผานมา พบวา การใหบริการในเรื่องดังกลาวยังมีจำนวน นอย ดังนั้นสำนักงานตำรวจแหงชาติควรประชาสัมพันธโครงการดังกลาวใหประชาชนทราบอยางทั่วถึง และกวางขวางมากขึ้น รวมทั้งควรมีการซักซอมความเขาใจใหกับเจาหนาที่ระดับปฏิบัติใหสามารถ บริการประชาชนผูมาใชบริการไดอยางมีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ และควรมีการจัดเก็บสถิติการใช บริการ การประเมินความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ เพื่อนำมาใชในการติดตามประเมินผล และประเมินประสิทธิภาพเพื่อพัฒนาการดำเนนิ การในระยะตอ ไป สวนโครงการทนายความอาสาประจำ สถานีตำรวจที่ดำเนินการโดยสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ สภาทนายความฯ ควรเตรียมการ จัดหาทนายความท่มี ีความพรอมในการใหบริการตามงบประมาณท่ไี ดรับจัดสรรเพิม่ เติมในป พ.ศ.๒๕๖๕ สวนที่ไมไ ดร ับงบประมาณสนับสนนุ ควรจัดหาชอ งทางอ่ืน ๆ เชน การใหบ ริการปรึกษาคดีกับทนายความ อาสาที่มีอยูแลวผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทางเครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ เพื่อใหประชาชนใน ทองที่ที่ไมมีทนายความอาสาประจำสามารถใชบริการจากทนายความอาสาที่มีอยูแลวไดอยางเต็ม ประสิทธภิ าพ ๔. สรปุ ผลการติดตามความคบื หนา ในภาพรวม และขอเสนอแนะ การวิเคราะหผลการดำเนินโครงการที่เลือกมาติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด จำนวน ๑๓ โครงการ/กิจกรรม ซึ่งผลการติดตาม พบวา อยูในระหวางดำเนินโครงการตามแผน จำนวน ๖ โครงการ (รอยละ ๔๖.๒) และดำเนินการลาชากวาแผน จำนวน ๗ โครงการ (รอยละ ๕๓.๘) เนื่องจากการ ดำเนินการ การวิเคราะหโครงการที่ดำเนินการสำเร็จแลวตามหลักเกณฑการประเมินโครงการตัวชี้วัดหลัก ๖ มิติ พบวา มิติดานความจำเปนเรง ดวน อยูในระดับ มาก และ ระดับนอย รอยละ ๓๘.๕ เทากัน มิติดาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบ สวนใหญ อยูในระดับ ปานกลาง สวนมิติดานการบูรณาการ และความย่ังยืน สว นใหญ อยูในระดับมาก การพิจารณาสถานะโครงการ/กิจกรรม พบวา ควรดำเนินการตอเนื่องทุกโครงการ รอยละ ๑๐๐ รายละเอยี ดปรากฏดงั ภาพท่ี ๘๐


๓๐๗ ภาพที่ ๘๐ แสดงสรุปผลการวเิ คราะหการดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ขอ เสนอแนะ ๑) ในการติดตามเรงรัดการดำเนินงานกิจกรรมปฏิรูปประเทศ/โครงการเห็นควรใหคณะกรรมาธิการ ใชแผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปที่จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอประชาชนอยางมีนัยสำคัญ (Big Rock) เปนกรอบในการติดตามเรง รดั ๒) การขับเคลื่อนรางพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... ตามกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่ ๑ ใหมีผลบังคับใชโดยเร็ว คณะกรรมาธิการเห็นวาแมกระบวนการ ยุติธรรมของประเทศไทยจะผานการปฏิรูปดานโครงสรางกระบวนการทำงานและการคุมครองสิทธิ เสรีภาพของประชาชนมาแลวหลายครั้ง แตก็ยังไมประสบความสำเร็จตามเปาหมายการปฏิรูปตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และยังคงปรากฏขอวิพากษวิจารณการดำเนินงานในกระบวนการ ยุติธรรมทั้งในแงของความลาชาในการดำเนินงาน อุปสรรคในการเขาถึง ความเหลื่อมล้ำในการบังคับ ใชกฎหมาย และความถูกตองของการดำเนินงานอยูเปนระยะ ซึ่งนำไปสูความไมเชื่อมั่นของประชาชน ตอกระบวนการยุติธรรมของประเทศ คณะกรรมาธิการจึงเห็นควรเรงรัดใหมีการพิจารณา รางพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... ใหมีผลใชบังคับ ใหไดโดยเร็ว เนื่องจากปจจุบันเกินกรอบระยะเวลาที่กำหนดภายในเดือนธันวาคม ๒๕๖๔ ซึ่งหาก รางพระราชบัญญัติดังกลาวดำเนินการแลวเสร็จจะชวยสงเสริมใหประชาชนหรือผูที่เกี่ยวของสามารถ ตรวจสอบหรือติดตามความคืบหนาในการดำเนินงานของหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม ไดโดยสะดวก รวดเร็ว นอกจากนี้ยังเห็นควรเพิ่มความสำคัญในการแกไขปญหาคดีคางมากคางนาน ในกระบวนการยุติธรรม ควบคูกันไปกับการเรงรัดใหหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมปรับปรุงพัฒนา และเชื่อมโยงระบบตรวจสอบและแจงความคืบหนาใหประชาชนทราบใหแลวเสร็จและเริ่มใชงานจริงได ต้งั แตต นป พ.ศ. ๒๕๖๕ เปน ตนไป


๓๐๘ ๓) การดำเนินกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่ ๕ โครงการบันทึกภาพและเสียงในการตรวจคน จับกุม และการสอบปากคำในการสอบสวน เปนกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะชวยในการพิสูจนขอเท็จจริงแหง คดีอยางเปนธรรมกับทุกฝาย แตเนื่องจากยังมีปญหาในการนำไปปฏิบัติทั้งในสำนักงานตำรวจแหงชาติ และพนักงานเจาหนาที่ที่มีอำนาจในการตรวจคน จับกุม และการสอบปากคำในการสอบสวนที่มี หลายหนวยงานดวย ดังนั้น คณะกรรมาธิการจึงมีขอเสนอแนะวา คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ควรเรงรัดใหสำนักงานตำรวจแหงชาติปฏิบัติใหไดจริง รวมทั้งควรมีการแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญาซึ่งเปนกฎหมายกลาง เพื่อใหนำหลักการบันทึกภาพและเสียงในการตรวจคน จับกุม และการสอบปากคำในการสอบสวนไปใชใหครอบคลุมการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวของพนักงาน เจา หนาทหี่ นวยงานอ่นื ๆ นอกเหนือจากเจาหนาท่ีตำรวจดว ย ๕. สรปุ ผลการประเมินความสำเรจ็ ตอ การบรรลุเปา หมายในภาพรวม และขอ เสนอแนะ การดำเนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น กฎหมายและกระบวนการ ยุติธรรม มีคาความสำเร็จรอยละ ๗๐.๔๙ ซึ่งมีความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายอยูในระดับปานกลาง โดยแบงคะแนนตามองคประกอบ ดงั นี้ แผนยอ ยการพฒั นากฎหมาย องคประกอบที่ ๑ กฎหมายไมเปนอุปสรรคตอการพัฒนาภาครัฐและภาคเอกชนอยูภายใตกรอบ กฎหมายที่มุงใหประชาชนในวงกวางไดรับประโยชนจากการพัฒนาประเทศโดยทั่วถึง น้ำหนักรอยละ ๒๐ มีคาความสำเร็จรอยละ ๑๕.๖๐ ซึ่งผลการดำเนินการมีความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายอยูใน ระดบั นอ ย องคประกอบที่ ๒ การปฏิบัติตามและการบังคับใชกฎหมายมีความคุมคาทางเศรษฐกิจ ทั่วถึง ไมเลือกปฏิบัติและเปนธรรม น้ำหนักรอยละ ๒๐ มีคาความสำเร็จรอยละ ๙.๓๓ ซึ่งผลการดำเนินการ มคี วามสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายอยูในระดับนอย องคประกอบที่ ๓ ประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนากฎหมาย น้ำหนักรอยละ ๑๐ มีคาความสำเร็จ รอ ยละ ๘.๓๓ ซ่งึ ผลการดำเนนิ การมีความสำเร็จตอ การบรรลุเปา หมายอยูใ นระดบั นอย แผนยอ ยการพัฒนากระบวนการยุติธรรม องคประกอบที่ ๔ การอำนวยความยุติธรรมมีความโปรงใส สะดวก รวดเร็ว เสมอภาค ทั่วถึง เปนธรรม และปราศจากการเลือกปฏิบัติ น้ำหนักรอยละ ๕๐ มีคาความสำเร็จรอยละ ๓๗.๒๒ ซึ่งผลการดำเนินการมีความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายอยูในระดับปานกลาง รายละเอียดปรากฏ ดงั ภาพที่ ๘๑


๓๐๙ ภาพท่ี ๘๑ รอยละความสำเร็จตอ การบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๖. ขอ เสนอแนะ เรงรัด สำหรบั การดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรชาติในวงรอบ ๕ ปถัดไป การดำเนนิ การโครงการตามประเด็นปฏิรูปท่ี ๘ การปฏริ ปู ระบบนติ วิ ิทยาศาสตรเพื่อความถูกตอง สมบูรณของขอเท็จจริงแหงคดี คณะกรรมาธิการมีความเห็นวาโครงการรางพระราชบัญญัติระบบ นิติวิทยาศาสตรแหงชาติ พ.ศ. .... มีความสำคัญตอการพิสูจนขอเท็จจริงแหงคดีและตรวจสอบการทำ หนาที่ของเจาพนักงานในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งเปนเรื่องที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๕๘ ง. ดานกระบวนการยุติธรรม แตคณะกรรมการปฏิรูปประเทศไมไดกำหนดไวในแผน การปฏิรูปประเทศดานกระบวนการยุติธรรม (ฉบับปรับปรุง) ดังนั้น จึงมีขอเสนอแนะวา ควรบรรจุ โครงการดังกลาวไวในแผนปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) รวมทั้งจัดทำแผนขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูป เพื่อใชเปนกรอบในการดำเนินงานของหนวยงานที่เกี่ยวของและเปนกรอบในการติดตามเรงรัดใหกับ คณะกรรมาธกิ ารดว ย ๗. ขอเสนอแนะกระบวนการขบั เคลื่อนใหบ รรลเุ ปาหมาย ซึ่งหนวยงานผูรับผิดชอบกิจกรรมปฏิรูปประเทศหรือโครงการควรมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ กิจกรรมปฏิรูปประเทศหรือโครงการวาสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอประชาชนอยางมีนัยสำคัญ หรอื ไม อยา งไร และการดำเนนิ การดังกลาวจะสามารถดำเนนิ การใหบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศไดหรือไม อยางไร หากไมสามารถบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติและ แผนการปฏิรูปประเทศไดควรปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินการเพื่อใหเกิดประโยชนกับประชาชนมากที่สุด และเพื่อใหการดำเนินกิจกรรมปฏิรูปประเทศทั้ง ๕ กิจกรรมปฏิรูป และ ๑ โครงการ บรรลุเปาหมาย และตัวชี้วัดที่กำหนดไวในแผนการปฏิรูปประเทศ อยางไรก็ดี แผนการปฏิรูปประเทศกระบวนการ ยุติธรรม มีเรื่องที่สำคัญ คือ การใหประชาชนสามารถติดตามความคืบหนา ขั้นตอนการดำเนินงานตาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรม โดยการกำหนดใหมีรางพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงาน ในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... และภายหลังจากที่รางพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงาน


๓๑๐ ในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... มีผลบังคับใช หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมจะตองประกาศ ใหประชาชนทราบภายใน ๙๐ วัน ซึ่งหนวยงานควรมีการเตรียมการลวงหนา และพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการดำเนินการดังกลาว สำหรับการดำเนินโครงการรับแจงความ รองทุกขทุกทองที่ ถึงแมสำนักงานตำรวจแหงชาติจะมีคำสั่ง หรือออกระเบียบ รวมจัดทำระบบตาง ๆ เพื่อรองรับการดำเนินงานในเรื่องดังกลาวมากพอสมควรแลว แตจากขอเท็จจริงที่ไดรับทราบจาก การประชมุ รวมกบั ผวู าราชการจังหวัดตาง ๆ รวมท้ังการเดนิ ทางไปดูงานท่ีจังหวัดตาง ๆ ในชวงที่ผานมา พบวาการใหบริการในเรื่องดังกลาวยังมีจำนวนนอย จึงเห็นวาทางสำนักงานตำรวจแหงชาติ ควรประชาสัมพันธโครงการดังกลาวใหประชาชนทราบอยางทั่วถึงและกวางขวางมากขึ้น รวมทั้งควรมี การซักซอมความเขาใจใหกับเจาหนาที่ระดับปฏิบัติใหสามารถบริการประชาชนผูมาใชบริการไดอยาง มีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ และควรมีการจัดเก็บสถิติการใชบริการ การประเมินความพึงพอใจ ของประชาชนผูรับบริการ เพื่อนำมาใชในการติดตามประเมินผลและประเมินประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาการดำเนินการในระยะตอไป สวนโครงการทนายความอาสาประจำสถานีตำรวจที่ดำเนินการ โดยสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภนั้น ทางสภาทนายความฯ ควรเตรียมการจัดหาทนายความ ที่มีความพรอมในการใหบริการตามงบประมาณที่ไดรับจัดสรรเพิ่มเติมในป พ.ศ.๒๕๖๕ สวนที่ไมไดรับ งบประมาณสนับสนุนควรจัดหาชองทางอื่น ๆ เชน การใหบริการปรึกษาคดีกับทนายความอาสาที่มี อยูแลวผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทางเครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ เพื่อใหประชาชนในทองที่ที่ไมมี ทนายความอาสาประจำสามารถใชบรกิ ารจากทนายความอาสาทม่ี อี ยแู ลว ไดอยางเตม็ ประสิทธิภาพ


๓๑๑ QR Code ผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด แผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม


๓๑๒


๓๑๓ ประเด็น การวิจยั และพฒั นานวตั กรรม แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีแผนยอย จำนวน ๕ แผนยอย มีการติดตามแนวทางการพัฒนา ติดตามโครงการ/กิจกรรม จำนวน ๓ โครงการ/กิจกรรม จากจำนวนโครงการ/กิจกรรมท้ังหมด ๑๘๐ โครงการ/กจิ กรรม ๑. บรบิ ทของแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรช าติ การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น (๒๓) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม มีวัตถุประสงค เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีและดานโครงสราง พื้นฐานทางวิทยาศาสตรของประเทศ รวมทั้งเพิ่มมลู คา การลงทุนวิจัยและพัฒนานวัตกรรมตอผลติ ภัณฑ มวลรวมในประเทศ เพื่อใหการดำเนินการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสามารถตอบโจทยความตองการ ในการแกปญหาทาทายเรงดวนของประเทศ ยกระดับภาคการผลิตและบริการ ตลอดจนประสิทธิภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ รวมทั้ง สามารถรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ ประเทศไดอยางยั่งยืน โดยมี ๒ เปาหมายระดับประเด็น ไดแก (๑) ความสามารถในการแขงขัน ดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยีและดานโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของประเทศเพิ่มสูงข้ึน และ (๒) มูลคาการลงทุนวิจัยและพัฒนานวัตกรรมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น ซึ่งมี ความเก่ียวขอ งโดยตรงกบั การบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรช าติดานการสรางความสามารถในการแขง ขนั ๒. แนวโนมและสถานการณของประเทศที่สงผลตอการดำเนินงาน และองคประกอบสำคัญตอการบรรลุ เปา หมายในมิตติ าง ๆ การลงทุนวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนเปนปจจัยสำคัญในการสรางความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ ทำใหเกิดนวัตกรรมและสรางโอกาสทางธุรกิจอยางกวางขวาง นำไปสูการผลักดนั ใหเศรษฐกจิ ของประเทศไทยเติบโตและหลุดพนจากกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลาง โดยมีปจจัยขับเคลื่อน ที่สำคัญที่จะชวยใหบรรลุเปาหมายตามหวงโซคุณคาของประเทศไทย ไดแก การพัฒนาธุรกิจโดยการ อำนวยความสะดวกในการเขาถึงตลาดทั้งในและตางประเทศ บมเพาะผูประกอบการและสงเสริม ใหมีการเชื่อมโยงธุรกิจผูประกอบการกับนักลงทุน การสรางแรงจูงใจในการใชประโยชนงานวิจัย มาตรการทางการเงินและการคลังเพื่อสงเสริมการสรางนวัตกรรมและดึงดูดบุคลากรวิจัยคุณภาพสูง รวมทั้งมีกลไกการใชประโยชนผลงานวิจัย โดยการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาเพื่อการใช ประโยชนในเชิงพาณิชย สรางกลไกการทำงานวิจัยรวมกันระหวางสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัย และ ภาคเอกชน และการบริหารจัดการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทยเปาหมายการพัฒนาประเทศ โดยประเด็นทาทายที่สงผลตอการบรรลุเปาหมายป พ.ศ. ๒๕๖๔ คือ การเพิ่มสัดสวนการลงทนุ วิจยั และ พัฒนาในภาคบริการและภาคคาปลีก/คาสง เนื่องจากการลงทุนวิจัยและพัฒนารายอุตสาหกรรมกระจุก ตัวอยูในภาคการผลิตและอุตสาหกรรมขนาดใหญ ขณะที่นวัตกรรมดานการคาปลีก/คาสงมีการพัฒนา อยา งกาวกระโดด โดยเฉพาะนวตั กรรมจากตางประเทศ


๓๑๔ ๓. ประเด็นความทาทายท่สี งผลตอ การบรรลุเปาหมาย การขับเคลื่อนการดำเนินการเพื่อสงเสริมใหประเทศไทยมีสัดสวนการลงทุนและพัฒนาของ ภาคเอกชนตอภาครัฐเพิ่มขึ้นอยางมั่นคงนั้น หนวยงานที่เกี่ยวของยังคงมีความทาทายในการขับเคลื่อน โครงการทามกลางสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด ๑๙ เนื่องจากขอจำกัดดานงบประมาณ ภาครัฐ ตลอดจนสภาพคลองทางเศรษฐกิจของภาคเอกชนไมเอื้อใหมีการลงทุนในการนำผลงานวิจัย ไปใชประโยชนเชิงพาณิชยมากนัก ขณะที่การพัฒนาระบบวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) และ ระบบบริหารจัดการงานวจิ ัยและนวตั กรรมยังคงขาดแหลง ขอ มูลปฐมภมู ิ (Primary Source) ผูเชย่ี วชาญ และความรวมมือระหวางหนวยงาน รวมทั้งยังขาดแรงจูงใจที่มากพอสำหรับกระตุนใหภาคเอกชนลงทุน การวิจัยและนวัตกรรมเชิงพาณิชย นอกจากนี้ ขอจำกัดดานการจัดการทางทรัพยสินทางปญญาและ การอางสิทธิในเทคโนโลยีที่คิดคนใหม ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลมาจากกระบวนการของรัฐที่มีความลาชา ทำใหภาคเอกชนชะลอการลงทนุ ในการวิจัยและพฒั นานวัตกรรมเชงิ พาณชิ ย ๔. สรุปผลการตดิ ตามความคบื หนาในภาพรวม และขอ เสนอแนะ ภาพรวมของการขับเคลื่อนเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็น (๒๓) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม พบวาปจจุบันอยูระหวางหนวยงานเจาภาพและหนวยงาน ที่เกี่ยวของดำเนินการขับเคลื่อนตามแผน ทั้งนี้ ในระยะสั้นอาจไมสงผลลัพธอยางชัดเจน คณะกรรมาธิการ จะไดด ำเนนิ การตดิ ตามผลการดำเนินงานอยา งตอเน่ืองทกุ ไตรมาส โดยจะตดิ ตามขอ มูลทง้ั จากส่ือที่ปรากฏ เอกสาร การเชิญผแู ทนหนว ยงานมาใหข อมลู ตอไป แผนยอ ยดา นปจจัยสนบั สนนุ ในการวิจยั และพฒั นานวัตกรรม ๑) โครงการพัฒนากำลังคนดานวิศวกรรมศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม สนับสนุนการลงทนุ และเพิ่มขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรมในประเทศและภูมิภาค อยูระหวางการดำเนินการในสวน ที่เกี่ยวของ กลาวคือ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลา ธนบรุ ี (มจธ.) ไดรวมกนั จัดทำบันทกึ ขอ ตกลงความรวมมอื การดำเนินงานโครงการจดั ต้งั สถาบันไทย โคเซ็น โดยกำหนดแนวทางขับเคลื่อนงานใน ๓ มิติ ไดแก (๑) มิติดานการสรางคนเพื่อพัฒนาไปเปน วิศวกรนักปฏิบัติ นักเทคโนโลยี และนวัตกรที่ตอบโจทยประเทศ และการสรางความรวมมือกับ ภาคอุตสาหกรรม (๒) มิติดานการพัฒนา โดยการพัฒนาหลักสูตรไทยโคเซ็นใน ๖ หลักสูตร และ การพฒั นาคน (๓) มิตดิ า นการสนับสนุน ในดา นวชิ าการผานงานวิจัยและเผยแพรเทคโนโลยีและนวัตกรรม ๒) โครงการทนุ โครงการวจิ ยั ไทย – วจิ ยั โลกเพอื่ การพฒั นาทยี่ ั่งยนื ๒.๑) กลมุ อนาคตศึกษา ประกอบดว ย ๖ โครงการยอย โครงการยอยท่ี ๑: ภาพรวมชีวิตเมอื งหลกั ในภูมิภาค โครงการยอ ยท่ี ๒: การอยอู าศัยในเมืองหลกั ภมู ภิ าค โครงการยอยท่ี ๓: การทำงานในเมอื งหลักภูมิภาค โครงการยอยที่ ๔: การเดินทางในเมืองหลกั ภูมิภาค โครงการยอยท่ี ๕: การซือ้ ของในเมอื งหลักภมู ภิ าค


๓๑๕ โครงการยอยท่ี ๖: การตายในเมอื ง เนนการวิเคราะหห าหลักฐานเชิงประจักษเก่ียวกับ การตายในพ้ืนที่มหานครกรงุ เทพเปนหลัก ๒.๒) กลุมนโยบายสาธารณะและกฎหมาย โครงการโมเดลทางเลือกในการพัฒนาคนไทย ๔.๐ บนพื้นที่สูงในภาคเหนือตอนบน ไปสูการรวมกลุมเกษตรกร เปนสหกรณหรือวิสาหกิจชุมชน เพื่อริเริ่มการเลี้ยงปศุสัตว และประมง เชน แพะ ไกพื้นเมือง และประมง โดยทีมนักวิจัยจะพัฒนาหวงโซอุปทานอยางครบวงจร และนำไปเชื่อมตอ กับตลาด ๒.๓) กลุมความเชื่อและคุณธรรม จะมีการพัฒนาตัวชี้วัดคุณธรรมสำหรับองคกรกับ ศูนยคุณธรรม การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรูในเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับการศึกษาในระดับ ปริญญาตรีในสังคมไทย รวมทั้งการพัฒนาสื่อเพื่อปลูกฝงพฤติกรรมจริยธรรมในรูปแบบตาง ๆ ท้ังออนไลนแ ละผานโครงงานวิจัยการศกึ ษาเรอ่ื งวัดกับพุทธพาณิชย ๒.๔) กลมุ การศึกษา - โครงการใหมสำหรับยุวชนชนเผาในภาคเหนือ เพื่อสนับสนุนนักเรียนดอยโอกาส ในโรงเรียนอำเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม ใหสามารถแสดงศักยภาพจากอัตลักษณชนเผา โดยการ ชี้แนะของนักวิจัยจากสถาบัน Smithsonian Institute ณ Washington DC. ซึ่งจะไดผลผลิตเปนการ นำอัตลักษณชนเผามาแสดงที่หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม ซึ่งเปนโครงการที่สถานทูตสหรัฐฯ ในประเทศไทยใหความรว มมือดา นงบประมาณ - เพิ่มแนวคิด “Digital DIY” กลาวคือ จะมีการวิจัยและสรางทักษะใหผูประกอบการ สามารถขายสินคาไปยังประเทศจีนผานโซเชียลเน็ตเวิรคของตัวเองได เชน ผานแอปพลิเคชัน WeChat อีกทั้งในชุดโครงการนี้ยังมีโครงการที่นำขอมูลโตตอบออนไลนมาวิเคราะหตลาดในอุตสาหกรรม เครอ่ื งสำอาง และเวชกรรมใหผ ปู ระกอบการ รวมท้ังมีโครงการตนแบบรานคา อจั ฉริยะ ๒.๕) กลุมนวัตกรรมทางสังคม จะเนนการสรางจิตสาธารณะผานแพลตฟอรม “เชียงใหม... ฉันจะดูแลเธอ” เปนโครงการที่เสริมพลัง (Empower) ชุมชนใหเกิดจิตสาธารณะขึ้นมาเปนผูกระทำการ ตามขอแนะนำของ ศ. นพ.วิจารณ พาณิช กรรมการอำนวยการแผนงานคนไทย ๔.๐ และในขณะเดียวกัน กจ็ ะมีงานวจิ ยั เก่ียวกับจิตสาธารณะและประชาคมในเชยี งใหมควบคูกนั ไปดว ย ๒.๖) กลุม Big data และดัชนีสังคมไทย มีการประยุกตใชเครื่องมือ Big data ในการศึกษา ปญหาหนี้สินครัวเรือน และหากไดรับความรวมมือจากมหาวิทยาลัย อาจมีการศึกษาเสนทางพัฒนา นักวิจัยจากฐานขอมูล MIS ของบุคลากรมหาวิทยาลัย ฐานขอมูล NRIIS ของ วช. และฐานขอมูล TCI เพื่อตอบโจทยก ารพฒั นาทกั ษะของนกั วจิ ัยได ๒.๗) กลุมสองโลกปริทัศน โดยจัดทำโครงการมหาวิทยาลัยกับเกษตร ๔.๐ ซึ่งจะเนน การขับเคลื่อนระหวางมหาวิทยาลัย เพื่อรวมสรางหลักสูตรเกษตรกรดิจิทัล ๔.๐ ใหม โดยเนนประเด็น ทางวชิ าการเปนหลัก โดยมีขอเสนอแนะ เรง รัด ดงั น้ี ๑. การวิจัยของประเทศควรกำหนดใหครบถวนใน ๓ มิติ กลาวคือ การวิจัยและพัฒนา (R&D) การสรางนวัตกรรม (Innovation) การถายทอดเทคโนโลยี (Technology Transfer) เพื่อใหสามารถ


๓๑๖ ขับเคลื่อนงานวิจัยของประเทศไดครบถวนในทุกมิติ ทั้งนี้ ควรคำนึงถึงความสมดุลระหวางการวิจัย พ้นื ฐานกบั การวจิ ัยประยกุ ตด วย ๒. ควรสรางระบบนิเวศของงานวิจัยใหครบถวนในทุกมิติดวย กลาวคือ การวิจัยการสราง นวัตกรรม และการประเมินความคมุ คา ท่ีเกิดขึ้น ดังนี้ - ควรตั้งโจทยวิจัยเพื่อกำหนดนโยบายสาธารณะ โดยการทำวิจัยปญหาที่เกี่ยวของกับ ประชาชน เชน เรอ่ื งการกำหนดวธิ ีการเลือกตัง้ การกำหนดโทษทางอาญาแกก ารฟองเทจ็ คดปี กครอง - สถาบันอุดมศึกษาควรจัดตั้ง Shop front เพื่อรับโจทยวิจัยจากภาคเอกชน ประชาชน ทองถิ่น ชุมชน สังคม แลวสงตอโจทยวิจัยดังกลาวใหแกคณะสาขาวิชาที่เกี่ยวของ เพื่อดำเนินการวิจัย ตอไป - ควรเรงระบบประเมินผลงานวิจัยในมิติตาง ๆ ทุกดาน เพื่อใหทราบไดวาผลงานวิจัยที่มี อยูนั้นสงผลสัมฤทธิ์และผลกระทบตอชุมชน สังคมในแตละมิติอยางไรบาง การวิจัยและพัฒนา ควรมีความสอดคลองกับคุณภาพชีวิต วิถีชีวิต และศักยภาพทรัพยากรมนุษยของบุคคลในแตละพื้นที่ รวมทั้งควรมีการพัฒนาระบบฐานขอมูลทางสังคมที่เชือ่ มโยงในทุกระดับพืน้ ที่ เพื่อใหมีกระบวนการและ รปู แบบการแกไ ขปญหาและการสงเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ทม่ี คี วามเหมาะสมกับพนื้ ทน่ี น้ั ๆ โดยมีโครงการที่อยูระหวางดำเนินการ จำนวน ๓ โครงการ โดยมีการวิเคราะหโครงการ ที่ดำเนินการสำเร็จแลวตามหลักเกณฑการประเมินโครงการตัวชี้วัดหลัก ๖ มิติ คือ ๑) ความสอดคลอง และการบรรลุวัตถุประสงค (ความจำเปนเรงดวน) ๒) ประสิทธิภาพ ๓) ประสิทธิผล ๔) การบูรณาการ ๕) ผลกระทบ และ ๖) ความยั่งยนื พบวา อยูในระดับมากทุกมิติ รายละเอียดปรากฏดังภาพที่ ๘๒ ภาพที่ ๘๒ แสดงสรุปผลการวเิ คราะหก ารดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมของแผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ ประเด็น การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม


๓๑๗ ๕. สรปุ ผลการประเมินความสำเร็จตอการบรรลุเปาหมายในภาพรวม และขอ เสนอแนะ ภาพรวมของการขับเคลื่อนเพื่อใหบรรลุเปาหมาย พบวาปจจุบันอยูระหวางหนวยงานเจาภาพ และหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการขับเคลื่อนตามแผน ทั้งนี้ โครงการที่ดำเนินการอยูสวนใหญเปน โครงการที่เห็นผลสัมฤทธิ์ในระยะยาว เชน โครงการพัฒนากำลังคนดานวิศวกรรมศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม สนับสนุนการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรมในประเทศและภูมิภาค (โครงการจัดตั้งสถาบันไทยโคเซ็น) (วงเงินงบประมาณ ๘๑,๕๐๐,๒๐๐ บาท) เปนตน แตอยางไรก็ตาม ผลการขับเคลื่อนตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๒๓ ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม สวนใหญเปนไปตามเปาหมายที่กำหนดไว ซึ่งโครงการที่กลาวมาขางตนมีผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน สงผลกระทบตอเปาหมาย (Impact) และผลการดำเนินงานสงผลที่ดีอยางยั่งยืนในระยะยาว (Sustainability) ในระดบั สูง จึงควรตดิ ตามผลการดำเนินโครงการตอไป โดยภาพรวมผลสัมฤทธิ์ดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมาย รอยละ ๘๙.๒๐ โดยมีการกำหนด น้ำหนกั ของแตล ะองคประกอบ ดังน้ี ๑) การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม ดา นเศรษฐกจิ รอ ยละ ๒๐ บรรลุเปาหมายรอ ยละ ๑๘.๐๐ ๒) การวิจยั และพัฒนานวตั กรรม ดานสังคม รอ ยละ ๒๐ บรรลุเปา หมาย รอยละ ๑๗.๒๐ ๓) การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม ดา นสิง่ แวดลอม รอยละ ๒๐ บรรลุเปาหมายรอยละ ๑๘ ๔) การวิจยั และพฒั นานวตั กรรม ดานองคความรพู ้นื ฐาน รอยละ ๒๐ บรรลเุ ปา หมายรอ ยละ ๑๘ ๕) ปจจยั สนบั สนุนในการวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม รอ ยละ ๒๐ บรรลุเปาหมายรอ ยละ ๑๘ ภาพท่ี ๘๓ รอยละความสำเรจ็ ตอ การบรรลเุ ปาหมายของแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเด็น การวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม ๖. ขอเสนอแนะ เรง รัด สำหรบั การดำเนินการตามยุทธศาสตรชาตใิ นวงรอบ ๕ ปถ ัดไป แนวทางการพัฒนาที่แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติไดกำหนดไวนั้นหากดำเนินการไดตามท่ี ตั้งเปาหมายไว จะทำใหกระบวนการพัฒนาการเรียนรูในภาพรวมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลง อยางมาก ซึ่งสงผลถึงการพัฒนาคุณภาพของประชาชนชาวไทย อยางไรก็ตาม ผูที่เกี่ยวของตองกำกับ ติดตามใหแตละหนวยงานที่เกี่ยวของดำเนินการตามเปาหมายตาง ๆ อยางจริงจังและรวดเร็ว ขณะเดียวกันตองมีการประเมินผลเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง เพื่อจะไดปรับปรุงแผนการทำงานใหมุงสู ผลสมั ฤทธิ์ตามเปาหมาย


๓๑๘ ๗. ขอ เสนอแนะกระบวนการขับเคลอ่ื นใหบ รรลุเปาหมาย คณะกรรมาธิการมีความเห็นเชนเดียวกับขอคิดเห็นของหนวยงานที่ขับเคลื่อนตอขอเสนอแนะ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย กลาวคือ แมสัดสวนการลงทุนและพัฒนาของภาคเอกชนตอภาครัฐจะบรรลุตาม เปาหมายที่กำหนดไวในป ๒๕๖๕ แลว แตปจจุบันองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมเปนปจจัย ที่จำเปนอยางยิ่งสำหรับการแขงขันในเวทีโลกที่จะชวยสรางโอกาสใหกับประเทศในระยะยาว ภาครัฐ จึงควรมีมาตรการกระตุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนาของทั้งเอกชนและภาครัฐใหมีการลงทุน อยางตอเนื่อง อีกทั้ง ควรพิจารณาปรับและพัฒนาระบบบริหารจัดการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ที่ตอบโจทยเปาหมายการพัฒนาประเทศในองครวม ทั้งการพัฒนาบุคลากรวิจัย โดยมีมาตรการ เพื่อดึงดูดบุคลากรวิจัยคุณภาพสูงและพัฒนาระบบนิเวศเพื่อบมเพาะผูประกอบการ และการเชื่อมโยง กับนักลงทุน ซึ่งรวมถึงการยกระดับการบริหารจัดการทรัพยสินทางปญญาของประเทศ และ การสนับสนุนงบประมาณรูปแบบการวิจัยเชิงพาณิชยที่อาจดำเนินการรวมกับตางประเทศ โดยมี มาตรการทางการเงนิ และการคลงั เพอื่ สง เสริมการสรางนวตั กรรมและการสงเสรมิ การนำผลงานวิจัยและ นวัตกรรมไปใชประโยชนใหสอดรับกับสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด-๑๙ และเนนการจัดทำ โครงการสนบั สนนุ การลงทุนวจิ ยั และพฒั นาเพอ่ื พฒั นาธุรกิจในการสรา งนวัตกรรมใหมากข้นึ


๓๑๙ QR Code ผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรดั แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประเดน็ การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม


๓๒๐


๓๒๑ สว นท่ี ๓ บทสรุป ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป มีเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชน มคี วามสุข เศรษฐกิจพฒั นาอยา งตอเน่ือง สงั คมเปน ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่งั ยนื ” และบรรลุ วิสัยทัศนที่วา “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศท่ีพัฒนาแลว ดวยการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ดังน้ัน การขับเคล่ือนยุทธศาสตรชาติทั้ง ๖ ดาน ไปสู การปฏิบัติมีการดําเนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๒๓ ประเด็น ซึ่งหนวยงานรัฐ ท้ังสว นกลางสว นภมู ิภาค และสวนทอ งถิน่ มีบทบาทสําคัญในการดาํ เนินการท้งั ในฐานะผูรบั ผดิ ชอบหลกั หนวยงานสนับสนุน และหนวยงานบูรณาการรวมกันดําเนินการในการขับเคล่ือนแผนงาน/โครงการ ใหบ รรลเุ ปา หมาย ตวั ชว้ี ดั และผลสมั ฤทธติ์ ามกรอบเวลาทกี่ ําหนดไว จากรายงานสรุปผลการดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ประจําป ๒๕๖๔ ที่มีการประเมินผล สัมฤทธ์ิการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติในภาพรวม พบวา คนไทยมีความอยูดีมีสุขลดลง สะทอนจากคาคะแนนดัชนีความอยูดีมีสุขของคนไทยที่ปรับตัวลดลง ภาพรวมปญหาความเหลื่อมล้ํา ในหลายมิติลดลง สะทอนจากการเขาถึงหลักประกันทางสุขภาพท่ีครอบคลุมประชากร สวนใหญของประเทศ คนไทยมีคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเปนอยูท่ีดีข้ึน สะทอนจากดัชนี ความกาวหนาของคนปรับตัวดีข้ึนในหลายมิติ เชน ดานการศึกษา ชีวิตครอบครัวและชุมชน การคมนาคม เปนตน ประเด็นขีดความสามารถในการแขงขันปรับตัวดีขึ้น สะทอนจากการจดั อันดับ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศท่ีดีข้ึนจากการปรับตัวของปจจัยดานประสิทธิภาพภาครัฐ และประสิทธิภาพภาคเอกชน ประสิทธิภาพของภาครัฐไทยปรับตัวดีขึ้น สะทอนจากการดําเนินการ ท่ีโปรงใส และการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจอยางตอเน่ือง และดานการฟนฟู ระบบนิเวศ ส่ิงแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยเพิ่มมากข้ึน รวมท้ังมีการควบคุม และจัดการผลกระทบทางลบท่ีเกิดจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจไดรับการพฒั นาไปในทางทดี่ ขี ึ้น คณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ และการจัดทําและ ดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติ (คณะกรรมาธิการ ตสร.) ไดบูรณาการการดําเนินการรวมกับ คณะกรรมาธิการสามัญประจําวุฒิสภาที่รับผิดชอบ ท้ัง ๒๖ คณะ โดยไดติดตามผลการดําเนินการตาม ยุทธศาสตรชาติ ๖ ดาน ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงประกอบดวยแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๒๓ ประเด็น โดยใชวิธีการติดตามวิเคราะหผ ลกระทบของการดาํ เนินงานและวิเคราะหเพื่อตดั สนิ ใจท่ีมี หลักฐานเชิงประจักษมีความชัดเจน และมีความนาเช่ือถือดวยการติดตามผลการดําเนินการของ หนวยงานรัฐที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณตามแผนงาน/โครงการตาง ๆ พบวา การวิเคราะหผล การดําเนนิ งานตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ จาํ นวน ๒๓ ประเดน็ ผา นการดาํ เนนิ โครงการสําคัญ ที่เปนองคประกอบการบรรลุเปาหมาย จํานวน ๑,๙๐๕ โครงการ ซ่ึงสามารถดําเนินการแลวเสร็จ จาํ นวน ๑,๕๔๖ โครงการ คิดเปนรอยละ ๘๑.๑ และอยูระหวางการดําเนินการ จาํ นวน ๓๕๙ โครงการ คิดเปนรอ ยละ ๑๘.๙ กลาวโดยสรปุ ผลการประเมนิ โอกาสประสบความสําเรจ็ ตอการบรรลุเปา หมาย ในภาพรวมของยุทธศาสตรชาติท้งั ๖ ดาน ใน ๖ มติ ิพบวาอยูในระดบั มาก


๓๒๒ ท้ังน้ี วุฒิสภาจะไดจัดสงรายงานสรุปผลการศึกษาวิเคราะหรายงานสรุปผลการดําเนินการ ตามยุทธศาสตรชาติ ประจําป ๒๕๖๔ พรอมท้ังขอสังเกตและขอเสนอแนะไปยังรัฐบาลเพ่ือดําเนินการ ผลักดันใหหนว ยงานท่ีรับผิดชอบทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ินไดขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการ ใหสําเร็จสามารถบรรลุเปาหมาย ตัวชี้วัด และผลสัมฤทธิ์ตามกรอบเวลาที่กําหนด สําหรับการติดตามผล การดําเนินการตามยุทธศาสตรชาติของวุฒิสภาในระยะตอไปจะมุงเนนและใหความสําคัญกับ การดําเนินการตามแผนงาน/โครงการของหนวยงานที่รับผิดชอบทั้งในเชิงนโยบายและคุณภาพ กระบวนการ ผลลัพธ และผลสัมฤทธิ์อยางเขมขน ซ่ึงสามารถสรุปผลการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด การดําเนนิ การตามยทุ ธศาสตรชาติ ไดดงั น้ี สรุปผลการติดตาม เสนอแนะ และเรง รดั การดาํ เนินการตามยุทธศาสตรช าติ ๑. ยุทธศาสตรช าตดิ า นความม่ันคง องคประกอบการบรรลุเปาหมายของยทุ ธศาสตรชาตดิ านความมั่นคง ประกอบดว ย แผนแมบท ภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ๒ ประเดน็ ไดแก (๑) ประเด็นความม่นั คง และ (๒) ประเดน็ การตา งประเทศ ผลการวิเคราะหการดําเนินงานโครงการสาํ คัญที่เปน องคป ระกอบและสง ผลกระทบตอ การบรรลุ เปา หมาย จํานวน ๑,๔๓๒ โครงการ พบวา มีโครงการท่ีดําเนินการแลวเสร็จ จํานวน ๑,๓๖๙ โครงการ รอยละ ๙๕.๖๐ และอยูระหวางดําเนินการ จํานวน ๖๓ โครงการ รอยละ ๔.๔๐ ไมมีโครงการที่ลาชา โดยสรุปการวิเคราะหประเมิน 5C ควรดําเนินการตอเน่ืองจํานวน ๑,๔๓๒ โครงการ รอยละ ๑๐๐ มีโอกาสประสบความสาํ เรจ็ ในระดบั มาก โดยมขี อเสนอแนะ เรง รดั ท่สี ําคัญ ดงั น้ี ๑) เรงผลักดันใหมีการบรรจุแผนตําบลม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เปนงบบูรณาการในการจัดทํา งบประมาณรายจายประจาํ ป และดาํ เนินการขบั เคลื่อนตามแผน ตาํ บลมั่นคง มัง่ คง่ั ยั่งยนื อยางตอ เน่ือง ยกระดับใหค รอบคลมุ มากข้นึ เปน อาํ เภอมน่ั คง มงั่ ค่ัง ยงั่ ยืน จังหวัดมั่นคง มงั่ ค่งั ยั่งยนื และประเทศไทย มนั่ คง ม่งั ค่ัง ยง่ั ยนื ตอ ไป ๒) การขับเคล่ือนการดาํ เนินงานผานจดุ เนนที่สอดคลอ งกับสถานการณตางประเทศ กระทรวง การตางประเทศในฐานะเจาภาพหลักของแผนแมบทฯ ประเด็นการตางประเทศ ควรจัดทําแผนระดับรอง เปนกรอบใหญส ําหรับใชในการดําเนนิ งานของกระทรวงฯ และหนว ยงานท่เี กี่ยวขอ ง รวมทงั้ การกําหนด ประเด็นความสําคัญเรงดวนหรอื ประเด็นท่ีควรเปนจุดเนน ที่จะตอ งดําเนินการรวมกนั เพ่ือใหตอบสนอง ตอ บริบทปจจบุ นั และงบประมาณท่ีไดร บั จริง กําหนดจดุ เนนการดาํ เนินงานใหสวนราชการและภาคสวน ท่ีเก่ียวของไดรวมกันขับเคล่ือนการดําเนินงานดานการตางประเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตามจงั หวะเวลาทเ่ี หมาะสม เพอ่ื ใหเ กิดประสิทธิภาพสูงสดุ อยา งมีเอกภาพใหสอดคลองกบั บรบิ ทระหวา ง ประเทศท่ีเปลย่ี นแปลงในทุกมิติอยา งตอ เน่อื ง ๓) การปรับใชตัวช้ีวดั ที่เหมาะสมกบั งานดา นการตา งประเทศ ตัวชี้วดั งานดา นการตา งประเทศของ แผนแมบทฯ ประเด็นการตางประเทศไมสะทอนภารกิจและไมสามารถวัดผลไดจริง ดังนั้นกระทรวง การตางประเทศควรตองเรงรัดหารือกับสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) เพ่ือปรับคาเปาหมายและตัวช้ีวัดของแผนแมบทฯ ประเด็นการตางประเทศ ใหสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ ของการดาํ เนินงานตามภารกิจดา นการตางประเทศไดอยางเปน รปู ธรรมและเกดิ ประสทิ ธผิ ลอยา งแทจ รงิ เพอื่ ใหส ามารถรองรับการดาํ เนินการในหวงท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) และหวงตอ ไป


๓๒๓ ๔) การผลักดันการขับเคลื่อนกรอบความรวมมือตาง ๆ เชิงรุกเพ่ือเปนตนแบบการจัดทํา โครงการสําคัญเชิงบูรณาการ เพื่อเปนกลไกรักษาความเปนแกนกลางของประเทศในอนุภูมิภาค สราง ดุลยภาพทางการเมืองกับประเทศมหาอํานาจ และรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ ซ่ึงจําเปนตองไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ ๕) เรงแกไขปญหาความมั่นคงตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมายตามท่ีกําหนด เชน ปญหาจังหวัด ชายแดนใต ปญหายาเสพติด ปญหาความม่ันคงปลอดภัยทางไซเบอร ปญหาการคามนุษย และปญหา ความม่นั คงตามแนวชายแดน ๖) เรงรัดใหมีการจัดทําฐานขอมูลดานความม่ันคง (Big Data) ครอบคลุมในทุกมิติ และเกิด การบรู ณาการระหวางหนว ยงานอยางเปนระบบ ๗) เพิ่มการดําเนินการ ตสร. ต้ังแตในชวงตนน้ําใหมากข้ึน เชน คณะกรรมาธิการ ตสร. รวม (ตามหนาทีแ่ ละอาํ นาจ) ในการปรับเปา หมายตวั ช้ีวดั ยุทธศาสตรช าติ แผนแมบทฯ จัดทาํ แผนบูรณาการ จัดทําโครงการสําคัญ ตลอดจนจัดทําแผนงาน/โครงการท่ีตอบสนองตอการบรรลุเปาหมายของ ยุทธศาสตรช าตอิ ยา งเปน รูปธรรม ๘) การบูรณาการการทํางานรวมกับสวนราชการที่เกี่ยวของเปนปจจัยความสําเร็จท่ีสําคัญ ในการดําเนินโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ ท่ีมีลักษณะบูรณาการตามแผนแมบทฯ กระทรวงการตางประเทศ ในฐานะหนวยงานเจาภาพหลักประสบความสําเร็จในการจัดทําตารางประสานสอดคลอง (แผนระดับท่ี ๓) ในแผนยอยความรวมมือดานความมั่นคงระหวางประเทศ (S1) คณะกรรมาธิการเห็นวา ในระยะตอไป ควรเรงรัด ผลักดันใหขยายการจัดทําตารางประสานสอดคลองที่มีความครอบคลุมในทุกแผนยอย เพื่อประโยชนในการบูรณาการการทํางานรวมกัน และติดตามผลการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย ท้ังน้ี ความสําคัญของตารางประสานสอดคลอง หรือแผนระดับ ๓ จะชวยใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ทราบวาการขับเคล่ือนภารกิจดานการตางประเทศมีการเนนเร่ืองใดกอนลวงหนาในจังหวะเวลาใด เพือ่ จัดเตรียมแผนงาน เตรยี มงบประมาณ ซ่ึงตอ งมีเวลาเพยี งพอในการเตรียมการลว งหนา ๙) ขอสังเกตในการจัดทําโครงการสําคัญตามแผนแมบทฯ ของกระทรวงการตางประเทศ ในป ๒๕๖๕ โครงการสําคัญของกระทรวงการตางประเทศไมไดรับการคัดเลือก ซ่ึงอาจสงผลกระทบ ตอบทบาทในฐานะหนวยงานเจาภาพหลักในการดําเนินงานป ๒๕๖๕ ในการเปนผูนําการขับเคลื่อน ประเด็นสําคัญในภาพรวม อยางไรก็ตาม คณะกรรมาธิการเห็นวา ลักษณะงานดานการตางประเทศ มีความเปนพลวัต มีการเปล่ียนแปลงตามสถานการณโลก การดําเนินกิจกรรมอาจข้ึนกับสถานการณ ในขณะน้ัน โครงการ/การดําเนินงานดานการตางประเทศสวนใหญจึงมีลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไป ตามสถานการณท่ีเกิดข้ึน สงผลใหการจัดทําโครงการสําคัญตามแผนแมบทฯ ของกระทรวง การตา งประเทศอาจไมไ ดรบั การคดั เลือก


๓๒๔ ๒. ยุทธศาสตรช าติดานการสรางความสามารถในการแขง ขัน องคประกอบการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ประกอบดวย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๗ ประเด็น ไดแก (๑) ประเด็นการเกษตร (๒) ประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต (๓) ประเด็นทองเที่ยว (๔) ประเด็นพ้ืนที่และเมือง นาอยูอาศัยอัจฉริยะ (๕) ประเด็นโครงสรางพื้นฐาน โลจิสติกส และดิจิทัล (๖) ประเด็นผูประกอบการ และวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม และ (๗) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีผล การตดิ ตาม เสนอแนะ และเรงรดั ที่สาํ คัญ ดังน้ี ผลการวเิ คราะหการดําเนนิ งานโครงการสําคัญทเ่ี ปนองคป ระกอบและสง ผลกระทบตอ การบรรลุ เปาหมาย จํานวน ๒๓๓ โครงการ พบวา มโี ครงการทด่ี าํ เนินการแลว เสรจ็ จาํ นวน ๗๐ โครงการ รอ ยละ ๓๐.๐๐ และอยูระหวางดําเนินโครงการตามแผนงาน จาํ นวน ๑๖๓ โครงการ รอยละ ๗๐.๐๐ โดยสรุป การวิเคราะหประเมิน 5C ควรดําเนินการตอเนื่องจํานวน ๑๘๘ โครงการ รอยละ ๗๙.๘ มีแนวโนม การบรรลเุ ปาหมายอยใู นระดับ มาก โดยมีขอ เสนอแนะ เรงรัดท่สี าํ คัญ ดงั น้ี ๑) การจัดทําโครงการสําคัญเพ่ือขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมาย ประจําป ๒๕๖๖ - ๒๕๖๗ ของหนวยงานฐานะหนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนประเด็น จ.๑. หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนเปาหมาย จ.๒. และหนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนเปาหมายของแผนยอย จ.๓. รวมถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการดําเนินการควรพิจารณาโครงการสําคัญใหมเพ่ิมเติม เพื่อใหมีน้ําหนักตอการขับเคลื่อนไปสู เปาหมายและตัวช้วี ดั ท่ีกําหนด ๒) การเรง รัดและตดิ ตามการขับเคล่อื นการดาํ เนินการตามแผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ควรเปน การหารือระหวา งหนว ยงานปฏบิ ตั ิ หนว ยงานรับผดิ ชอบ และคณะอนกุ รรมาธกิ ารในคณะกรรมาธกิ าร ตสร. วุฒิสภาท่ีเกี่ยวของ เพ่ือรวมกันตรวจสอบระหวางและหลังจากปฏิบัติตามแผนที่กําหนดไว ตามกลไกที่ไดรบั มอบหมายตามแผนระดบั ๒ และแผนระดบั ๓ ๓) จากการลงพื้นที่ของคณะกรรมาธิการ ตสร. และการศึกษาวิเคราะหแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุมจังหวัดท่ีกําหนดใหยึดยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายรัฐบาล รวมทั้งแผนรายสาขา แผนเฉพาะดานตาง ๆ พบวา สวนใหญไมไดกลาวถึงเปาหมายเร่ืองการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต หรอื ไมไดกําหนดไวในเปาหมายของการพัฒนาจงั หวัด ดังนั้น สศช. สํานักงาน ก.พ.ร. และสํานักงบประมาณ รวมกับกระทรวงมหาดไทยควรมีการมอบหมายตัวช้ีวัดและคาเปาหมายของแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ โดยเฉพาะกลุมหนวยงานเจาภาพขับเคล่ือนเปาหมายของแผนยอย รวมถึงตองมีการ ตรวจสอบความสอดคลองระหวา งแผนงานในระดบั พนื้ ท่กี บั แผนระดบั ๒ ๓. ยทุ ธศาสตรช าติดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย องคประกอบการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย ประกอบดวย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๖ ประเด็น ไดแก (๑) ประเด็น การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม (๒) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต (๓) ประเด็น การพฒั นาการเรยี นรู (๔) ประเด็นการเสรมิ สรา งใหคนไทยมสี ุขภาวะทดี่ ี (๕) ประเด็นศักยภาพการกีฬา และ (๖) ประเดน็ การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม


๓๒๕ ผลการวิเคราะหก ารดาํ เนินงานโครงการสําคัญที่เปนองคประกอบและสง ผลกระทบตอ การบรรลุ เปาหมาย จํานวน ๑๓๑ โครงการ พบวา มีโครงการท่ีดาํ เนินการแลว เสร็จ จาํ นวน ๙๘ โครงการ รอ ยละ ๗๔.๘ และอยูระหวางดําเนนิ การ จาํ นวน ๓๓ โครงการ รอ ยละ ๒๕.๒ ลา ชา จากการดาํ เนินงาน จํานวน ๗ โครงการ รอยละ ๕.๓ โดยสรุปการวิเคราะห 5C ควรดําเนินการตอเน่ือง จํานวน ๑๒๖ โครงการ รอยละ ๙๖.๒ ควรปรับเปลยี่ นวธิ กี าร จาํ นวน ๕ โครงการ รอ ยละ ๓.๘๐ โดยมีขอ เสนอแนะ เรงรดั ทส่ี ําคัญ ดังนี้ ๑) การกําหนดโครงการสาํ คญั ในการดาํ เนนิ การตามแผนการปฏริ ปู ประเทศและยุทธศาสตรชาติ รวมกนั ของท้ัง ๓ ฝาย เพ่อื ใหความเห็นและมุมมองในมิติที่แตกตา งกันอนั จะนําไปสกู ารกําหนดโครงการ สําคัญ และการนําไปปฏิบัติที่กอใหเกิดสําเร็จตอการบรรลุเปาหมายตามแผนการปฏิรูปประเทศ และยุทธศาสตรชาติอยางแทจริง ประกอบดวย ๑) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศและคณะกรรมการ จดั ทํายทุ ธศาสตรช าติดา นตา ง ๆ ๒) รฐั บาล และ ๓) วฒุ ิสภา ๒) กลไกการดําเนินงาน ควรมกี ารปฏิรปู การดําเนนิ งานของสาํ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสงั คมแหง ชาติ (สศช.) โดยการปฏิรูปกระบวนการจัดทําแผนงาน/โครงการสาํ คญั เพ่อื เปน การดาํ เนนิ การ รวมกันของผูมีสวนเก่ียวของกับแผนแมบทฯ จากทุกภาคสวน สํานักงบประมาณ โดยกําหนดใหมี งบประมาณเฉพาะสําหรบั ดําเนินการและจัดทําแผนงาน/โครงการตามแผนแมบ ทฯ และแผนการปฏิรูป ประเทศโดยเฉพาะ ๓) กลไกระดับจังหวัด ควรกําหนดใหมีหนาท่ีรับผิดชอบและดําเนินการในสวน Flagship Project โดยตรง ภายใตการมีสว นรว มจากทกุ ภาคสว น ๔) ฐานขอมูล ควรมีการจัดทําฐานขอมูลกลางท่ีทุกสวนราชการท่ีเกี่ยวของใหการยอมรับและ สามารถใชป ระโยชนรว มกนั ได ๕) ประเด็น การปรับเปล่ียนคานิยมและวัฒนธรรม ควรปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และเสริมสรางจิตสาธารณะ และการเปนพลเมืองท่ีดี การสรางคานิยมและวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค จากภาคธุรกิจ การใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม สรางประชาชนใหมีทักษะ “คิด-วิเคราะห-แยกแยะ\" สรางคานิยมเร่ืองความซื่อสัตยสุจริตใหแกบุคคล และหนวยงานในภาคสวนตาง ๆ รวมทั้งควรกําหนดคาเปาหมายในทุกระดับใหชัดเจน ควรกําหนด รูปแบบโครงการและกิจกรรมที่ดําเนินการไดท้ังในสถานการณปกติและสถานการณพิเศษ ควรดาํ เนนิ การใหมกี ลมุ เปาหมายเพิ่มขนึ้ ทุกป ๖) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู เรงการขับเคลื่อนพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาตาม พระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ จะเปนคานงัดท่ีสําคัญย่ิง ควรพัฒนาศักยภาพ มนุษยท่ีอยูนอกระบบการศึกษาในทุกระดับ และใชกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษาชว ยเหลือ นักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพยและกลุมเด็กที่หลุดออกนอกระบบการศึกษา การพัฒนามาตรฐาน สถานศึกษาและระบบประกนั คณุ ภาพ พฒั นาโครงสรางพื้นฐานดา นการศกึ ษา รวมทั้งการสรางความรวมมือ เพือ่ พัฒนาการเรยี นรแู ละการมีสว นรวมของชุมชนและครอบครวั ๗) ประเด็น การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี ระดับสวนกลางควรกําหนดใหมีกลไกการ ขับเคล่ือนท่ีเปนรูปธรรม โดยกําหนดหนวยงานเจาภาพเพ่ือประสานความรวมมือกับฝายตาง ๆ ระดับพ้ืนที่ควรกําหนดใหเปนเปาหมายตัวชี้วัดของผูวาราชการจังหวัดและสวนราชการภายในจังหวัด


๓๒๖ ควรทบทวนกระบวนการและวิธีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณใหเปนการเฉพาะ เพ่ือขับเคลื่อน แผนงาน/โครงการตา ง ๆ ใหบรรลุเปา หมาย ๘) ประเด็น ศักยภาพการกีฬา ควรสรางใหเกิดการบูรณาการการทํางานรวมกันระหวาง หนวยงานที่เก่ียวของ สํานักงบประมาณควรเขามามีสวนรวมตั้งแตเริ่มแรก และควรจัดทําฐานขอมูล กลางและพัฒนาระบบสารสนเทศดานกีฬา ทบทวนประเด็นของกฎหมายท่ีลาสมัยและไมเหมาะสมกับ สถานการณ รวมถึงกฎหมายท่ีเปนอุปสรรคตอการพัฒนากีฬาของประเทศ รวมทั้งผลักดัน การดําเนินการดา นอตุ สาหกรรมกฬี า ท้งั น้ีควรเชือ่ มโยงขอมูลดานการออกกําลังกาย ขอมลู ดานสุขภาพ เพื่อวิเคราะหเชิงสถิติเกี่ยวกบั ผลสมั ฤทธ์ทิ ี่ไดจากการใชจายงบประมาณที่ไดรับ ตรวจสอบความสมั ฤทธิ์ ผลในการนํางบประมาณไปใช รวมท้ังควรมีบุคลากรดานวิทยาศาสตรการกีฬาอยูทุกจังหวัด รวมถึง การนําวิทยาศาสตรก ารกฬี าดานตา ง ๆ เขามาประยุกตใ ชส นับสนนุ การฝกซอม ๙) ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม กระตุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนาของท้ังเอกชน และภาครัฐ ควรพิจารณาปรับและพัฒนาระบบบริหารจัดการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย เปาหมายการพฒั นาประเทศในองครวม รวมถึงการยกระดบั การบรหิ ารจัดการทรัพยส นิ ทางปญญาของ ประเทศ และการสนับสนุนงบประมาณรูปแบบการวิจัยเชิงพาณิชยรวมกับตางประเทศ มีมาตรการ ทางการเงินและการคลัง สนับสนุนการลงทุนเพื่อสงเสริมการสรางนวัตกรรม และสงเสริมการนํา ผลงานวิจยั และนวตั กรรมไปใชประโยชนใหสอดรับกับสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคโควิด ๑๙ ๔. ยุทธศาสตรช าติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม องคป ระกอบการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรช าติดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทาง สังคม ประกอบดวย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๓ ประเด็น ไดแก (๑) ประเด็นพลังทางสังคม (๒) ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก และ (๓) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม โดยมีผล การติดตาม เสนอแนะ และเรง รัดท่สี าํ คญั ดังนี้ ผลการวิเคราะหก ารดาํ เนนิ งานโครงการสาํ คัญทเ่ี ปน องคป ระกอบและสง ผลกระทบตอ การบรรลุ เปาหมาย จํานวน ๓๒ โครงการ พบวา มีโครงการท่ีดําเนินการแลวเสร็จ จํานวน ๒ โครงการ รอยละ ๖.๒ และอยูระหวา งดําเนนิ การ จํานวน ๓๐ โครงการ รอยละ ๙๓.๘ โดยมโี ครงการทส่ี ามารถดําเนนิ การ ไดตามแผน จํานวน ๒๙ โครงการ รอยละ ๘๗.๕ และมีโครงการท่ีลาชาจากการดําเนินงาน จํานวน ๑ โครงการ รอยละ ๖.๓ โดยสรุปการวิเคราะห 5C ควรดําเนินการตอเนื่อง จํานวน ๓๒ โครงการ รอยละ ๑๐๐ โดยมขี อเสนอแนะ เรงรดั ทสี่ ําคญั ดังน้ี ๑. การจัดทําระบบฐานขอมูลของประเทศ เปน “ระบบฐานขอมูลกลาง” ควรกําหนด หนวยงานเจาภาพหลัก และหนวยงานสนับสนุนใหชัดเจน และบูรณาการทํางานรวมกันอยางจริงจัง มีการเชื่อมโยงระหวางหนวยงานตาง ๆ มีการเช่ือมโยง “การจัดทําขอมูลของตําบล โดยตําบล เพ่ือตําบล” กับหนวยงานระดับกระทรวง เพ่ือนําไปประกอบการจัดทําแผนปฏิบัติการและการแกไขปญหาในเชิง พื้นที่และเชื่อมหนุนระบบแผนเดียว (One Plan) เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีตรงกับความตองการของ กลมุ เปา หมายในระดบั พน้ื ท่ไี ดอยางมีประสิทธิภาพ ๒. การสรางเสรมิ ชมุ ชนเขมแข็ง/ตําบลเขมแข็ง ใหค รอบคลุมทุกพืน้ ท่ี ใหความสําคญั กับกลไก และกระบวนการแบบมีสวนรวม เนนการทํางานแบบบูรณาการจริงในพื้นที่ระดับตําบลลงไปในลักษณะ


๓๒๗ การจัดการแบบหุนสวน รวมท้ังการหนุนเสริมใหตําบลเขมแข็งไดอยางแทจริง โดยกําหนดใหการสราง ตําบลเขมแข็งเปนวาระแหงชาติ โดยกําหนดใหเปนนโยบายใหสวนราชการตาง ๆ ทําความเขาใจแนวคิด การบริหารจัดการแบบหุนสวนในระดับพ้ืนที่และพัฒนาระบบกลไกวิธีการทํางานสนับสนุนการจัดการ ตําบลเขม แขง็ แบบหุนสว น ๓. การสงเสริมและพฒั นาศกั ยภาพของกลุมประชากร ในภาพรวมหนวยงานท่ีเกยี่ วขอ งควรให ความสําคัญดูแลและสงเสริมตั้งแตกอนการต้ังครรภและการดูแลแบบองครวม เพื่อใหประชากรของ ประเทศมีคุณภาพและเปน กาํ ลงั สําคญั ในการพัฒนาประเทศ ๔. การยกระดบั ศกั ยภาพของเศรษฐกจิ ฐานราก การปรบั ตัวของผูป ระกอบการ และการพฒั นา รายไดของประชากรกลุมรายไดนอย สรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาศักยภาพและ ขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก ยกระดับศักยภาพและรายได พัฒนาทักษะและองคความรู สมัยใหม สําหรับการประกอบอาชีพ และการบริหารจัดการดานธุรกิจ โดยมุงเนนการสงเสริมการใช ประโยชนจากงานวิจัยและพัฒนา รวมทั้งสงเสริมใหประชาชนมีความรูดานการเงินใหครัวเรือนเกิด ความตระหนักและสามารถจดั การการเงิน ๕. การบริหารจัดการระบบรองรับสังคมสูงวัย โดยใชตําบลเปนฐาน ควรสนับสนุนใหเกิด การบูรณาการการทํางานรวมกันผานเครือขายท่ีเกี่ยวของในการขับเคลื่อนงานรองรับสังคมสูงวัยใน ทกุ ระดับ รวมทง้ั การพัฒนาและออกแบบระบบสนบั สนุนทางดานเศรษฐกจิ ทีจ่ ะชวยใหชวี ติ มคี วามมน่ั คง มศี กั ดศิ์ รี และสามารถวางแผนหรอื คาดการณเสนทางการดําเนินชวี ิตท่ดี พี อสมควร รวมทัง้ การออกแบบ และการพัฒนาระบบการดูแลผูสูงอายุระยะยาวที่เพ่ิมเติมนอกเหนือจากสิทธิประโยชนบริการสุขภาพ ตามสทิ ธิประโยชนหลกั ๖. การเรงรัดผลักดันการพฒั นาปรับปรุงกฎหมาย การสรางความรคู วามเขาใจ และการบังคับ ใชกฎหมายทเี่ ก่ียวของใหมปี ระสทิ ธภิ าพ ๗. การปรับปรุงตัวช้ีวัดของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ การดําเนินงานติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดผลการดําเนินงานจําเปนตองไดรับขอมูลที่มีความถูกตอง นาเช่ือถือ ทันสมัย ทันตอ เหตุการณ และมีความครบถวนสมบูรณเพียงพอ สามารถใชอางองิ สําหรับประกอบการพิจารณาได อยางเหมาะสม และการปรบั ปรงุ ตัวชี้วัดของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ หนวยงานเจา ภาพหลักและ หนวยงานสนับสนุน ควรหารือกับ สศช. ใหเกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการปรับปรุงตัวชี้วัด ปญหา อุปสรรค ขอดี ขอเสยี เพอื่ ประมวลผลและจดั ทาํ ตวั ชี้วดั ที่เหมาะสมสําหรับการประเมินผลสําเร็จตอไป ๕. ยุทธศาสตรช าตดิ านการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน มติ รตอ สิ่งแวดลอม องคประกอบการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรช าติดา นการสรางการเติบโตบนคุณภาพชวี ิต ท่เี ปนมิตรตอ ส่ิงแวดลอม ประกอบดวย แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ๒ ประเด็น ไดแก (๑) การเติบโต อยางยัง่ ยืน และ (๒) ประเดน็ การบรหิ ารจัดการน้าํ ทัง้ ระบบ โดยมผี ลการติดตาม เสนอแนะ และเรง รัดที่ สาํ คัญ ดงั น้ี ผลการวิเคราะหก ารดาํ เนินงานโครงการสาํ คญั ท่เี ปนองคป ระกอบและสง ผลกระทบตอ การบรรลุ เปาหมาย จํานวน ๒๖ โครงการ พบวา มีโครงการท่ีดําเนินการแลวเสร็จ จํานวน ๖ โครงการ รอยละ ๒๓.๑ และอยรู ะหวา งดําเนินโครงการตามแผนงาน จาํ นวน ๒๐ โครงการ รอยละ ๗๖.๙ โดยมีโครงการ


๓๒๘ ที่ลาชาจากงบประมาณ จํานวน ๒ โครงการ รอยละ ๗.๗ โดยสรุปการวิเคราะห 5C ควรดําเนินการ ตอเน่ือง จํานวน ๒๐ โครงการ รอยละ ๗๖.๙ และโครงการท่ีควรทบทวน จํานวน ๖ โครงการ รอยละ ๒๓.๑ มีแนวโนม การบรรลุเปา หมายอยใู นระดับ ปานกลาง โดยมีขอ เสนอแนะ เรงรัดทสี่ ําคญั ดงั น้ี ๑. เรงรัดผลักดันกฎหมายที่เอ้ือตอการพัฒนาประเทศ ปรับปรุง พัฒนาแกไขกฎหมายและ กระบวนงานที่มีความลาสมัย บังคับใชกลไกทางกฎหมายใหเขมงวดควบคูกับการพัฒนาองคความรู การวิจัยและนวัตกรรม เพ่ือควบคุมและลดการบุกรุกพื้นท่ีปา รวมถึงการทําลายทรัพยากรทางทะเล และชายฝง ๒. สงเสริม สนับสนุนการบูรณาการการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐใหมีสวนรวม ในการดําเนินการจัดทําแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ตลอดจนการแกไ ขปญหาตา ง ๆ เพอื่ ใหการพฒั นา ประเทศเปน ไปในทศิ ทางเดียวกัน ๓. ขับเคลื่อนการประชาสัมพนั ธการดําเนินการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัด การดาํ เนินการ ตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติเชิงรุก เพ่ือใหประชาชนไดทราบถึงประโยชนและความกาวหนา ของการดําเนินการอยางตอเน่ือง ควรสนับสนุนใหเกิดการรับรูและมีสวนรวมของประชาชนในการ ดาํ เนินการตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ๔. การจดั สรรงบประมาณประจาํ ป ควรใหม คี วามสอดคลองกับแผนงาน/กิจกรรมของโครงการ ตามแผนปฏิรูปประเทศและแผนแมบทยุทธศาสตรชาติ และหนวยงานภาครัฐจะตองดําเนินการอยาง จรงิ จังและตอ เน่ืองจนกวาจะบรรลุเปา หมายทกี่ าํ หนดไวในแผนการปฏิรปู ประเทศและยุทธศาสตรช าติ ๕. การรวบรวมและจัดการขอมูลที่จําเปนตอการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําทั้งระบบ เรงพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพในการรับมือกับภัยพิบัติดานนํ้าและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการบรู ณาการขอมูลระหวางหนวยงานทเ่ี กยี่ วขอ งและควรมกี ารเผยแพรข อ มูลทเี่ กย่ี วขอ งทเี่ ปน ปจจุบันระหวางทุกภาคสวน เพ่ือใหสามารถรับมือกับทุกสถานการณนํ้าของประเทศได เพ่ือเปนการ ลดผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน รวมท้ังสงเสริมการใชนํ้าตามหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle) อยางกวางขวางทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ ผานการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ชวยประหยัดน้ํา การพัฒนากฎหมายที่เก่ียวของกับการบริหารจัดการความตองการใชน้ํา การจัดตง้ั กองทุนสนับสนนุ การปอ งกนั เพือ่ ลดผลกระทบจากภยั น้าํ ทวมและนาํ้ แลง ๖. สรางจิตสํานึก ปรับกระบวนทัศนใหทุกภาคสวนตระหนักถึงความสําคัญในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ควรกําหนดใหมีและใชหลักสูตรการเรียนการสอนในเรื่อง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม ๗. ควรสงเสริมการจัดทําขอมูลพ้ืนท่ีปาไมใหเปนปจจุบัน ควรสงเสริมสนับสนุนขอมูล การศึกษาวิจัยดานทรัพยากรปาไมและพื้นที่สีเขียว ตลอดจนสรางเครือขายรวมกับภาคีในภาคสวน ตาง ๆ เพอื่ บูรณาการการดาํ เนนิ การตง้ั แตการปองกัน อนรุ กั ษ ฟน ฟู และเฝาระวงั พน้ื ทป่ี าอยา งย่ังยืน ๘. ใหความสําคัญกับประเด็นที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่องและเรงดวน ไดแก การควบคุม มลพิษ การลดการปลอยกาซเรือนกระจก การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชทรัพยากร การบริหารจัดการ ของเสียต้ังแตตนทางไปจนถึงการหมุนเวียนนํากลับมาใชใหม การลดปญหาการสูญเสียอาหาร และ ขยะอาหาร


๓๒๙ ๖. ยุทธศาสตรชาติดา นการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ องคประกอบการบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบดวย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๓ ประเด็น ไดแก (๑) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (๒) ประเด็นการตอตานการทุจริตและประพฤติ มชิ อบ และ (๓) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม โดยมผี ลการติดตาม เสนอแนะ และเรง รัด ทีส่ าํ คัญ ดังน้ี ผลการวิเคราะหการดําเนินงานโครงการสําคัญท่ีเปนองคประกอบและสงผลกระทบตอ การบรรลุเปาหมาย จํานวน ๕๑ โครงการ พบวา อยูระหวางการดําเนินการท้ังหมด โดยสวนใหญมี การดําเนินการตามแผนงาน จํานวน ๔๔ โครงการ รอยละ ๘๖.๓ โดยมีโครงการท่ีลาชาจาก การดําเนินงาน จํานวน ๗ โครงการ รอยละ ๑๓.๗ โดยสรุปการวิเคราะห 5C ควรดําเนินการตอเนื่อง ๕๑ โครงการ รอยละ ๑๐๐ มีแนวโนมการบรรลุเปาหมายอยูในระดับ ปานกลาง โดยมีขอเสนอแนะ เรงรดั ทีส่ าํ คัญ ดังน้ี ๑. เรงรัดการใหบริการประชาชนในเชิงรุก เรงรัดการนําระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใหบริการ แบบครบวงจร โดยบูรณาการเช่ือมโยงระบบตาง ๆ ภายในและระหวางหนวยงานของรัฐ ปรับปรุง หลักเกณฑก ารประเมิน ITA และหลักสูตรตานทุจริตศกึ ษาใหมีความทันสมัย สอดคลอ งกับสถานการณ ปจ จบุ ัน และสามารถวัดผลเชิงพฤติกรรมไดอ ยา งแทจรงิ ๒. เรงรดั ใหคณะกรรมการปฏริ ูปกฎหมายในระยะเรงดวนทบทวนกฎหมายเก่ยี วกับการขออนญุ าต อนุมัติ มีชองทางอิเล็กทรอนิกสใหผูที่ไดรับผลกระทบจากการบังคับใชกฎหมายแสดงความคิดเห็น จัดหมวดหมหู รือประมวลกฎหมายท่ียังไมยกเลกิ จัดตัง้ หนว ยงานเฉพาะเพื่อเผยแพรค วามรทู างกฎหมาย แกป ระชาชน และปรบั ปรงุ พัฒนาขอมลู ในระบบกลางใหมคี วามถูกตอ งและเปนปจจบุ นั เรง รัดการแกไ ข ปรับปรงุ หรอื ยกเลิกกฎหมายท่หี มดความจาํ เปน หรือเปน อปุ สรรคตอ การดาํ รงชวี ติ ของประชาชน ๓. ทบทวนระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่สี นับสนุนการแจงความรองทุกขตางทองท่ีใหสามารถ บูรณาการรว มกัน จดั ใหมกี ารรบั ฟงความคดิ เหน็ ของประชาชนและผูป ฏบิ ัติงานเพือ่ พัฒนาระบบใหตรงกับ ความตอ งการของผใู ชงาน รวมท้งั ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิ ความคุมคา ปญหาอุปสรรคของโครงการทนายความ อาสาประจาํ สถานีเพอ่ื พฒั นาการใหบ รกิ าร ๔ ขยายโครงการปลอยช่ัวคราวในข้ันตอนอ่ืน ๆ ของกระบวนการยุติธรรม และแกไขเพ่ิมเติม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อใหสามารถนําหลักการบันทกึ ภาพและเสยี งในการตรวจคน จับกุม และการสอบปากคําในการสอบสวนไปใชใหครอบคลุมการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ หนว ยงานอนื่ ๆ ๕. หนวยงานรัฐควรดําเนินการตามหลักการบริหารงานคุณภาพ (Plan-Do-Check-Act : PDCA) ในการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานตามยทุ ธศาสตรช าติ ทบทวนเปาหมาย ระดับแผนยอยใหสอดคลองกับขอเท็จจริง ปรับปรุงจํานวนคาเปาหมายและตัวชี้วัด รวมท้ังแนวทาง การพัฒนาใหมีความเหมาะสมและสะทอนการบรรลุคาเปาหมายอยางแทจริง และกําหนดตัวชี้วัด ในแตละปใหชัดเจน การจัดทําโครงการตองสอดคลองกับเปาหมายของแตละแผนยอย และจัดลําดับ ความสําคัญของโครงการ และจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกับเปาหมาย รวมทั้งควรบูรณาการ


๓๓๐ ระหวางทุกภาคสวนเพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน และตองนําผลการดําเนินกิจกรรม หรอื โครงการทส่ี อดคลอ งและตรงกบั ตัวชีว้ ดั ทีไ่ ดกําหนดเปาหมายไวมาทาํ การประเมนิ ผลในแตล ะรอบ ๖. การพัฒนาระบบราชการโดยการเรงรัดใหนําระบบบริหารผลงานปฏิบัติงาน (Performance Management : PM) และระบบการบริหารทรัพยากรขององคกร (Enterprise Resource Planning : EPR) มาปรับใชกับการบริหารงานภาครัฐอยางเปนระบบ เพ่ือสรางและพัฒนาบุคลากรภาครัฐใหมี ประสทิ ธิภาพ ๗. ควรเรงรัดการจัดทําหรือปรับปรุงแกไขกฎหมาย รวมท้ังการออกกฎหมายลําดับรอง เพือ่ การขบั เคล่ือนการดําเนินการตามแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ


๓๓๑ สว นที่ ๔ ผลการศึกษาดา นงบประมาณเพ่ือสนับสนุน การตดิ ตาม เสนอแนะ และเรง รดั การดำเนนิ การตามยุทธศาสตรชาติ ตามท่ีประธานวุฒิสภาไดสงรายงานจำนวน ๒ ฉบับ ประกอบดวย รายงานสรุปผล การดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ และรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผน การปฏิรูปประเทศ ประจำป ๒๕๖๔ ไปยังคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ วุฒิสภา ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา ขอ ๑๗๗ (๒) เพื่อจัดทำผลการศึกษาในสวนที่คณะกรรมาธิการ เกี่ยวของ แลวเสนอตอคณะกรรมาธิการติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศ และการ จัดทำและดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ นั้น บัดนี้ คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ วฒุ สิ ภา ไดด ำเนนิ การในสวนที่เก่ียวของเสรจ็ แลว ปรากฏผลการดำเนนิ การ ดงั นี้ ๑. วิธีการศึกษา ๑.๑ ศึกษารายงานสรปุ ผลการดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ ๑.๑.๑ สรุปผลการดำเนนิ การโดยภาพรวม ยุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนตามหลัก ธรรมาภิบาลเพื่อใชเปนกรอบการดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐเพื่อมุงสูเปาหมายรวมกันในการพัฒนา ประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” เพื่อนำไปสูการบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยไมทิ้งใครไวขางหลัง โดยยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป ๖ ยุทธศาสตร ประกอบดวย ยุทธศาสตรดาน ความมั่นคง ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งยุทธศาสตรชาติ เปนแผนระดับ ๑ ตามนัยของมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ เพื่อใชเปนกรอบในการ จัดทำแผนระดับที่ ๒ และแผนระดับที่ ๓ และการจัดทำงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ ใหม คี วามสอดคลอ งและบรู ณาการกันอยางเปน ระบบ แผนระดบั ที่ ๒ ประกอบดว ย แผนแมบ ทภายใต ยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายและ แผนระดับชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติ โดยแผนระดับ ๒ นี้ จะเปนกลไกสำคัญในการถายทอด


๓๓๒ แนวทางการขับเคลื่อนประเทศในมิติตาง ๆ ของยุทธศาสตรชาติไปสูการปฏิบัติในแผนระดับ ๓ ซึ่งประกอบดวย แผนปฏิบัติราชการรายป และ ๕ ป แผนปฏิบัติการดาน... ของแตละสวนราชการ ซึ่งเปนแผนในเชิงปฏิบัติที่มีการระบุการดำเนินงาน/โครงการที่มีความชัดเจนตามภารกิจของหนวยงาน ของรัฐที่สนับสนุนการดำเนินงานของแผนระดับ ๒ และยุทธศาสตรชาติใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว ไดอยา งเปนรูปธรรม แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ เปนแผนเพื่อการบรรลุเปาหมายตามท่ี กำหนดไวในยุทธศาสตรช าติ ซ่งึ ไดบ ญั ญตั ไิ ดไวในพระราชบัญญตั ิการจดั ทำยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีแนวทางการพัฒนาที่สอดคลองกับแผนระดับ ๒ อื่น เพื่อนำไปสูการกำหนดการปฏิบัติที่มี ความชัดเจนในแผนระดับ ๓ ประกอบดวยแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ๒๓ ประเด็น ที่จะตอง สะทอนผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติไดในลักษณะที่เปนผลลัพธ โดยได มกี ารกำหนดคา เปาหมายทีต่ องบรรลุตามตวั ชี้วัดทีก่ ำหนดแบงเปน ๔ หวงการพฒั นา หว งละ ๕ ป สำหรับการรายงานผลการดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติ ประจำป ๒๕๖๔ เปนไปตามพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งเปนฉบับที่ ๓ ที่ไดรายงานผล การดำเนินการ โดยรายงานจากขอมูลที่หนวยงานไดมีการนำเขาในระบบติดตามและประเมินผลแหงชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and Country Reform : eMENSCR) ที่ผานการอนุมัติจากผูบริหารตามสายการบังคับบัญชา (M7) ขอมูล ณ สิ้นเดือนตุลาคม ๒๕๖๔ มีโครงการ/การดำเนินงาน จำนวน ๖๒,๖๔๑ โครงการ เปนโครงการประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน ๒๖,๐๙๘ โครงการ เพื่อนำไปใชประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรชาติ ตามหลักการของความสัมพันธเชิงเหตุและผล (Causal Relationships : XYZ) รวมกับพิจารณาจาก ขอมูลที่รวบรวมไดจากกลุมตัวชี้วัดที่สามารถสะทอนผลการพัฒนาในระดับผลสัมฤทธิ์และผลลัพธ โดยใชตัวชี้วัดทั้งระดับประเทศ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาและความทาทายของสถานการณ การบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายของประเทศ และระดับสากล ซึ่งแสดงใหเห็นถึงสถานการณ การพัฒนาที่เทียบเคียงกับนานาประเทศ นำไปสูการยกระดับการพัฒนาประเทศในมิติตาง ๆ ใหมี มาตรฐานเทยี บเทา สากล ทั้งนี้ จากการประเมินผลสัมฤทธิ์การบรรลุเปาหมายของยุทธศาสตร ในภาพรวม ป ๒๕๖๔ พบวา คนไทยความอยูดีมีสุขลดลง สะทอนจากคาคะแนนดัชนีความอยูดีมีสุข ของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ลดลงในประเด็นการไดรับสวัสดิการและการสนับสนุนจากภาครัฐ การมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาวะที่ดี ความเอื้ออาทรตอกัน และการอยูในสังคมที่ปลอดการทุจริต และ ภาพรวมปญหาความเหลื่อมล้ำในหลายมิติลดลง สะทอนจากการเขาถึงหลักประกันทางสุขภาพ ที่ครอบคลุมประชากรสวนใหญของประเทศ ยังคงพบความเหลื่อมล้ำของการเขาถึงในดานคุณภาพการ


๓๓๓ ใหบริการในบริบทเชิงพื้นที่ ขณะที่ คนไทยมีคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเปนอยูที่ดีข้ึน ขีดความสามารถในการแขงขันปรับตัวดีขึ้น ประสิทธิภาพของภาครัฐไทยปรับตัวดีขึ้น และในดาน การฟนฟูระบบนิเวศ สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีการ ควบคมุ และจัดการผลกระทบทางลบจากการพฒั นาทางเศรษฐกจิ ไดรบั การพฒั นาไปในทางที่ดขี ้นึ  สำหรับการประเมินผลการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรช าติ สรุปได ดงั น้ี ๑. ดา นความมั่นคง - ประชาชนไทยมรี ะดับความอยูดีและมคี วามสุขลดลงเล็กนอ ย - ความอยูดีมีความสุขของประชากรอยูในอันดับที่ ๕๔ (จากทั้งหมด ๑๔๙ ประเทศ) ไดร บั คะแนน ๕.๙๘๕ - ความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ พิจารณาจากรายงานดัชนี สนั ตภิ าพโลก (Global Peace Index : GPI) ประเทศไทยอยใู นอนั ดับที่ ๑๑๓ มีคะแนน ๒.๒๐๕ - ความพรอมและศักยภาพทางดานการทหารของประเทศอยูใน อนั ดับดมี าก ๒. ดานการสรา งความสามารถในการแขง ขัน - ความสามารถในการแขงขันของประเทศดีขึ้นจากปจจัยดาน ประสิทธิภาพภาครฐั ประสทิ ธภิ าพภาคเอกชน และโครงสรา งพื้นฐานที่ปรับตัวดีขึน้ - การกระจายรายไดของการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคปรับตัวดีข้ึน เล็กนอย - การลงทนุ เพอื่ การวจิ ัยและพัฒนามีแนวโนมสงู ข้นึ อยางตอ เนื่อง ๓. ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย - คนไทยมคี ณุ ภาพชีวติ สุขภาวะ และความเปนอยดู ขี นึ้ - ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตยังคงมีความ แตกตางของคณุ ภาพการศึกษา - การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเปนอยูที่ดีของคนไทย สะทอนจากดัชนีความกาวหนา ของคน (HAI) ดขี น้ึ จากปกอนหนา โดยมคี ะแนนที่ ๐.๖๕๐๑ ๔. ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม - ปญหาความเหลอ่ื มลำ้ ระหวางกลุมประชากรมีแนวโนม เพ่มิ สงู ขนึ้ - ครวั เรอื นยากจนเพิ่มขึน้ โดยเฉพาะครัวเรือนเปราะบาง - เสนความยากจนเพิ่มขึ้น อยูที่รอยละ ๖.๘๔ เปนผลมาจากการ แพรระบาดของเช้อื โควดิ -๑๙


๓๓๔ - หนีส้ นิ ครัวเรอื นปรับตวั สูงขึน้ และเงนิ ออมในกลุมผูม ีรายไดนอ ย มแี นวโนมลดลง ๕. ดา นการสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปน มิตรตอ สง่ิ แวดลอ ม - การฟนฟขู องระบบนิเวศ สงิ่ แวดลอม และทรพั ยากรธรรมชาติของ ประเทศไทยเพม่ิ มากขน้ึ - การควบคมุ และจดั การผลกระทบทางลบจากการพฒั นาทางเศรษฐกิจ ไดรับการพัฒนาไปในทิศทางทีด่ ขี ้ึน ๖. ดานการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ - ประสิทธิภาพการบริการของภาครัฐในการตอบสนองความตองการ ของประชาชนคอ นขา งจะคงที่ - ความมีประสิทธิผลของภาครัฐระดับความพึงพอใจของประชาชน ลดลง - การพัฒนาประเทศไทยใหเปนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของไทยมี แนวโนมทีด่ มี ากขน้ึ สวนการประเมินผลกาวหนาตามเปาหมายของแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ทั้ง ๒๓ ประเด็น ประกอบดวย เปาหมายระดับประเด็น ๓๗ เปาหมาย และเปาหมาย ระดับแผนแมบทยอย ๑๔๐ เปาหมาย สิ้นสุด ณ เดือนตุลาคม ๒๕๖๔ จำนวน ๖๒,๖๔๑ โครงการ พบวา  เปา หมายระดบั ประเด็น สถานะการบรรลุเปาหมายระดับประเด็น (y2) ทั้ง ๓๗ เปาหมาย มีการพัฒนาลดลงเล็กนอยเมื่อเทียบกับ ป ๒๕๖๓ ที่มีการปรับเปลี่ยนคาสีจากสถานะการบรรลุเปาหมายระดับต่ำกวาคาเปาหมาย (สีเหลือง) เปนสถานะการบรรลุเปาหมายระดับเสี่ยง (สีสม) หรือ สถานะการบรรลุเปาหมายในระดับวิกฤต (แดง) และยังพบวาบางเปาหมายระดับประเด็นมีการพัฒนาที่ดีขึ้นโดยปรับเปลี่ยนสถานการณบรรลุเปาหมาย ระดบั เสี่ยง (สีสม ) มาเปนระดับตำ่ กวาคาเปาหมาย (สเี หลอื ง)


๓๓๕ โดยในป ๒๕๖๔ พบวา เปาหมายระดับประเด็นทีบ่ รรลตุ ามคา เปาหมาย ที่กำหนดในป ๒๕๖๕ (สีเขียว) มีจำนวน ๗ เปาหมาย หรือคิดเปน รอยละ ๑๘.๙๒ ของเปาหมายระดบั ประเด็น ซึ่งเปนเปาหมายระดับประเด็นเดิมจากป ๒๕๖๓ ที่บรรลุตามคาเปาหมาย ที่กำหนดในป ๒๕๖๕ แลว ประกอบดวย แผนแมบทระดับประเดน็ ทีบ่ รรลเุ ปาหมาย ป ๒๕๖๕ แผนแมบทฯ เปา หมายแผนแมบทระดับประเด็น ประเดน็ ที่ (๗) โครงสรา งพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส และ ๐๗๐๐๐๑ ความสามารถในการแขง ขนั ดานโครงสรา งพ้นื ฐานของประเทศดขี น้ึ ดจิ ิทัล ประเด็นท่ี (๙) เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ ๐๙๐๐๐๒ การลงทุนในพนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษทง้ั หมดไดรับการยกระดับ ประเด็นที่ (๑๓) การเสรมิ สรางใหคนไทยมสี ุขภาวะที่ดี ๑๓๐๐๐๑ คนไทยมีสขุ ภาวะท่ดี ขี น้ึ และมีความเปนอยดู เี พิม่ มากข้ึน ประเดน็ ท่ี (๑๔) ศกั ยภาพการกฬี า ๑๔๐๐๐๑ คนไทยมีสุขภาพดขี ึ้น มนี ้ำใจนกั กฬี า และมีวนิ ยั เคารพกฎกตกิ า ประเดน็ ท่ี (๑๕) พลังทางสังคม ๑๕๐๐๐๑ ทุกภาคสว นมีสว นรวมในการพัฒนาสงั คมเพ่ิมขึน้ ประเดน็ ท่ี (๑๘) การเตบิ โตอยา งยงั่ ยนื ๑๘๐๐๐๑ สภาพแวดลอ มของประเทศไทยมคี ณุ ภาพดีขึ้นอยา งยง่ั ยืน ประเดน็ ที่ (๒๐) การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธภิ าพ ๒๐๐๐๐๒ ภาครฐั มกี ารดำเนนิ การท่มี ปี ระสทิ ธิภาพดว ยการนำนวัตกรรม ภาครฐั นอกจากนี้ ในป ๒๕๖๔ สถานะการบรรลุเปาหมายแผนแมบทระดับ ประเด็น สวนมากมีสถานะการบรรลุเปาหมายที่ต่ำกวาเปาหมายที่กำหนดในป ๒๕๖๕ (สีเหลือง) มีจำนวน ๑๕ เปาหมาย หรอื รอยละ ๔๐.๕๔ ของเปาหมายระดับประเด็น ประกอบดวย


๓๓๖


๓๓๗ ในขณะที่สถานะการบรรลุเปาหมายระดับเสี่ยง (สีสม) มีเปาหมาย ระดับประเด็น จำนวน ๔ เปาหมาย หรือคิดเปนรอยละ ๑๐.๘๑ ของเปาหมายระดับประเด็น ซึ่งเปน เปา หมายระดบั ประเด็นเดิมจากป ๒๕๖๓ ประกอบดว ย อยางไรก็ตาม สถานะการบรรลุเปาหมายในระดับวิกฤต (แดง) ของ เปาหมายระดับประเด็นในป ๒๕๖๔ มีจำนวน ๑๑ เปาหมายประเด็น หรือคิดเปนรอยละ ๒๙.๗๓ ของ เปา หมายระดบั ประเด็น ไดแก


๓๓๘  เปา หมายระดบั แผนแมบทยอย เปาหมายระดับแผน แมบทยอย (y1) รวม ๑๔๐ เปาหมาย พบวา ใน ป ๒๕๖๔ มีเปาหมายที่บรรลุ ตามที่กำหนดไวในป ๒๕๖๕ แลว (สีเขียว) จำนวน ๓๙ เปาหมาย คิด เปนรอยละ ๒๗.๘๖ ของเปาหมายแผนยอยทั้งหมด เพิ่มขึ้นจำนวน ๙ เปาหมาย จากป ๒๕๖๓ ที่มีจำนวน ๓๐ เปาหมาย ขณะที่เปาหมายระดับแผนแมบทยอย จำนวน ๗๘ เปาหมาย ยังคง มีสถานะการบรรลุเปาหมายในระดับที่ต่ำกวาคาเปาหมาย แตคาดวาจะสามารถบรรลุเปาหมาย ตามที่กำหนดไวในป ๒๕๖๕ ประกอบดวย เปาหมายที่มีสถานการณบรรลุเปาหมายเปนสีเหลือง จำนวน ๔๓ เปาหมาย คิดเปนรอยละ ๓๐.๗๑ ของเปาหมายแผนแมบทยอย และสีสม จำนวน ๓๕ เปาหมาย คิดเปนรอยละ ๒๕.๐๐ ของเปาหมายระดับแผนแมบทยอยและยังคงเปนเปาหมายที่ต่ำกวา คาเปาหมายในระดับวิกฤตที่มีสีแดง รวม ๒๓ เปาหมาย คิดเปนรอยละ ๑๖.๔๓ ของเปาหมาย แผนยอยทั้งหมด ซึ่งเทากับป ๒๕๖๓ ที่มีจำนวน ๒๓ เปาหมาย อยางไรก็ตาม เนื่องจากมีการปรับปรุง ขอมูลตัวชี้วัดในบางเปาหมายแผนแมบทยอยจึงทำใหคาสีสถานะการบรรลุเปาหมายของปที่ผานมา มีการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบสถานะการบรรลุเปาหมายของแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติ ระหวางป ๒๕๖๓ และ ๒๕๖๔ พบวา เปาหมายที่บรรลุตามที่กำหนดไว ในป ๒๕๖๕ (สีเขียว) จาก ๓๙ เปาหมาย แผนแมบทยอย มีจำนวน ๑๑ เปาหมายแผนแมยอย จาก ๗ แผนแมบทฯ ทม่ี ีสถานะการดำเนินพฒั นาในทศิ ทางที่ดขี ้นึ ประกอบดว ย


๓๓๙ เปาหมายแผนแมบทยอยมกี ารพฒั นาจากปกอนหนา โดยมีสถานการณบ รรลุคาเปา หมาย ป ๒๕๖๕ แผนแมบทฯ เปา หมายแผนแมบ ทยอย ประเด็นท่ี (๓) การเกษตร ๐๓๐๓๐๑ สนิ คา เกษตรชวี ภาพ ๐๓๐๕๐๑ สินคาทไ่ี ดจ ากเทคโนโลยีสมยั ใหม/อจั ฉริยะมีมูลคา เพ่มิ ขึน้ ๐๓๐๕๐๒ ผลผลติ ตอหนว ยของฟารม หรือแปลงทมี่ ีการใชเทคโนโลยีสมัยใหม/ อจั ฉริยะเพมิ่ ขน้ึ ประเด็นที่ (๗) โครงสรางพนื้ ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส และ ๐๗๐๒๐๓ ประสิทธภิ าพการใชพ ลงั งานของประเทศเพิ่มข้ึน ดิจิทัล ประเดน็ ที่ (๙) เขตเศรษฐกิจพิเศษ ๐๙๐๓๐๒ การลงทนุ ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประเด็นท่ี (๑๘) การเตบิ โตอยา งย่งั ยืน ๑๘๐๒๐๑ ความสมบรู ณข องระบบนเิ วศทางทะเลเพม่ิ ข้นึ ประเดน็ ท่ี (๑๙) การบริหารจัดการนำ้ ทงั้ ระบบ ๑๙๐๒๐๑ ระบบความม่ันคงดา นน้ำในเขตเมอื งเพิม่ ข้นึ ประเด็นที่ (๒๒) กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม ๒๒๐๑๐๓ ประชาชนมสี วนรว มในการพัฒนากฎหมาย ประเดน็ ที่ (๒๓) การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม ๒๓๐๑๐๒ วิสาหกจิ ในกลมุ เปา หมายดานเศรษฐกจิ ทม่ี ีนวตั กรรมเพม่ิ ข้ึน ๒๓๐๒๐๑ คุณภาพชีวติ ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย และความเสมอภาคทาง สงั คมไดรับการยกระดบั เพมิ่ ข้ึน จากการวิจยั และพัฒนานวตั กรรม เชงิ สงั คม ๒๓๐๓๐๑ การประยกุ ตใ ชความรู เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมในการเพิ่มมูลคาของ เศรษฐกจิ สเี ขียวอยางย่งั ยืนเพ่ิมขน้ึ อยางไรก็ตาม พบวามีเปาหมายแผนแมบทยอย จำนวน ๙ เปาหมายยอย ท่ีมกี ารปรับคา สถานะจากเดมิ เปน สถานะการบรรลุเปาหมายในระดบั วิกฤต (สแี ดง) ดังนี้


๓๔๐ ทงั้ นี้ เมื่อพิจารณารายละเอียดของผลการเปรียบเทียบสถานะการบรรลุ เปาหมายของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ทั้ง ๒๓ ประเด็น ในระหวางป ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ จะแสดงผล ดงั ตอไปนี้


๓๔๑  จำนวนโครงการที่สอดคลองกับเปาหมายระดับประเด็นและ เปาหมายแผนแมบ ทยอ ย เมื่อพิจารณาจำนวนโครงการที่สอดคลองกับเปาหมายระดับประเด็น และเปาหมายแผนแมบทยอย พบวา ตั้งแตมีการเปดใชร ะบบ eMENSCR จนถึงสิ้นเดือนตุลาคม ๒๕๖๔ มีโครงการในระบบ eMENSCR ที่ผานการอนุมัติจากผูบริหาร (M7) แลว จำนวน ๖๒,๖๔๑ โครงการ โดยแผนแมบทฯ ประเด็น (๑๒) การพัฒนาการเรียนรูมีจำนวนโครงการมากที่สุด คิดเปนรอยละ ๒๑.๕๕ ของจำนวนโครงการที่ผาน M7 ทั้งหมด ในระบบ eMENSCR ซึ่งเปนแผนแมบทฯ ที่เกี่ยวกับ ยทุ ธศาสตรชาตดิ านการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ขณะทีแ่ ผนแมบทฯ ประเดน็ ทม่ี จี ำนวนโครงการนอ ยทสี่ ุดเปน แผนแมบ ทฯ เก่ียวของกับยุทธศาสตรช าตดิ านการสรา งความสามารถ ในการแขงขัน อาทิ ประเด็น (๔) อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ที่มีจำนวนโครงการ ๔๘๕ โครงการหรือคิดเปนรอยละ ๐.๗๘ ของจำนวนโครงที่ผาน M7 ทั้งหมดในระบบระบบ eMENSCR หรือ ประเด็น (๙) เขตเศรษฐกิจพิเศษ มีจำนวนโครงการ ๒๙๕ โครงการหรือคิดเปนรอยละ ๐.๔๗ ของ จำนวนโครงการที่ผาน M7 ทั้งหมดในระบบ eMENSCR สวนแผนแมบทฯ ประเด็น (๑๒) การ พฒั นาการเรยี นรู มีจำนวนโครงการมากท่ีสดุ ซึง่ มโี ครงการจำนวนท้ังสน้ิ ๑๓,๔๔๗ โครงการ โดยเปน เปาหมายระดับประเด็นคนไทย มีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้นมีทักษะที่จำเปน ของโลกศตวรรษที่ ๒๑ สามารถในการแกปญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานรวมกับผูอื่นไดอยางมี ประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต มีจำนวนโครงการทั้งสิ้น ๑๒,๓๖๓ โครงการ อยา งไรก็ตาม เปา หมายระดับประเด็นดังกลาวถึงมีจำนวนโครงการมากทส่ี ุดในระบบ แตยังคง มีสถานะการบรรลุเปาหมายในระดับวิกฤต (สีแดง) และเปาหมายระดับประเด็น คนไทยไดรับ การพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และความสามารถของพหุปญญาดขี ึ้น ซึ่งมสี ถานะการบรรลุ เปาหมายในระดับต่ำกวาคาเปาหมาย (สีเหลือง) จำนวน ๑,๐๘๔ โครงการ และเมื่อพิจารณาในราย เปาหมายแผนแมบทยอยจำนวน ๒ เปาหมาย พบวา เปาหมายแผนแมบทยอยคนไทยไดรับการศึกษา ท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทกั ษะการเรยี นรู และทักษะทจี่ ำเปน ของโลกศตวรรษ ท่ี ๒๑ สามารถเขาถึง การเรยี นรูอยางตอ เนอื่ งตลอดชีวิตดีขึ้นมีการปรบั คาสถานะการบรรลุเปาหมายจากระดับวกิ ฤต (สีแดง) เปนระดับต่ำกวาคาเปาหมาย (สีเหลือง) โดยมีจำนวนโครงการมากถึง ๑๒,๖๘๙ โครงการ ในขณะท่ี ประเด็นทม่ี โี ครงการจำนวนมากเปนอนั ดบั ท่ี ๒ คือ แผนแมบ ทฯ ประเดน็ (๑๑) การพัฒนาศักยภาพ คนตลอดชวงชีวิต เปาหมายระดับประเด็น คนไทยทุกชวงวัยมีคุณภาพไดรับการพัฒนาอยางสมดุล ทั้งดานรางกาย สติปญญา และคุณธรรมจริยธรรม เปนผูที่มีความรูและทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ รักการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต มีโครงการภายใตแผนแมบทฯ ทั้งสิ้น ๙,๓๘๕ โครงการ ซึ่งมี สถานะบรรลุเปาหมายในระดับต่ำกวาคาเปาหมาย (สีเหลือง) ทั้งนี้ หากพิจารณาหนวยงานระดับ


๓๔๒ กระทรวงที่มีการบันทึกขอมูลโครงการ/การดำเนินการ ในระบบ eMENSCR มากที่สุด พบวา กระทรวงศึกษาธิการไดนำเขาขอมูลโครงการ/การดำเนินการ ในระบบ eMENSCR จำนวน ๒๐,๗๖๖ โครงการ โดยมีความเกี่ยวของกับแผนแมบทฯ ประเด็น (๑๒) การพัฒนาการ เรียนรู ถึง ๘,๙๗๓ โครงการ หรอื คิดเปนรอยละ ๔๓.๒๑ ของโครงการภายใตกระทรวงศึกษาธกิ าร ๑.๑.๒ ประเดน็ ทาทายและการดำเนนิ การในระยะตอไป  ประเดน็ ทาทาย สถานะการบรรลุเปาหมายของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ พบวา ในภาพรวมป ๒๕๖๔ มีเปาหมายที่มีสถานะการบรรลุเปาหมาย (สีแสดงสถานะสีเขียว) เทากับป ๒๕๖๓ จำนวน ๗ เปาหมาย และมี ๔ เปาประเด็นของแผนแม บทฯ ที่มีสถานการณดำเนินการ ในทิศทางที่ดีขึ้น แตเปาประเด็น ที่มีสถานะการบรรลุเปาหมายในระดับวิกฤต (สีแสดงสถานะ สีแดง) ในป ๒๕๖๔ มีจำนวนเพิ่มขึ้นกวาป ๒๕๖๓ และ ป ๒๕๖๒ ซึ่งเปนประเด็นที่ยังคงมีสีแสดงสถานะ ดงั เดิม ไดแก แผนแมบทฯ ประเดน็ (๑) ความมนั่ คง แผนแมบทฯ ประเดน็ (๓) การเกษตร แผนแมบทฯ ประเด็น (๔) อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต แผนแมบทฯ ประเด็น (๕) การทองเท่ยี ว แผนแมบ ทฯ ประเด็น (๖) พื้นที่และเมืองนาอยู แผนแมบทฯ ประเด็น (๑๒) การพัฒนาการเรียนรู แผนแมบทฯ ประเด็น (๒๑) การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนแมบทฯ ประเด็น (๒๓) การวิจัย และพัฒนานวัตกรรม นอกจากนี้ยังมีประเด็น ที่มีการปรับลดสีแสดงสถานะมาเปนสีแดง ไดแก แผนแมบทฯ ประเด็น (๔) อุตสาหกรรมและบริการ แหงอนาคต เปาหมาย ผลิตภาพการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเพิ่มขึ้น และแผนแมบทฯ ประเด็น (๑๙) การบริหารจัดการน้ำ ทั้งระบบ เปาหมาย ผลิตภาพของน้ำทั้งระบบเพิ่มขึ้นในการใชน้ำอยางประหยัดและสรางมูลคาเพ่ิม จากการใชนำ้ จะเห็นไดวา การดำเนินการยังคงมีความทาทาย ปญหาและอุปสรรค หลายประการที่สะทอนใหเห็นถึงขอจำกัดของการมองเปาหมายรวมกันของหนวยงานในการ ถายทอดเปาหมายของยุทธศาสตรชาติและของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ สงผลใหยังคงมีความเสี่ยง ในการบรรลุผลสัมฤทธิ์และผลลัพธเปาหมายการพัฒนาของยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทฯ ดังนั้น ประเด็นทาทายที่สำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อบรรลุ ผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติ แนวโนมการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ของบริบทโลกที่คาดวา อาจสงผลตอบริบทการพัฒนาประเทศในมิติตาง ๆ รวมทั้งความจำเปนในการฟนฟูประเทศกลับสูระดับ การพัฒนากอนสถานการณการแพรระบาดของเชื้อโควิด ๑๙ สำนักงานฯ จึงมีขอเสนอใหหนวยงาน


๓๔๓ ของรัฐดำเนินการตามหลักการ PDCA๑ ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตรชาติ ในการขับเคลื่อนประเทศใหบรรลุผลสัมฤทธิ์และผลลัพธตามเปาหมายของ ยุทธศาสตรชาติ และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติไดอยางตอเนื่องและเปนรูปธรรมในระยะ ตอไป ทั้งนี้ หลักการ PDCA ดังกลาว ความสำคัญจะอยูท่ีหลัก Do ซึ่งที่ผานมา พบปญ หาอปุ สรรคสำคญั ดงั นี้ ๑) โครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปา หมายตามยทุ ธศาสตรชาติ ที่ผานมา สำนักงานฯ ไดดำเนินการประสานหนว ยงานเจา ภาพขับเคลื่อน แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ทั้ง ๓ ระดับ ประกอบดวย หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนประเด็น แผนแมบทฯ (จ.๑) หนวยงานเจาภาพขับเคลื่อนเปาหมายระดับประเด็นแผนแมบทฯ (จ.๒) และ หนวยงานเจาภาพเปาหมายระดับแผนยอย (จ.๓) รวมทั้งทุกหนวยงานของรัฐ ในระดับกรมหรือ เทียบเทา ในฐานะหนวยปฏิบัติซึ่งมีสวนเกี่ยวของโดยตรงในการขับเคลื่อนการดำเนินการตาม ยุทธศาสตรชาติใหบรรลุเปาหมายและวิสัยทัศนไดอยางเปนรูปธรรม ซึ่งมีประเด็นทาทายสรุปไดตาม ๔ แนวทางการขับเคลอ่ื นการดำเนินงานเพื่อบรรลุเปา หมายยุทธศาสตรช าติ ดังน้ี แนวทางท่ี ๑ การมองเปาหมายรวมกัน ยังพบประเด็นทาทายที่สำคัญ ประกอบดวย ในฐานะหนวยงานเจาภาพทั้ง ๓ ระดับ อาจยังไมไดมีการดำเนินการวิเคราะห ความครบถว นของหนวยงานรวมขบั เคลื่อนการดำเนินการตามปจ จยั ภายใตหว งโซคณุ คา ของเปาหมาย แผนแมบทยอยในฐานะหนวยงานเจาภาพทั้ง ๓ ระดับ ขณะที่ในฐานะหนวยงานรวมขับเคลื่อน เปาหมายแผนแมบทฯ อาจยังขาดความเขาใจในทิศทางการขับเคลื่อนประเทศและบทบาทภารกิจ หนาที่ของหนวยงานในการมีสวนรวมขับเคลื่อนเปาหมายแผนแมบทฯ ใหสามารถบรรลุเปาหมาย ๑ หลักการ PDCA ในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน : Plan - มีการจัดทำยทุ ธศาสตรช าตแิ ละแผนระดับที่ ๒ เพ่ือใชเ ปนกรอบในการจัดทำแผนใหสอดคลองและบรู ณาการกัน เกดิ การปฏิบัติไดอยางเปน รูปธรรม Do - หนวยงานของรัฐลงมือดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติและแผนระดับที่ ๒ ผานแผนระดับท่ี ๓ และการดำเนินงาน/โครงการที่มีการจัดทำโดย อางอิงขอมลู เชิงประจักษ มขี อ มลู สนบั สนุนการดำเนินการจากแหลงตาง ๆ อาทิ สถติ ิ สถานการณ และขอ มลู วิจยั Check - กลไกและภาคสวนที่เกี่ยวของกับการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติในทุกระดับ อาทิ ผูตรวจราชการ กระทรวง/กรม และ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ทำงานรวมกันอยางบูรณาการในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดำเนินงาน/ โครงการ วาสามารถเปนไปตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติและแผนระดับท่ี ๒ หรือไม ผานระบบติดตามและประเมินผลแหงชาติ (Electronics Monitoring and Evaluation System for National Strategy and Country Reform : eMENSCR) Act - กลไกและภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ดำเนินการปรับปรุง แกไข และพัฒนากระบวนการดำเนินงาน ในกรณีที่มีปจจัยตาง ๆ ที่ทำใหไม สามารถดำเนินการไดตามแผนทัง้ ๓ ระดับ ตลอดจนปรับปรุงแผนระดับที่ ๓ ใหมีความสอดคลองและเหมาะสม เพื่อนำไปสูการบรรลุเปาหมายของแผนระดับท่ี ๒ และยทุ ธศาสตรชาติไดอ ยา งเปนรูปธรรมตอไป


๓๔๔ ไดตามที่กำหนด นอกจากน้ี อาจยังไมไดมีการดำเนินการประสานบูรณาการการทำงานรวมกัน ระหวางหนวยงานทั้งหมดภายใตเปาหมายแผนแมบทยอยไดอยางบูรณาการ สงผลใหขาด ความครอบคลุมของหนวยงานตอปจจัยภายใตหวงโซคุณคาของเปาหมายแผนแมบทยอย รวมท้ัง การดำเนินงานของหนวยงานตาง ๆ ยังคงตางคนตางทำแตภารกิจของหนวยงานเปนหลัก โดยไมได คำนงึ ถึงการดำเนนิ การเพื่อขับเคลื่อนประเทศที่เปนไปในทศิ ทางเดียวกัน แนวทางท่ี ๒ การวิเคราะหหวงโซคุณคาที่สงผลใหบรรลุเปาหมาย แผนแมบทยอยและจัดทำขอเสนอโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ ยังพบประเดน็ ทาทายทสี่ ำคญั ดังน้ี (๑) การวิเคราะหหว งโซค ณุ คา ท่เี หมาะสมกับบทบาทภารกิจ หนว ยงาน อาจยังพิจารณาเลือกปจจัยภายใตองคประกอบของหวงโซคุณคาในการจัดทำโครงการ/การดำเนินงาน ไดไมครบถวนและครอบคลุม สงผลใหบางองคประกอบและบางปจจัยไมมีโครงการมารองรับ ทำใหเกิด ชองวางในการขับเคลื่อนการดำเนินการตอการบรรลุเปาหมาย จำนวน ๕ เปาหมาย ไดแก เปาหมาย แผนแมบทยอย ๐๔๐๔๐๑ ประเทศไทยเปนศูนยกลางการซอมบำรุงอากาศยานในภูมิภาค โดยเฉพาะ อากาศยานรุนใหม เปาหมายแผนแมบทยอย ๐๔๐๕๐๒ การสงออกของอุตสาหกรรมความมั่นคงของ ประเทศเพิ่มขึ้น เปาหมายแผนแมบทยอย ๐๕๐๓๐๒ อันดับดานรายไดการทองเที่ยวเชิงสุขภาพของ ประเทศไทย เปาหมายแผนแมบทยอย ๐๙๐๒๐๒ อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมของพื้นท่ี ระเบียงเศรษฐกิจภาคใตและเปาหมายแผนแมบทยอย ๑๐๐๒๐๑ ภาคธุรกิจมีบทบาทสำคัญในการ ลงทุนเพ่ือสังคมเพิ่มข้นึ (๒) การจัดทำขอเสนอโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตาม ยุทธศาสตรชาติบางหนวยงานมีการจัดทำขอเสนอโครงการไมสอดคลองกับหลักความสัมพันธเชิงเหตุ และผล XYZ (Causal Relationship) และขอเสนอโครงการของหนวยงานมีรายละเอียดตัวชี้วัด/ คาเปาหมาย/การสงผลตอการบรรลุคาเปาหมายยังไมชัดเจน รวมทั้งขอเสนอโครงการของหนวยงาน มีรายละเอียดโครงการที่มีลักษณะคลายกัน ไมมีการบูรณาการการจัดทำโครงการรวมกัน ขาดขอมูล เชิงประจักษที่สะทอนถึงการบรรลุเปาหมายแผนแมบทฯ อาทิ ขอมูลตัวเลข สถิติ และงานวิจัย นอกจากนี้ หลายหนวยงานที่มีภารกิจหลักและสนับสนุนตามหลักการการจัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อน การบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติที่สงผลตอการบรรลุเปาหมายแผนแมบทยอย ไมมี การดำเนินการจัดทำโครงการ หรือมีการจัดสงขอเสนอโครงการแตไมผานกระบวนการในการ จัดลำดับความสำคัญ ซึ่งตามหลักการการจัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมาย ตามยุทธศาสตรชาติ หนวยงานที่มีภารกิจหลักจำเปนตองมีการจัดทำโครงการรองรับเพื่อสงผลตอ


๓๔๕ การบรรลุเปาหมายแผนแมบทยอย ในขณะเดียวกัน หนวยงานที่เกี่ยวของสนับสนุนจะตองพิจารณา ความเหมาะสมในการจดั ทำโครงการท่สี ง ผลตอการบรรลเุ ปาหมายแผนแมบ ทยอ ย แนวทางที่ ๓ การจัดลำดับความสำคัญของขอเสนอโครงการ ยังพบ ประเด็นทา ทายที่สำคัญ คอื การใหค ะแนนโครงการเพอื่ ขบั เคลือ่ นการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตร ชาติของผูมีสิทธิ์ประเมินคะแนนในหลายเปาหมายอาจไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน สะทอนไดจาก ความสัมพันธของคะแนนที่ผานการวิเคราะหทางกระบวนการทางสถิติในการจัดลำดับความสำคัญของ โครงการฯ ซึ่งอาจเกิดจากขอจำกัดในความเขาใจในรายละเอียดของโครงการและหลักการการให คะแนนของผูมีสิทธิ์ประเมิน รวมทั้งหวงโซคุณคาฯ และหลักการความสัมพันธเชิงเหตุและผล (XYZ) ในการถา ยระดับแผนและโครงการฯ แนวทางที่ ๔ การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ยังคงพบประเด็นทาทาย ที่สำคัญ คือ หนวยงานของรัฐไมมีการนำเขาแผนฯ ในระบบ eMENSCR ซึ่งจากการตรวจสอบขอมูล ผานทางระบบ eMENSCR พบวา หนวยงานของรัฐไดมีการนำเขาแผนปฏิบัติราชการ จำนวน ๕๕๐ แผน โดยจำแนกเปน แผนปฏิบัติราชการราย ๕ ป จำนวน ๗๕ แผน และแผนปฏิบัติราชการรายป จำนวน ๔๗๕ แผน (ขอมูล ณ ตลุ าคม ๒๕๖๔) ๒) การจดั ทำแผนระดบั ที่ ๓ ในสวนของแผนปฏิบตั กิ ารดาน... จากขอมูลการพิจารณากลั่นกรองของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสงั คมแหงชาติเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรที ี่ผา นมา พบวา (๑) แผนปฏิบัติการดาน... ไมมีการปรับปรุงใหสอดคลองกับแผนระดับ ท่ี ๑ และ/หรือแผนระดบั ๒ (๒) แผนปฏิบัติการดาน... ในสวนของกรอบระยะเวลาการดำเนินการ จัดทำแผนฯ ไมเปนไปตามหวงเวลาของแผนแมบทฯ ที่กำหนดไว (ป ๒๕๖๕ ๒๕๗๐ ๒๕๗๕ และ ๒๕๘๐) (๓) แผนปฏิบัติการดาน... อาจมีความซ้ำซอน (เนื่องจากมีหลายแผน จากหลายหนว ยงานในประเดน็ เดียวกัน) (๔) แผนปฏิบัติการดาน... หลายแผนฯ หนวยงานจัดทำขึ้น โดยไมมี ความจำเปนและไมมกี ฎหมายรองรับใหจ ัดทำแผนฯ  ขอเสนอแนะตอประเด็นทาทายและการดำเนนิ การในระยะตอ ไป สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติจึงมีขอเสนอ ใหหนวยงานของรัฐดำเนินการตามหลักการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ในการติดตาม ตรวจสอบ


๓๔๖ และประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตรชาติ ในการขับเคลื่อนประเทศใหบรรลุผลสัมฤทธิ์และ ผลลัพธตามเปาหมายของยุทธศาสตรชาติและแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติไดอยางตอเนื่องและ เปน รูปธรรมในระยะตอ ไป ดงั น้ี • Plan : หนวยงานของรัฐตองดำเนินการตามยุทธศาสตรชาติและ แผนระดับท่ี ๒ โดยเฉพาะอยางยิ่งแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และหวงโซคุณคาของประเทศ ไทย (Final Value Chain Thailand : FVCT) ที่มีรายละเอียดองคประกอบและปจจัยที่จะสงผล ตอการบรรลุเปาหมายแผนแมบทยอย เพื่อเปนกรอบในการวางแผนการดำเนินงานตาง ๆ ตามภารกิจ หนาที่ของหนวยงาน ทั้งนี้ หนวยงานของรัฐจะตองมองเปาหมายการพัฒนาประเทศเปนเปาหมายการ ทำงานรว มกันของหนว ยงาน ตามหลกั การความสัมพันธเ ชงิ เหตแุ ละผล (Causal Relationship : XYZ) • Do : หนวยงานของรัฐจะตองจัดทำแผนระดับท่ี ๓ โดยเฉพาะ แผนปฏิบัติราชการราย ๕ ป และแผนปฏิบัติราชการรายปที่สอดคลองกับหวงเวลาของแผนแมบทฯ และจะตอง วางแผนจัดทำโครงการ/การดำเนินงานที่สามารถสงผลตอการบรรลุเปาหมายแผนแมบทฯ และแผน ระดบั ท่ี ๒ ที่เกี่ยวของ ดงั นี้ ๑) จัดทำโครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตร ชาติ ไดแก (๑) จัดทำโครงการการดำเนินงานตาง ๆ ที่สอดคลองกับ (ราง) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ (๒) ใชฐานขอมลู เชงิ ประจักษป ระกอบการจัดทำโครงการ ๒) ศึกษาทำความเขาใจบทบาทภารกิจของหนวยงานในการจัดทำ โครงการเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ ที่สงผลตอการบรรลุเปาหมาย ยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ไดแ ก (๑) ศึกษาความเกี่ยวของกับเปาหมายแผนแมบทยอย เพื่อมอง เปา หมายการพฒั นารวมกัน อันจะเปนประโยชนต อ การดำเนินโครงการในระดับแผนแมบทใหสอดคลอง และ เปนไปในทศิ ทางเดียวกนั ซง่ึ จะเปนการปดชองวา งของนโยบาย (Policy Gap) ของแตละหนว ยงาน ที่มีหนาที่และพันธกิจแตกตางกัน ทั้งน้ี หนวยงานควรใหความสำคัญตอการวิเคราะหวัตถุประสงค ผลผลิต ผลลพั ธ ตัวชว้ี ดั รวมถึงกลมุ เปาหมายใหมีความชัดเจน เพอื่ ใหง ายตอ การติดตามและประเมินผล ของการดำเนนิ งานใหบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ (๒) ยึดหลักการความสัมพันธเชิงเหตุและผล (XYZ) โดยอาศัย ขอมูลเชิงประจักษจากแหลงขอมูลที่มีความนาเชื่อถือ รวมทั้งใหความสำคัญกับองคประกอบภายใต


๓๔๗ หว งโซคุณคา ทย่ี ังไมป รากฏในการจดั ทำโครงการเพอ่ื ขับเคล่ือนการบรรลเุ ปาหมายฯ ดงั น้นั จึงตองมีการ วิเคราะหเพื่อระบุหรือชี้ชัดใหไดวายังขาดองคประกอบใดอีกบางภายใตหวงโซคุณคาของเปาหมาย แผนบทยอยที่จะตองไดรับการเติมเต็มองคประกอบภายใตหวงโซคุณคาใหครบถวน นอกจากนั้น หนวยงานควรมีการบูรณาการการดำเนินงานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และหนวยงานสนับสนุนหลกั ตอ งมโี ครงการฯ ทีร่ องรับการดำเนนิ การภายใตเปาหมายแผนแมบ ทยอยทีเ่ กยี่ วขอ งดวย (๓) ศึกษาและทำความเขาใจกระบวนการประเมินโครงการ ซ่งึ อยูบ นหลักการมองเปาหมายรว มกนั • Check : หนวยงานของรัฐทุกหนวยงานตองนำเขาแผนระดับท่ี ๓ และรายงานผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนในระบบ eMENSCR รวมทั้งนำเขา โครงการ/การ ดำเนินงานในระบบ eMENSCR และรายงานผลการดำเนินการตามกรอบระยะเวลาที่กำหนดตาม ระเบียบอยางเครงครัด เพื่อที่กลไกและภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของสามารถติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลในการดำเนนิ การตามยุทธศาสตรชาตไิ ดอยา งเปนระบบอยางบรู ณาการ • ACT : กลไกและภาคสวนตาง ๆ จะตองนำขอมูลจากแหลงตาง ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ ง อาทิ ระบบ eMENSCR ขอ มูลในรูปแบบไฟล JSON ขอมูลจากระบบ Open-D ขอ มูลหวงโซ คุณคาประเทศไทย (Final Value Chain Thailand : FVCT) ไปใชประกอบการประมวลและวเิ คราะห เชิงลึก เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการปรับปรุง แกไข และพัฒนากระบวนการจัดทำแผนระดับที่ ๓ โครงการและการดำเนินงานเพื่อปดชองวางการพัฒนาใหสอดคลองกับสถานการณบรรลุเปาหมาย ของยุทธศาสตรช าตไิ ดอยา งมปี ระสิทธภิ าพตอไป ๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินการทางดานงบประมาณที่เกี่ยวของกับการดำเนินการตาม ยทุ ธศาสตรช าติ ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑.๒.๑ การจัดทำงบประมาณรายจายประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ การจัดทำงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนด กรอบวงเงินไว จำนวน ๓,๒๘๕,๙๖๒.๔๗๙๗ ลานบาท1๒ โดยรัฐบาลใหความสำคัญกับความสอดคลอง กับยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นโยบายและแผน ระดับชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) แผนการปฏิรูปประเทศ และนโยบาย รฐั บาล เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแนวทางการพฒั นาของยุทธศาสตรชาติใหเกดิ ผลอยางเปน ๒ มีการพิจารณาปรับลดในการพิจารณาของสภาผูแทนราษฎร จากเดิมที่เสนอราง จำนวน ๓,๓๐๐,๐๐๐.๐๐๐๐ ลานบาท คงตั้งวงเงินงบประมาณไว จำนวน ๓,๒๘๕,๙๖๒.๔๗๙๗ ลา นบาท


๓๔๘ รูปธรรม และบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนที่กำหนด โดยกำหนดโครงสรางยุทธศาสตรการจัดสรร งบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ตามยุทธศาสตรชาติ ๖ ดาน จำนวน ๒,๙๐๗,๐๔๕.๗ ลานบาท และรายการคา ดำเนินการภาครฐั จำนวน ๓๙๒,๙๕๔.๓ ลานบาท ซึง่ สรปุ การ จดั สรรงบประมาณเพอื่ ขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรชาตใิ นประเด็น สำคัญได ดังน้ี ๑.๒.๑.๑ งบประมาณสนับสนุนยุทธศาสตรชาติ พบวา ยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมไดรับจัดสรรงบประมาณมากที่สุด จำนวน ๗๙๕,๘๐๖.๐๙๔๑ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๒๔.๑๒ ของงบประมาณรายจายประจำป รองลงมา คือ ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย จำนวน ๕๗๗,๗๕๕.๑๖๘๘ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๗.๕๑ ของงบประมาณรายจายประจำป และยุทธศาสตรดานการปรับสมดุล และพัฒนาระบบบริหารภาครัฐ จำนวน ๕๕๖,๕๒๘.๗๕๙๘ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๖.๘๖ ของ งบประมาณรายจายประจำป ๑.๒.๑.๒ งบประมาณสนับสนุนแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ พบวา แผนแมบทการสรางความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ไดรับจัดสรรงบประมาณมากที่สุด จำนวน ๓๗๖,๐๙๓.๗๐๖๘ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๑.๔๐ ของงบประมาณรายจายประจำป รองลงมา คือ แผนแมบทการเสริมสรางพลังทางสังคม จำนวน ๓๕๑,๙๘๖.๔๖๙๕ ลานบาท คิดเปน รอยละ ๑๐.๖๗ ของงบประมาณรายจายประจำป และแผนแมบ ทการเสริมสรางความม่ันคงของประเทศ งบประมาณ จำนวน ๑๕๗,๖๖๐.๕๘๘๕ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๔.๗๘ ของงบประมาณรายจาย ประจำป นอกจากน้ี ยังพบวา การจัดสรรงบประมาณป ๒๕๖๔ มีงบประมาณ เกี่ยวกับการดำเนินภารกิจเพื่อสนับสนุนงานยุทธศาสตรแตละดาน (รวม ๖ ดาน) สูงถึง ๑,๖๑๒,๙๐๔.๓๖๘๓ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๔๘.๘๘ ของงบประมาณรายจายประจำป ซึ่งงบประมาณจำนวนดังกลาวถูกจัดไวในรายการอื่น ๆ ภายใตแผนแมบทตามระบบการจัดการ งบประมาณอิเล็กทรอนิกส : e-Budgeting ทำใหไมมีความชัดเจนวาเปนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน แผนแมบทประเด็นใดที่จะนำไปสูการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ การที่เปนเชนน้ี เนื่องจาก โครงสรางการจัดสรรงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ แตละดาน กำหนดให เชื่อมโยงกับแผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร ดานตาง ๆ แผนงานพื้นฐานเพื่อสนับสนุน ยุทธศาสตรดานตาง ๆ และแผนงานบุคลากรภาครัฐ ประกอบกับการนำแนวทางการพัฒนาตาม แผนแมบทฯ ซึ่งมีเนื้อหาสาระคอนขางกวางอยูแลวมากำหนดเปนนโยบายการจัดสรรงบประมาณ แตโครงสรางแผนงานที่มีอยูไมครอบคลุมภารกิจบางหนวยงาน ทำใหหนวยรับงบประมาณเสนอขอรับ การสนบั สนนุ ผานแผนงานสนบั สนุน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook