Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Published by ครูปาตีเม๊าะ, 2020-09-03 23:15:24

Description: ตัวชี้วัดที่ต้องรู้และควรรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางตอ้ งรูแ้ ละควรรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุม่ พฒั นาหลักสตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 15 สงิ หาคม 2559

สรุปตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ช้ัน ตวั ชี้วดั ทง้ั หมด ตอ้ งรู้ ควรรู้ หมายเหตุ ป.๑ 22 17 5 ป.๒ 27 20 7 ป.๓ 31 24 7 ป.๔ 33 26 7 ป.๕ 33 28 5 ป.๖ 34 28 6 ม.๑ 35 31 4 ม.๒ 32 26 6 ม.๓ 36 30 6 ม.๔ - ๖ 36 31 5 รวม 319 261 58 ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชน้ั ที่ รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.๑ ๑ ท ๑.๑ ป.๑/๑ ๑. อา่ นออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง  การอา่ นออกเสียงและบอก  ท ๑.๑ ป.๑/๒ และข้อความสัน้ ๆ ความหมายของคาพน้ื ฐาน ๒. บอกความหมายของคา ไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐๐ คา ประกอบด้วย และข้อความท่ีอา่ น - คาท่ีมรี ปู วรรณยกุ ต์และไมม่ ีรปู วรรณยุกต์ - คาท่มี ีตวั สะกดตรงตามมาตรา และไมต่ รงตามมาตรา - คาที่มพี ยัญชนะควบกล้า - คาท่ีมีอักษรนา ๒ ท ๑.๑ ป.๑/๓ ๓. ตอบคาถามเกย่ี วกบั เรื่องที่อ่าน  การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ  ท ๑.๑ ป.๑/๔ ๔. เลา่ เร่ืองย่อจากเรื่องท่ีอา่ น เช่น ท ๑.๑ ป.๑/๕ ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอ่าน - นทิ าน - วรรณคดีและวรรณกรรม ในหนงั สือเรียน - บทเรยี นจากกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ อ่ืน ๆ ๓ ท ๑.๑ ป.๑/๖ ๖. อา่ นหนังสือตามความสนใจ  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่  อยา่ งสมา่ เสมอและนาเสนอ - หนังสอื ท่ีนกั เรยี นสนใจ เรือ่ งท่ีอ่าน และเหมาะสมกบั วยั - หนังสอื ทค่ี รแู ละนกั เรียนกาหนด รว่ มกัน ๔ ท ๑.๑ ป.๑/๗ ๗. บอกความหมายของเคร่ืองหมาย  การอา่ นเครือ่ งหมาย หรอื  หรือสัญลักษณ์สาคัญที่มกั พบเหน็ สัญลกั ษณ์ในชวี ติ ประจาวนั ในชีวิตประจาวัน ๕ ท ๑.๑ ป.๑/๘ ๘. มมี ารยาท ในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน เชน่  - ไม่อา่ นเสยี งดังรบกวนผอู้ ื่น - ไม่เลน่ กันขณะทอ่ี า่ น - ไมท่ าลายหนังสอื ๖ ท ๒.๑ ป.๑/๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั  ตามรปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย ๗ ท ๒.๑ ป.๑/๒ ๒. เขยี นสื่อสารด้วยคาและประโยค  การเขยี นสะกดคาพนื้ ฐาน  ง่าย ๆ ไม่น้อยกว่า 600 คา - คาทีใ่ ช้ในชีวิตประจาวัน - คาพ้ืนฐานในบทเรียน - ประโยคงา่ ย ๆ ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒ ชั้น ที่ รหสั ตวั ชี้วดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.1 ๘ ท ๒.๑ ป.๑/๓ ๓. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น เชน่  - เขยี นใหอ้ า่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆ่า - ไม่ขดี เขียนในที่สาธารณะ - ใช้ภาษาเขยี นเหมาะสมกับ เวลา สถานที่ และบุคคล ๙ ท ๓.๑ ป.๑/๑ ๑. ฟงั คาแนะนา คาสง่ั ง่าย ๆ  การฟังและปฏิบตั ิตามคาแนะนา  และปฏบิ ัตติ าม คาส่ังงา่ ย ๆ ๑๐ ท ๓.๑ ป.๑/๒ ๒. ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองท่ีฟงั และดู  การจบั ใจความจากเร่อื งที่ฟงั และดู  ท ๓.๑ ป.๑/๓ ทง้ั ท่เี ปน็ ความรแู้ ละความบันเทงิ ท้ังที่เป็นความรูแ้ ละความบนั เทงิ ๓. พูดแสดงความคิดเหน็ และ เชน่ ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟงั และดู - นทิ าน - การ์ตนู ๑๑ ท ๓.๑ ป.๑/๔ ๔. พดู ส่อื สารได้ตามวัตถุประสงค์  การพูดสื่อสารในชวี ิตประจาวัน เช่น  - การแนะนาตนเอง - การกลา่ วคาทักทาย ๑๒ ท ๓.๑ ป.๑/๕ ๕. มีมารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง เชน่  และการพดู - ต้งั ใจฟัง ตามองผู้พูด - ไมร่ บกวนผู้อืน่ ขณะทฟี่ ัง - ไมค่ วรนาอาหาร หรือเครื่องดม่ื ไปรับประทานขณะท่ีฟัง - ใหเ้ กียรติผพู้ ูดด้วยการปรบมอื - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ีฟงั  มารยาทในการดู เช่น - ตงั้ ใจดู - ไม่สง่ เสียงดงั หรอื แสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อื่น  มารยาทในการพดู เช่น - ใชถ้ ้อยคาและกริ ยิ าที่สภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ า้ เสียงนุ่มนวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะที่ผู้อนื่ กาลังพดู ๑๓ ท ๔.๑ ป.๑/๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ  พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์  วรรณยุกต์ และเลขไทย  เลขไทย ๑๔ ท ๔.๑ ป.๑/๒ ๒. เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย  หลกั การแจกลูก สะกดคา  ของคา  หลกั การใช้มาตราตวั สะกด ทตี่ รงตามมาตราและไม่ตรง ตามมาตรา ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓ ชั้น ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้  ป.1 ๑๕ ท ๔.๑ ป.๑/๓ ๓. เรยี บเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ  การแต่งประโยค   ๑๖ ท ๔.๑ ป.๑/๔ ๔. ตอ่ คาคลอ้ งจองงา่ ย ๆ  คาคล้องจอง ๑7 5 ๑๗ ท ๕.๑ ป.๑/๑ ๑. บอกข้อคดิ ทีไ่ ด้จากการอ่าน  วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง สาหรับเด็ก เชน่ ท ๕.๑ ป.๑/๒ หรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้ว - นทิ าน - เรือ่ งสั้น ๆ และรอ้ ยกรองสาหรับเด็ก - ปริศนาคาทาย - บทร้องเล่น ๒. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด - บทอาขยาน - บทรอ้ ยกรอง และบทร้อยกรองตามความสนใจ  วรรณคดีและวรรณกรรม ในบทเรียน รวม ๒๒ ตัวช้ีวัด ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๔ ช้นั ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.๒ ๑ ท ๑.๑ ป.๒/๑ ๑. อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง  การอ่านออกเสียงและการบอก  ท ๑.๑ ป.๒/๒ ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ความหมายของคาพ้นื ฐาน ได้ถูกต้อง ไม่น้อยกวา่ ๘๐๐ คา โดยเพ่มิ จาก ๒. อธิบายความหมายของคา ป.1 ดังนี้ และข้อความที่อา่ น - คาทีม่ ีตวั การนั ต์ - คาท่มี ี รร - คาที่มีพยัญชนะและสระ ทไ่ี ม่ออกเสยี ง ๒ ท ๑.๑ ป.๒/๓ ๓. ตัง้ คาถามและตอบคาถามเกีย่ วกับ  การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ  ท ๑.๑ ป.๒/๔ เรือ่ งท่ีอา่ น เชน่ ท ๑.๑ ป.๒/๕ ๔. ระบใุ จความสาคญั และรายละเอียด - นทิ าน จากเร่อื งท่ีอ่าน - ขอ้ เขยี นเชงิ อธบิ ายหรือข้อแนะนา ๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน - วรรณคดีและวรรณกรรม เหตุการณจ์ ากเร่ืองที่อ่าน ในหนังสือเรยี น - บทเรียนจากกลุม่ สาระการเรยี นรู้ อื่น ๆ ๓ ท ๑.๑ ป.๒/๖ ๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เช่น  อยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอ - หนงั สอื ทนี่ กั เรยี นสนใจ เรือ่ งท่ีอ่าน และเหมาะสมกบั วัย - หนังสอื ทค่ี รแู ละนักเรียนกาหนด ร่วมกนั ๔ ท ๑.๑ ป.๒/๗ ๗. อา่ นข้อเขียนเชิงอธบิ าย และปฏบิ ัติ  การอ่านข้อเขียนเชิงอธบิ าย  ตามคาส่งั หรือข้อแนะนา และปฏิบตั ติ ามคาส่งั หรือ ข้อแนะนา - การใชส้ ถานที่สาธารณะ - คาแนะนาการใชเ้ คร่ืองใช้ท่ีจาเป็น ในบ้านและในโรงเรยี น ๕ ท ๑.๑ ป.๒/๘ ๘. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน เชน่  - ไมอ่ า่ นเสยี งดังรบกวนผูอ้ ่นื - ไมเ่ ล่นกนั ขณะทอี่ ่าน - ไมท่ าลายหนังสอื - ไมค่ วรแยง่ อ่าน หรอื ชะโงกหน้า ไปอา่ นขณะที่ผู้อน่ื กาลังอ่านอยู่ ๖ ท ๒.๑ ป.๒/๑ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  ตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทย ๗ ท ๒.๑ ป.๒/๒ ๒. เขียนเร่อื งสนั้ ๆ เกย่ี วกับประสบการณ์  การเขียนเรื่องสน้ั ๆ  ท ๒.๑ ป.๒/๓ ๓. เขียนเร่ืองส้นั ๆ ตามจนิ ตนาการ  การเขียนสะกดคาพนื้ ฐาน  ไม่น้อยกว่า 800 คา ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๕ ชัน้ ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.2 8 ท ๒.๑ ป.๒/๔ ๔. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น เชน่  - เขียนให้อ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆ่า - ไม่ขดี เขียนในท่ีสาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเ่ ขยี นล้อเลยี นผู้อืน่ หรือทาให้ ผอู้ นื่ เสยี หาย 9 ท ๓.๑ ป.๒/๑ ๑. ฟังคาแนะนา คาสง่ั ที่ซับซ้อน  การฟังและปฏบิ ัตติ ามคาแนะนา  และปฏบิ ตั ติ าม คาส่งั ทซ่ี บั ซ้อน ๑0 ท ๓.๑ ป.๒/๒ ๒. เล่าเรอื่ งท่ีฟงั และดูท้ังท่ีเป็นความรู้  การจบั ใจความและพดู แสดง  ท ๓.๑ ป.๒/๓ และความบันเทงิ ความคิดเห็น ความรสู้ ึก จากเร่ือง ท ๓.๑ ป.๒/๔ ๓. บอกสาระสาคญั ของเรอื่ งทฟ่ี งั ท่ีฟงั และดู ทัง้ ที่เป็นความรู้ ท ๓.๑ ป.๒/๕ และดู และความบนั เทงิ เชน่ ๔. ตั้งคาถามและตอบคาถามเกยี่ วกบั - รายการสาหรับเดก็ เร่ืองที่ฟังและดู - เพลง ๕. พดู แสดงความคิดเห็นและความรสู้ ึก จากเรื่องทฟี่ ังและดู ๑1 ท ๓.๑ ป.๒/๖ ๖. พดู สื่อสารไดช้ ัดเจนตรง  การพูดสื่อสารในชวี ติ ประจาวัน เชน่  ตามวตั ถุประสงค์ - การขอความช่วยเหลือ - การกล่าวคาขอบคุณ / คาขอโทษ - การเลา่ ประสบการณ์ ในชวี ิตประจาวนั ๑2 ท ๓.๑ ป.๒/๗ ๗. มีมารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง เช่น  และการพูด - ต้งั ใจฟัง ตามองผู้พูด - ไมร่ บกวนผ้อู นื่ ขณะที่ฟัง - ไมค่ วรนาอาหาร หรือเครื่องดืม่ ไปรบั ประทานขณะที่ฟงั - ไม่พูดสอดแทรกขณะท่ฟี งั  มารยาทในการดู เช่น - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ง่ เสียงดัง หรือแสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อื่น  มารยาทในการพูด เช่น - ใชถ้ อ้ ยคาและกิรยิ าท่สี ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน้ า้ เสียงนุม่ นวล - ไมพ่ ดู สอดแทรกในขณะท่ผี ู้อ่ืน กาลงั พดู - ไมพ่ ดู ล้อเลียนใหผ้ ู้อ่นื ไดร้ บั ความอบั อาย หรอื เสยี หาย ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๖ ชนั้ ท่ี รหัสตวั ชี้วัด ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.2 ๑3 ท ๔.๑ ป.๒/๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ  พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์  วรรณยุกต์ และเลขไทย  เลขไทย ๑4 ท ๔.๑ ป.๒/๒ ๒. เขยี นสะกดคาและบอกความหมาย  ทบทวนหลกั การใช้ภาษาไทย  ของคา ชนั้ ป.1 และเรยี นร้เู พิม่ เติม เรื่องต่อไปน้ี - หลกั การผันอักษร - หลกั การอา่ นและเขียนคา ทม่ี ตี ัวการนั ต์ - หลกั การอ่านและเขยี นคา ท่ีมีพยญั ชนะควบกลา้ - หลกั การอ่านและเขยี นคา ทม่ี ีอักษรนา - หลกั การอา่ นและเขยี นคาทีม่ ี รร - คาท่ีมีความหมายตรงข้ามกนั ๑5 ท ๔.๑ ป.๒/๓ ๓. เรียบเรียงคาเป็นประโยค  หลกั การแต่งประโยค  ไดต้ รงตามเจตนาของการสือ่ สาร ๑6 ท ๔.๑ ป.๒/๔ ๔. บอกลกั ษณะคาคลอ้ งจอง  คาคลอ้ งจอง  ๑7 ท ๔.๑ ป.๒/๕ ๕.เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน  ภาษาไทยมาตรฐาน  และภาษาถิน่ ไดเ้ หมาะสม  ภาษาถ่ิน กบั กาลเทศะ ๑8 ท ๕.๑ ป.๒/๑ ๑. ระบขุ ้อคดิ ท่ีไดจ้ ากการอา่ น  วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรอง  ท ๕.๑ ป.๒/๒ หรอื การฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก สาหรบั เดก็ เช่น ท ๕.๑ ป.๒/๓ เพอ่ื นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั - นิทาน ๒. รอ้ งบทร้องเล่นสาหรบั เด็ก - เรือ่ งส้นั ๆ ในท้องถิน่ - ปริศนาคาทาย ๓. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด - บทอาขยาน และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ - บทรอ้ งเลน่ ท่มี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ - วรรณคดีและวรรณกรรม ในบทเรียน รวม ๒๗ ตวั ชี้วดั ๒0 7 ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๗ ชนั้ ท่ี รหัสตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.๓ ๑ ท ๑.๑ ป.๓/๑ ๑. อ่านออกเสยี งคา ข้อความ  การอ่านออกเสียงและการบอก  ท ๑.๑ ป.๓/๒ เรือ่ งส้ัน ๆ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ ความหมายของคา และขอ้ ความ ไดถ้ ูกตอ้ ง คล่องแคล่ว ทีป่ ระกอบด้วยคาพ้ืนฐาน ไมน่ ้อยกว่า ๒. อธิบายความหมายของคา ๑,๒๐๐ คา โดยเพิม่ คาจาก ป.2 ดังนี้ และข้อความทอ่ี ่าน - คาพอ้ ง - คาพเิ ศษอ่ืน ๆ เชน่ คาที่ใช้ ฑ ฤฤๅ - คาทอี่ ่านได้ 2 ลกั ษณะ ทั้งตามอักขรวิธีและตามความนยิ ม ๒ ท ๑.๑ ป.๓/๓ ๓. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิง  การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ  ท ๑.๑ ป.๓/๔ เหตผุ ลเก่ยี วกับเรอื่ งที่อา่ น เช่น ท ๑.๑ ป.๓/๕ ๔. ลาดบั เหตุการณแ์ ละคาดคะเน - ฉลากยาและสนิ ค้า เหตุการณจ์ ากเร่อื งทอี่ ่านโดยระบุ - นิทาน เหตุผลประกอบ - เรื่องเล่าส้ัน ๆ ในทอ้ งถน่ิ ๕. สรปุ ความรู้และข้อคิดจากเร่ือง - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชวี ิตประจาวนั ทอ่ี ่านเพอื่ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั - วรรณคดีและวรรณกรรม ในหนงั สอื เรยี น - บทเรียนจากกล่มุ สาระการเรียนรู้ อนื่ ๆ ๓ ท ๑.๑ ป.๓/๖ ๖. อา่ นหนงั สือตามความสนใจ  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น  อยา่ งสมา่ เสมอและนาเสนอเรื่อง - หนงั สอื ทน่ี ักเรียนสนใจและ ทอ่ี ่าน เหมาะสมกับวยั - หนังสอื ที่ครูและนกั เรียนกาหนด รว่ มกัน ๔ ท ๑.๑ ป.๓/๗ ๗. อ่านข้อเขยี นเชงิ อธบิ ายและปฏิบัติ  การอ่านขอ้ เขียนเชงิ อธิบายและ  ตามคาสั่งหรือข้อแนะนา ปฏบิ ัติตามคาส่งั หรอื ขอ้ แนะนา - คาแนะนาต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวัน - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคาขวญั ๕ ท ๑.๑ ป.๓/๘ ๘. อธบิ ายความหมายของข้อมูล  การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ แผนที่  จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ และแผนภมู ิ ๖ ท ๑.๑ ป.๓/๙ ๙. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น เช่น  - ไมอ่ ่านเสียงดังรบกวนผอู้ น่ื - ไมเ่ ล่นกันขณะทอ่ี ่าน - ไม่ทาลายหนงั สอื - ไม่ควรแยง่ อ่าน หรือชะโงกหนา้ ไปอ่านขณะทผี่ ้อู น่ื กาลังอ่าน ๗ ท ๒.๑ ป.๓/๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด  ตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๘ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.3 ๘ ท ๒.๑ ป.๓/๒ ๒. เขยี นบรรยายเก่ยี วกบั ส่ิงใดสงิ่ หนงึ่  การเขยี นบรรยายส้ัน ๆ  ได้อยา่ งชดั เจน  การเขยี นสะกดคาพ้ืนฐาน ไมน่ ้อยกวา่ 1,200 คา ๙ ท ๒.๑ ป.๓/๓ ๓. เขียนบนั ทึกประจาวัน  การเขียนบันทึกประจาวัน  ๑๐ ท ๒.๑ ป.๓/๔ ๔. เขียนจดหมายลาครู  การเขยี นจดหมายลาครู  ๑๑ ท ๒.๑ ป.๓/๕ ๕. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ  อยา่ งสัน้ ๆ ๑๒ ท ๒.๑ ป.๓/๖ ๖. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เชน่  - เขยี นให้อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขดี ฆ่า - ไม่ขีดเขยี นในท่ีสาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และบุคคล - ไม่เขียนล้อเลยี นผู้อ่ืนหรอื ทาให้ ผ้อู ืน่ เสยี หาย ๑๓ ท ๓.๑ ป.๓/๑ ๑. เล่ารายละเอยี ดเกีย่ วกับเร่ืองท่ีฟัง  การจบั ใจความ และพูดแสดง  ท ๓.๑ ป.๓/๒ และดทู งั้ ทเ่ี ป็นความรู้และ ความคิดเหน็ ความรู้สึกจากเร่ือง ท ๓.๑ ป.๓/๓ ความบนั เทงิ ท่ฟี ังและดู ท้งั ทเี่ ป็นความรู้และ ท ๓.๑ ป.๓/๔ ๒. บอกสาระสาคญั จากการฟัง ความบนั เทิง เช่น และการดู - สารคดสี าหรบั เด็ก ๓. ต้ังคาถามและตอบคาถามเก่ียวกับ - ขา่ วและเหตุการณใ์ นชวี ิตประจาวัน เรื่องท่ีฟงั และดู ๔. พูดแสดงความคิดเห็นและ ความรสู้ ึกจากเรื่องที่ฟงั และดู ๑๔ ท ๓.๑ ป.๓/๕ ๕. พดู สอ่ื สารไดช้ ดั เจนตรง  การพูดสื่อสารในชวี ติ ประจาวัน เชน่  ตามวัตถุประสงค์ - การพดู แนะนาสถานที่ - การพูดโน้มนา้ วใจอย่างสน้ั ๆ ๑๕ ท ๓.๑ ป.๓/๖ ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง เช่น  และการพูด - ตง้ั ใจฟัง ตามองผู้พดู - ไม่รบกวนผู้อืน่ ขณะทฟ่ี ัง - ไมค่ วรนาอาหาร หรือเครื่องดื่ม ไปรับประทานขณะท่ีฟัง - ไม่แสดงกิริยาทไ่ี ม่เหมาะสม เชน่ โห่ ฮา หาว - ใหเ้ กียรตผิ ู้พูดด้วยการปรบมอื - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะทฟ่ี ัง  มารยาทในการดู เชน่ - ตัง้ ใจดู - ไม่สง่ เสยี งดงั หรอื แสดงอาการ รบกวนสมาธิของผู้อน่ื ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๙ ชน้ั ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.3  มารยาทในการพดู เชน่ - ใช้ถอ้ ยคาและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใช้น้าเสียงนมุ่ นวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะทีผ่ ู้อืน่ กาลังพดู - ไม่พูดล้อเลยี นใหผ้ ู้อนื่ ได้รบั ความอบั อาย หรือเสยี หาย ๑๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑ ๑. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย  ทบทวนหลักการใช้ภาษาไทย  ของคา ช้ัน ป.2 และเรยี นรเู้ พม่ิ เติม เร่ืองต่อไปนี้ - หลักการอา่ นและเขียน คาทปี่ ระวิสรรชนีย์ และ คาทีไ่ ม่ประวิสรรชนยี ์ - หลกั การอ่านและเขยี นคาท่ีมี ฑ ฤ ฤา - หลกั การอ่านและเขียนคาที่มี บนั บรร - หลกั การอ่านและเขียนคาท่ใี ช้ รร - หลกั การอา่ นและเขียนคา ทีม่ ตี ัวการันต์ - คาที่อ่านได้ 2 ลักษณะ ท้ังตามอักขรวิธแี ละตามความนยิ ม - คาพ้อง ๑๗ ท ๔.๑ ป.๓/๒ ๒. ระบชุ นดิ และหนา้ ท่ขี องคา  ชนิดและหน้าที่ของคา ได้แก่  ในประโยค - คานาม - คาสรรพนาม - คากริยา ๑๘ ท ๔.๑ ป.๓/๓ ๓. ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมาย  การใชพ้ จนานุกรม  ของคา ๑๙ ท ๔.๑ ป.๓/๔ ๔. แต่งประโยคง่ายๆ  การแต่งประโยคเพื่อการสือ่ สาร  ได้แก่ - ประโยคบอกเลา่ - ประโยคปฏเิ สธ - ประโยคคาถาม - ประโยคขอร้อง - ประโยคคาสงั่ ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๐ ช้ัน ที่ รหสั ตวั ชี้วดั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.3 ๒๐ ท ๔.๑ ป.๓/๕ ๕. แตง่ คาคล้องจองและคาขวัญ  คาคล้องจอง   การแต่งคาขวญั ๒๑ ท ๔.๑ ป.๓/๖ ๖. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน  ภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถน่ิ ๒๒ ท ๕.๑ ป.๓/๑ ๑. ระบุข้อคดิ ท่ีได้จากการอา่ น  วรรณคดีและวรรณกรรม  ท ๕.๑ ป.๓/๒ วรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ - นิทานพน้ื บ้าน ท ๕.๑ ป.๓/๓ ในชีวติ ประจาวนั - ปริศนาคาทาย ท ๕.๑ ป.๓/๔ ๒. รู้จกั เพลงพนื้ บ้านและเพลง - บทร้อยกรองที่มีคณุ ค่า กลอ่ มเด็ก เพ่ือปลูกฝังความชื่นชม - เพลงพื้นบา้ น หรอื เพลงกลอ่ มเด็ก วฒั นธรรมท้องถ่ิน ท่ีมีคุณคา่ ๓. แสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับ - บทอาขยาน วรรณคดที อี่ ่าน - วรรณคดีและวรรณกรรม ๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด ในบทเรียน และบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่ ตามความสนใจ รวม ๓๑ ตัวชี้วัด ๒4 7 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๑ ชัน้ ที่ รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.๔ ๑ ท ๑.๑ ป.๔/๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ  การอ่านออกเสยี งร้อยแก้ว  ท ๑.๑ ป.๔/๒ บทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง และการบอกความหมาย ๒. อธบิ ายความหมายของคา ประโยค ของถอ้ ยคา สานวน ทปี่ ระกอบด้วย และสานวนจากเรือ่ งท่ีอ่าน - คาที่มี ร ล เป็นพยญั ชนะต้น - คาท่ีมพี ยัญชนะควบกล้า - คาท่มี อี ักษรนา - คาท่มี ีตวั การันต์ - สานวนไทย  การอา่ นทานองเสนาะบทร้อยกรอง ๒ ท ๑.๑ ป.๔/๓ ๓. อา่ นเร่ืองสัน้ ๆ ตามเวลาท่ีกาหนด  การอ่านจบั ใจความจากส่ือตา่ ง ๆ  ท ๑.๑ ป.๔/๔ และตอบคาถามจากเรอ่ื งที่อ่าน เชน่ ท ๑.๑ ป.๔/๕ ๔. แยกข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น - ป้ายโฆษณา ท ๑.๑ ป.๔/๖ จากเร่ืองที่อา่ น - โอวาท ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อา่ น - วรรณคดีและวรรณกรรม โดยระบเุ หตุผลประกอบ ในหนงั สอื เรียน ๖. สรปุ ความร้แู ละข้อคดิ จากเร่อื งท่ี - บทเรียนจากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ อา่ นเพ่ือนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั อน่ื ๆ ๓ ท ๑.๑ ป.๔/๗ ๗. อา่ นหนังสอื ทม่ี คี ุณค่าตาม  การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่  ความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดง - หนงั สือท่ีนักเรยี นสนใจ ความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อา่ น และเหมาะสมกบั วัย - หนังสอื ท่ีครแู ละนักเรยี นกาหนด ร่วมกัน ๔ ท ๑.๑ ป.๔/๘ ๘. มีมารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น  ๕ ท ๒.๑ ป.๔/๑ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและ  การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัด  ครึ่งบรรทดั และครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย ๖ ท ๒.๑ ป.๔/๒ ๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง  การเขยี นสื่อสาร เช่น  ชัดเจน และเหมาะสม - คาขวัญ - คาแนะนา - ประกาศไมเ่ ป็นทางการ - การเขยี นอธิบาย ๗ ท ๒.๑ ป.๔/๓ ๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและ  การนาแผนภาพโครงเรื่องและ  แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พฒั นา แผนภาพความคิดไปพฒั นา งานเขียน งานเขียน ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๒ ชั้น ท่ี รหสั ตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.4 ๘ ท ๒.๑ ป.๔/๔ ๔. เขียนย่อความจากเรอ่ื งสั้น ๆ  การเขยี นย่อความจากวรรณคดี และวรรณกรรมในหนังสือเรียน  ๙ ท ๒.๑ ป.๔/๕ ๕. เขยี นจดหมายถงึ เพ่ือนและบิดา หรือส่อื ตา่ ง ๆ มารดา   การเขียนจดหมายถงึ เพอื่ นและบดิ า ๑๐ ท ๒.๑ ป.๔/๖ ๖. เขยี นบันทึกและเขียนรายงาน มารดา  จากการศึกษาค้นคว้า   การเขยี นบันทึกและเขียนรายงาน ๑๑ ท ๒.๑ ป.๔/๗ ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ จากการศึกษาคน้ คว้า  ๑๒ ท ๒.๑ ป.๔/๘ ๘. มมี ารยาทในการเขยี น ๑๓ ท ๓.๑ ป.๔/๑ ๑. จาแนกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็น  การเขยี นเร่ืองตามจินตนาการ  มารยาทในการเขียน ท ๓.๑ ป.๔/๒ จากเรอื่ งท่ฟี งั และดู ท ๓.๑ ป.๔/๓ ๒. พูดสรปุ ความจากการฟังและดู  การจับใจความ และการพูดแสดง ท ๓.๑ ป.๔/๔ ๓. พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็น ความคิดเห็นจากเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู ในชวี ติ ประจาวัน เช่น และความรู้สกึ เก่ียวกับเร่ืองท่ีฟัง - เร่อื งเล่า และดู - เพลง ๔. ต้ังคาถามและตอบคาถาม เชิงเหตผุ ลจากเรือ่ งท่ีฟงั และดู  การรายงาน เช่น   ๑๔ ท ๓.๑ ป.๔/๕ ๕. รายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ทศ่ี ึกษา - การพูดลาดับขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน   คน้ คว้าจากการฟัง การดู - การพดู ลาดบั เหตุการณ์ และการสนทนา  ๑๕ ท ๓.๑ ป.๔/๖ ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู และการพดู ๑๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑ ๑. สะกดคาและบอกความหมาย ของคาในบรบิ ทต่างๆ  ทบทวนสาระการเรียนรหู้ ลกั การใช้ ภาษาไทย ชนั้ ป.1 - 3 ๑๗ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ๒. ระบชุ นดิ และหนา้ ทีข่ องคา ในประโยค  คาเป็นคาตาย ๑๘ ท ๔.๑ ป.๔/๓ ๓. ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมาย  ชนดิ และหนา้ ทีข่ องคา ของคา - คานาม - คาสรรพนาม ๑๙ ท ๔.๑ ป.๔/๔ ๔. แต่งประโยคได้ถูกต้อง - คากรยิ า ตามหลกั ภาษา  การใชพ้ จนานุกรม ๒๐ ท ๔.๑ ป.๔/๕ ๕. แต่งบทร้อยกรองและคาขวญั  ประโยคสามญั   คาคลอ้ งจอง   การแตง่ กลอนสี่  คาขวัญ ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ชั้น ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ๑๓ ต้องรู้ ควรรู้ ป.4 ๒๑ ท ๔.๑ ป.๔/๖ ๖. บอกความหมายของสานวน  สานวนไทย   ๒๒ ท ๔.๑ ป.๔/๗ ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน  การเปรียบเทยี บภาษาไทย  มาตรฐานกับภาษาถน่ิ กับภาษาถน่ิ ได้ 26 7  วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่ ๒๓ ท ๕.๑ ป.๔/๑ ๑. ระบุข้อคดิ จากนิทานพื้นบ้าน - นทิ านพน้ื บ้านในทอ้ งถิ่นตนเอง หรอื นทิ านคตธิ รรม ท ๕.๑ ป.๔/๒ หรอื นทิ านคตธิ รรม - เพลงพนื้ บา้ น - หนังสอื อา่ นนอกเวลา ท ๕.๑ ป.๔/๓ ๒. อธบิ ายข้อคดิ จากการอ่าน - บทอาขยาน - วรรณคดแี ละวรรณกรรม ท ๕.๑ ป.๔/๔ เพือ่ นาไปใช้ในชวี ติ จรงิ ในบทเรยี น ๓. รอ้ งเพลงพน้ื บ้าน ๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่า ตามความสนใจ รวม ๓๓ ตัวช้ีวดั ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๔ ช้ัน ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.๕ ๑ ท ๑.๑ ป.๕/๑ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและ  การอา่ นออกเสยี งร้อยแก้ว  ท ๑.๑ ป.๕/๒ บทร้อยกรองได้ถูกต้อง ระดับทย่ี ากขึ้นและการบอก ท ๑.๑ ป.๕/๓ ๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค ความหมายของถอ้ ยคา สานวน และข้อความท่เี ป็นการบรรยาย ประกอบด้วย และการพรรณนา - คาทมี่ พี ยัญชนะควบกลา้ ๓. อธบิ ายความหมายโดยนยั - คาทมี่ ีอักษรนา จากเรอ่ื งทอ่ี า่ นอย่างหลากหลาย - คาที่มีตัวการันต์ - สานวนไทยทีเ่ ป็นคาพังเพย - ข้อความท่ีเปน็ การบรรยาย  การอ่านทานองเสนาะบทร้อยกรอง ๒ ท ๑.๑ ป.๕/๔ ๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เหน็  การอา่ นจับใจความจากส่อื ตา่ ง ๆ  ท ๑.๑ ป.๕/๕ จากเรือ่ งที่อา่ น เชน่ ๕. วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเห็น - บทความในสารานกุ รม เกย่ี วกบั เรอื่ งทอ่ี ่านเพื่อนาไปใช้ - บทความปกณิ กะในหนังสอื พมิ พ์ ในการดาเนินชวี ติ - ประกาศไม่เปน็ ทางการ - วรรณคดแี ละวรรณกรรม ในหนงั สอื เรียน - บทเรียนจากกล่มุ สาระการเรียนรู้ อืน่ ๓ ท ๑.๑ ป.๕/๖ ๖. อา่ นงานเขยี นเชิงอธิบาย คาสง่ั  การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสัง่  ข้อแนะนา และปฏิบตั ิตาม ขอ้ แนะนา และปฏบิ ตั ิตาม เช่น - การใชพ้ จนานุกรม - การใช้วสั ดุอปุ กรณ์ - การอา่ นฉลากยา - คู่มอื และเอกสารของโรงเรยี น ที่เกยี่ วข้องกบั นักเรียน - ข่าวสารทางราชการ ๔ ท ๑.๑ ป.๕/๗ ๗. อ่านหนังสือทม่ี คี ุณค่า  การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เชน่  ตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ - หนงั สอื ที่นักเรยี นสนใจและ และแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับ เหมาะสมกับวัย เรอ่ื งท่ีอ่าน - หนงั สือท่ีครูและนักเรียนกาหนด รว่ มกนั ๕ ท ๑.๑ ป.๕/๘ ๘. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอา่ น  ๖ ท ๒.๑ ป.๕/๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  และคร่ึงบรรทัด และครงึ่ บรรทัดตามรปู แบบ การเขยี นตวั อักษรไทย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๕ ชัน้ ที่ รหสั ตวั ชี้วัด ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 ๗ ท ๒.๑ ป.๕/๒ ๒. เขยี นสื่อสารโดยใช้คาไดถ้ ูกตอ้ ง  การเขยี นสอื่ สาร เช่น  ชัดเจน และเหมาะสม - คาอวยพร - คาแนะนาและคาอธิบายแสดง ขน้ั ตอน - จดหมายสว่ นตวั ในชีวิตประจาวัน - เรียงความ - การเขยี นแสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็น ๘ ท ๒.๑ ป.๕/๓ ๓. เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและ  การนาแผนภาพโครงเร่ือง  แผนภาพความคิดเพื่อใชพ้ ฒั นา และแผนภาพความคิดไปพัฒนา งานเขยี น งานเขยี น ๙ ท ๒.๑ ป.๕/๔ ๔. เขยี นย่อความจากเรอื่ งทีอ่ ่าน  การเขยี นย่อความจากวรรณคดี  และวรรณกรรมในหนงั สือเรียน หรือสอื่ ตา่ ง ๆ ๑๐ ท ๒.๑ ป.๕/๕ ๕. เขียนจดหมายถึงผ้ปู กครอง  การเขยี นจดหมายถงึ ผปู้ กครอง  และญาติ และญาติ ๑๑ ท ๒.๑ ป.๕/๖ ๖. เขยี นแสดงความรสู้ ึกและความ  การเขยี นแสดงความรสู้ ึก  คดิ เห็นไดต้ รงตามเจตนา และความคดิ เหน็ ๑๒ ท ๒.๑ ป.๕/๗ ๗. กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ  การกรอกแบบรายการ  - ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ - ธณาณัติ - แบบฝากส่งพัสดุไปรษณยี ภณั ฑ์ ๑๓ ท ๒.๑ ป.๕/๘ ๘. เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ  ๑๔ ท ๒.๑ ป.๕/๙ ๙. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน  ๑๕ ท ๓.๑ ป.๕/๑ ๑. พดู แสดงความรู้ ความคดิ เห็น และ  การจบั ใจความ และการพดู  ท ๓.๑ ป.๕/๒ ความร้สู ึกจากเรื่องที่ฟังและดู แสดงความรู้ ความคิดเห็น ท ๓.๑ ป.๕/๓ ๒. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชงิ จากเรอ่ื งท่ีฟงั และดูจากสื่อต่าง ๆ เหตุผลจากเรื่องท่ีฟังและดู เชน่ ๓. วิเคราะหค์ วามนา่ เช่อื ถือจากเรอื่ ง - ข่าวและเหตุการณป์ ระจาวัน ทฟ่ี ังและดูอยา่ งมเี หตผุ ล - โฆษณา  การวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือ จากเร่ืองทฟ่ี ังและดใู นชีวิตประจาวนั ๑๖ ท ๓.๑ ป.๕/๔ ๔. พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็น  การรายงาน เชน่  ท่ีศกึ ษาคน้ คว้าจากการฟัง การดู - การพูดลาดับขั้นตอน และการสนทนา การปฏิบัตงิ าน - การพูดลาดับเหตกุ ารณ์ ๑๗ ท ๓.๑ ป.๕/๕ ๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด  และการพูด ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ชั้น ที่ รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๑๖ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 ๑๘ ท ๔.๑ ป.๕/๑ ๑. ระบุชนดิ และหนา้ ท่ีของคา  ชนดิ และหน้าทข่ี องคา  ในประโยค - คาวเิ ศษณ์   - คาบพุ บท   - คาเชอ่ื ม   - คาอทุ าน  ๑๙ ท ๔.๑ ป.๕/๒ ๒. จาแนกสว่ นประกอบของประโยค  กล่มุ คา หรือวลี ๒8 5 ๒๐ ท ๔.๑ ป.๕/๓ ๓. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐาน  ภาษาไทยมาตรฐาน กับภาษาถนิ่  ภาษาถน่ิ ๒๑ ท ๔.๑ ป.๕/๔ ๔. ใช้คาราชาศัพท์  คาราชาศพั ท์ ๒๒ ท ๔.๑ ป.๕/๕ ๕. บอกคาภาษาต่างประเทศ  คาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย ๒๓ ท ๔.๑ ป.๕/๖ ๖. แตง่ บทรอ้ ยกรอง  การแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ๒๔ ท ๔.๑ ป.๕/๗ ๗. ใช้สานวนไดถ้ กู ตอ้ ง  สานวนไทยท่เี ป็นคาพงั เพย ๒๕ ท ๕.๑ ป.๕/๑ ๑. สรปุ เร่ืองจากวรรณคดีหรือ  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่ ท ๕.๑ ป.๕/๒ วรรณกรรมที่อ่าน - นิทานพืน้ บ้านท้องถน่ิ อืน่ ท ๕.๑ ป.๕/๓ ๒. ระบคุ วามรู้และข้อคิดจากการอ่าน - สารคดี ท ๕.๑ ป.๕/๔ วรรณคดีและวรรณกรรมทสี่ ามารถ - บทอาขยานและบทร้อยกรอง นาไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ท่มี คี ุณคา่ ๓. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี - หนงั สอื อา่ นนอกเวลา และวรรณกรรม - วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด ในบทเรยี น และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ตามความสนใจ รวม ๓๓ ตัวช้ีวัด ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๗ ชัน้ ที่ รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.๖ ๑ ท ๑.๑ ป.๖/๑ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและ  การอ่านออกเสียงร้อยแก้วทเ่ี ป็น  ท ๑.๑ ป.๖/๒ บทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง โวหารตา่ ง ๆ ประกอบด้วย ๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาที่มพี ยัญชนะควบกล้า และข้อความท่ีเป็นโวหาร - คาท่ีมอี ักษรนา - คาท่ีมีตัวการันต์ - คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ - อกั ษรย่อและเครอ่ื งหมาย วรรคตอน - วัน เดือน ปีแบบไทย - ขอ้ ความท่ีเปน็ โวหารตา่ ง ๆ - สานวนไทยท่เี ปน็ คาพังเพย และสภุ าษิต  การอ่านทานองเสนาะบทร้อยกรอง ทีเ่ ป็นโวหารตา่ ง ๆ ๒ ท ๑.๑ ป.๖/๓ ๓. อา่ นเรื่องสน้ั ๆ อยา่ งหลากหลาย  การอา่ นจบั ใจความจากสือ่ ต่าง ๆ  ท ๑.๑ ป.๖/๔ โดยจับเวลาแลว้ ถามเก่ยี วกับ เช่น ท ๑.๑ ป.๖/๕ เรอื่ งท่ีอ่าน - เรอ่ื งสั้น ๔. แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ - บทความจากสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ จากเรื่องท่ีอ่าน - ประกาศทางการ ๕. อธิบายการนาความร้แู ละความคิด - วรรณคดแี ละวรรณกรรม จากเรอ่ื งทอี่ า่ นไปตัดสนิ ใจแก้ปญั หา ในหนังสอื เรียน ในการดาเนินชวี ิต - บทเรียนจากกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น ๓ ท ๑.๑ ป.๖/๖ ๖. อ่านงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คาสั่ง  การอา่ นงานเขยี นเชงิ อธิบาย คาส่งั  ขอ้ แนะนาและปฏิบัตติ าม ขอ้ แนะนา และปฏบิ ตั ิตาม เช่น - การใชพ้ จนานุกรม - การปฏิบัตติ นในการอยู่ร่วมกนั ในสังคม - ข้อตกลงในการอยรู่ ว่ มกัน ในโรงเรยี นและการใช้สถานท่ี สาธารณะในชมุ ชนและท้องถ่ิน ๔ ท ๑.๑ ป.๖/๗ ๗. อธิบายความหมายของข้อมูล  การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี  จากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ แผนภูมิ และกราฟ และกราฟ ๕ ท ๑.๑ ป.๖/๘ ๘. อ่านหนงั สือตามความสนใจ  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่  และอธิบายคณุ ค่าทีไ่ ดร้ ับ - หนังสอื ที่นกั เรยี นสนใจ และเหมาะสมกบั วยั - หนงั สืออา่ นท่ีครูและนักเรียน กาหนดร่วมกัน ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๘ ชน้ั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.6 ๖ ท ๑.๑ ป.๖/๙ ๙. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น  ๗ ท ๒.๑ ป.๖/๑ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด  การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  และครึ่งบรรทัด และคร่งึ บรรทัดตามรปู แบบ การเขียนตวั อักษรไทย ๘ ท ๒.๑ ป.๖/๒ ๒. เขียนสอื่ สารโดยใชค้ าได้ถูกต้อง  การเขียนส่อื สาร เชน่  ชัดเจน และเหมาะสม - จดหมายกิจธรุ ะในชวี ิตประจาวัน - รายงานการศกึ ษาค้นคว้า ๙ ท ๒.๑ ป.๖/๓ ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และ  การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง  แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พัฒนา และแผนภาพความคดิ งานเขยี น ๑๐ ท ๒.๑ ป.๖/๔ ๔. เขยี นเรียงความ  การเขยี นเรยี งความ  ๑๑ ท ๒.๑ ป.๖/๕ ๕. เขียนยอ่ ความจากเรื่องทอ่ี ่าน  การเขียนย่อความจากวรรณคดี  และวรรณกรรมในหนงั สอื เรยี น หรอื สือ่ ตา่ ง ๆ ๑๒ ท ๒.๑ ป.๖/๖ ๖. เขยี นจดหมายส่วนตัว  การเขยี นจดหมายสว่ นตวั  ในชีวิตประจาวนั เช่น - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเหน็ ใจ - จดหมายแสดงความยินดี ๑๓ ท ๒.๑ ป.๖/๗ ๗. กรอกแบบรายการต่าง ๆ  การกรอกแบบรายการ  - แบบคารอ้ งต่าง ๆ - ใบสมัครศึกษาต่อ - แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณียภณั ฑ์ ๑๔ ท ๒.๑ ป.๖/๘ ๘. เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการ  และสรา้ งสรรค์  การเขยี นโน้มน้าวใจ ๑๕ ท ๒.๑ ป.๖/๙ ๙. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน  ๑๖ ท ๓.๑ ป.๖/๑ ๑. พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจ  การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจ  ท ๓.๑ ป.๖/๒ จดุ ประสงคข์ องเรื่องท่ีฟังและดู และวเิ คราะห์ความนา่ เชื่อถือ ท ๓.๑ ป.๖/๓ ๒. ตงั้ คาถามและตอบคาถามเชิง ของเร่ืองที่ฟังและดจู ากสื่อตา่ ง ๆ เหตผุ ลจากเร่ืองที่ฟังและดู - นิทรรศการ ๓. วิเคราะห์ความน่าเช่อื ถือจากการฟัง - สือ่ สังคมออนไลน์ และดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล ๑๗ ท ๓.๑ ป.๖/๔ ๔. พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็น  การพูดนาเสนอรายงานการศึกษา  ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู ค้นควา้ และการสนทนา ๑๘ ท ๓.๑ ป.๖/๕ ๕. พดู โน้มนา้ วอย่างมีเหตผุ ล และ  การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่าง ๆ  นา่ เช่อื ถือ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๙ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้  ป.6 ๑๙ ท ๓.๑ ป.๖/๖ ๖. มีมารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู  และการพดู  ชนิดและหน้าทขี่ องคา  ๒๐ ท ๔.๑ ป.๖/๑ ๑. วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ทขี่ องคา - คานาม - คาสรรพนาม ในประโยค - คากรยิ า - คาวเิ ศษณ์ ๒๑ ท ๔.๑ ป.๖/๒ ๒. ใช้คาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ - คาบพุ บท และบุคคล - คาเชื่อม - คาอุทาน  คาราชาศพั ท์  ระดบั ภาษา ๒๒ ท ๔.๑ ป.๖/๓ ๓. รวบรวมและบอกความหมาย  คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ของคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้  ในภาษาไทย  การวเิ คราะหส์ ว่ นประกอบ ของประโยค  ๒๓ ท ๔.๑ ป.๖/๔ ๔. ระบลุ กั ษณะของประโยค - ประโยคสามญั  - ประโยครวม  ๒๔ ท ๔.๑ ป.๖/๕ ๕. แต่งบทร้อยกรอง - ประโยคซอ้ น ๒๕ ท ๔.๑ ป.๖/๖ ๖. วิเคราะห์และเปรียบเทียบสานวน ๒8  กลอนสุภาพ ทีเ่ ป็นคาพงั เพย และสุภาษิต  สานวนไทยท่ีเป็นคาพงั เพยและสุภาษติ ๒๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑ ๑. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี  วรรณคดแี ละวรรณกรรม ท ๕.๑ ป.๖/๒ หรือวรรณกรรมท่ีอา่ น - นทิ านพนื้ บ้านอาเซยี น ท ๕.๑ ป.๖/๓ ๒. เลา่ นิทานพื้นบ้านท้องถนิ่ ตนเอง - บทร้อยกรองที่มีคณุ คา่ ท ๕.๑ ป.๖/๔ และนิทานพ้ืนบ้านของทอ้ งถ่ินอนื่ - บทอาขยาน - หนังสืออ่านนอกเวลา ๓. อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดี - วรรณคดแี ละวรรณกรรม และวรรณกรรมทอ่ี ่านและนาไป ในบทเรยี น ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง 6 ๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า ตามความสนใจ รวม ๓๔ ตัวช้ีวัด ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๐ ช้ัน ท่ี รหสั ตวั ชี้วดั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.๑ ๑ ท ๑.๑ ม.๑/๑ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ  การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้  บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ทีเ่ ป็นบทบรรยายจากหนังสือเรียน กับเรอ่ื งทีอ่ า่ น หรือสือ่ อ่นื ๆ  การอา่ นทานองเสนาะบทรอ้ ยกรอง ประเภทกาพย์ ๒ ท ๑.๑ ม.๑/๒ ๒. จบั ใจความสาคญั จากเร่ืองท่อี ่าน  การอ่านจบั ใจความจากวรรณคดี  ท ๑.๑ ม.๑/๓ ๓. ระบเุ หตุและผล และข้อเท็จจรงิ และวรรณกรรมในหนังสือเรียน ท ๑.๑ ม.๑/๔ กบั ข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อ่าน รวมทั้งบทเรียนจากกลุ่มสาระ ท ๑.๑ ม.๑/๕ ๔. ระบุและอธบิ ายคาเปรียบเทยี บ การเรียนรู้อื่น ๆ ท ๑.๑ ม.๑/๖ และคาทีม่ ีหลายความหมาย ในบรบิ ทต่าง ๆ จากการอ่าน ๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท ๖. ระบขุ ้อสังเกตและความสมเหตสุ มผล ของงานเขียนประเภทชักจูงโนม้ น้าวใจ ๓ ท ๑.๑ ม.๑/๗ ๗. ปฏิบัติตามคู่มอื แนะนาวิธีการ  การอ่านและปฏบิ ัตติ ามเอกสารคู่มอื  ใชง้ านของเครื่องมือหรือเคร่ืองใช้ ในระดับท่ยี ากขึ้น ๔ ท ๑.๑ ม.๑/๘ ๘. วเิ คราะหค์ ุณค่าที่ได้รับจากการอ่าน  การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่  งานเขียนอย่างหลากหลาย - หนังสอื ทีน่ กั เรียนสนใจและ เพอ่ื นาไปใช้แกป้ ัญหาในชีวติ เหมาะสมกับวยั - หนงั สอื อ่านท่ีครแู ละนักเรยี น กาหนดร่วมกัน ๕ ท ๑.๑ ม.๑/๙ ๙. มมี ารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอา่ น  ๖ ท ๒.๑ ม.๑/๑ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด  ตามรูปแบบการเขยี นตัวอักษรไทย ๗ ท ๒.๑ ม.๑/๒ ๒. เขยี นสอ่ื สารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้อง  การเขยี นแนะนาตนเอง หรือ  ชดั เจน เหมาะสม และสละสลวย สถานที่สาคัญ ๘ ท ๒.๑ ม.๑/๓ ๓. เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบุ  การเขยี นเรยี งความบรรยาย  ท ๒.๑ ม.๑/๔ สาระสาคญั และรายละเอียดสนบั สนนุ ประสบการณ์ ๔. เขียนเรียงความ 9 ท ๒.๑ ม.๑/๕ ๕. เขยี นยอ่ ความจากเร่อื งทอ่ี ่าน  การเขยี นย่อความจากวรรณคดี  และวรรณกรรมในหนงั สือเรียน หรือสื่อตา่ ง ๆ ๑0 ท ๒.๑ ม.๑/๖ ๖. เขยี นแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั  การเขยี นแสดงความคิดเหน็  สาระจากส่ือท่ีได้รบั ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

ช้นั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒๑ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.1 ๑1 ท ๒.๑ ม.๑/๗ ๗. เขียนจดหมายสว่ นตวั และจดหมาย  การเขียนจดหมายส่วนตวั  กิจธรุ ะ ในชีวติ ประจาวัน   การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ   ๑2 ท ๒.๑ ม.๑/๘ ๘. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ คว้า  การเขียนรายงานจากการศึกษา  และโครงงาน ค้นควา้   การเขยี นรายงานโครงงาน   ๑3 ท ๒.๑ ม.๑/๙ ๙. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น   ๑4 ท ๓.๑ ม.๑/๑ ๑. พดู สรุปใจความสาคญั ของเรอ่ื งที่ฟงั  การพดู สรุปความ พูดแสดง   ท ๓.๑ ม.๑/๒ และดู ความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑ ม.๑/๓ ๒. เล่าเรือ่ งย่อจากเร่ืองท่ีฟังและดู  การพูดประเมินความน่าเช่อื ถือ ท ๓.๑ ม.๑/๔ ๓. พดู แสดงความคิดเหน็ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ของส่ือทม่ี เี นื้อหาโนม้ นา้ วใจ เกีย่ วกบั เรื่องทีฟ่ ังและดู ๔. ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของสอื่ ทม่ี เี นือ้ หาโนม้ น้าวใจ ๑5 ท ๓.๑ ม.๑/๕ ๕. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็น  การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ทีศ่ กึ ษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา ๑6 ท ๓.๑ ม.๑/๖ ๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู และการพูด ๑7 ท ๔.๑ ม.๑/๑ ๑. อธบิ ายลักษณะของเสียง  เสยี งในภาษาไทย ในภาษาไทย ๑8 ท ๔.๑ ม.๑/๒ ๒. สรา้ งคาในภาษาไทย  การสร้างคา - คาประสม คาซ้า คาซ้อน 19 ท ๔.๑ ม.๑/๓ ๓. วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ขี องคา  ชนดิ และหน้าทข่ี องคา ในประโยค ๒0 ท ๔.๑ ม.๑/๔ ๔. วิเคราะห์ความแตกต่าง  ระดบั ภาษา ของภาษาพูดและภาษาเขียน ๒1 ท ๔.๑ ม.๑/๕ ๕. แตง่ บทร้อยกรอง  หลักการแตง่ กาพย์ยานี ๑๑ และกาพยฉ์ บัง 16 ๒2 ท ๔.๑ ม.๑/๖ ๖. จาแนกและใช้สานวน  สานวนไทยท่เี ปน็ คาพงั เพย ที่เป็นคาพังเพยและสุภาษติ และสุภาษิต ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๒ ชน้ั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.1 ๒3 ท ๕.๑ ม.๑/๑ ๑. สรปุ เนื้อหาวรรณคดี  การวิเคราะห์คุณคา่ และขอ้ คิด  ท ๕.๑ ม.๑/๒ และวรรณกรรมทีอ่ ่าน จากวรรณคดปี ระเภทกาพย์ รวมทัง้ ท ๕.๑ ม.๑/๓ ๒. วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีมีเนอื้ หา ท ๕.๑ ม.๑/๔ ท่ีอ่านพรอ้ มยกเหตุผลประกอบ เก่ยี วกบั ท ๕.๑ ม.๑/๕ ๓. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี - บันทึกการเดินทาง และวรรณกรรมที่อ่าน - วรรณกรรมท้องถ่นิ ของตน ๔. สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากการอา่ น - เรอื่ งส้ัน เพอ่ื ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง - สารคดี ๕. ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนด  บทอาขยานและหนังสอื อ่าน และบทร้อยกรองทมี่ ีคุณค่า นอกเวลา ตามความสนใจ รวม ๓๕ ตัวชี้วดั ๓๑ ๔ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๓ ช้ัน ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.๒ ๑ ท ๑.๑ ม.๒/๑ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว  การอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว  และบทร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง ท่เี ปน็ บทพรรณนาจากหนังสอื เรียน หรอื ส่อื อนื่ ๆ  การอา่ นทานองเสนาะบทรอ้ ยกรอง ประเภทกลอน ๒ ท ๑.๑ ม.๒/๒ ๒. จับใจความสาคัญ สรปุ ความ และ  การอ่านจบั ใจความจากวรรณคดี  ท ๑.๑ ม.๒/๓ อธิบายรายละเอยี ดจากเร่ืองที่อ่าน และวรรณกรรมในหนงั สือเรยี น ท ๑.๑ ม.๒/๔ ๓. เขียนผังความคิดเพือ่ แสดง รวมทั้งบทเรียนจากกลุ่มสาระ ท ๑.๑ ม.๒/๕ ความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆ ทอี่ า่ น การเรียนรอู้ ่นื ๆ ท ๑.๑ ม.๒/๖ ๔. อภปิ รายแสดงความคดิ เห็น และข้อโต้แยง้ เก่ียวกับเรือ่ งท่ีอ่าน ๕. วเิ คราะหแ์ ละจาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนนุ และข้อคดิ เห็น จากบทความที่อ่าน ๖. ระบขุ อ้ สังเกตการชวนเชื่อ การโน้มนา้ ว หรือความสมเหตสุ มผลของงานเขยี น ๓ ท ๑.๑ ม.๒/๗ ๗. อ่านหนงั สือ บทความ  การอา่ นตามความสนใจ เชน่  หรือคาประพันธ์อยา่ งหลากหลาย - หนงั สอื อา่ นนอกเวลา และประเมนิ คุณคา่ หรือแนวคิดทไ่ี ด้ - หนงั สอื ที่นกั เรยี นสนใจ จากการอา่ น เพื่อนาไปใช้แก้ปัญหา และเหมาะสมกับวัย ในชีวิต - หนังสืออา่ นที่ครแู ละนักเรียน กาหนดร่วมกนั ๔ ท ๑.๑ ม.๒/๘ ๘. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน  ๕ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ๑. คดั ลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด  ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย ๖ ท ๒.๑ ม.๒/๒ ๒. เขียนบรรยายและพรรณนา  การเขียนเรียงความท่มี ีบรรยาย  ท ๒.๑ ม.๒/๓ ๓. เขยี นเรยี งความ โวหารและพรรณาโวหาร 7 ท ๒.๑ ม.๒/๔ ๔. เขยี นยอ่ ความ  การเขียนย่อความจากวรรณคดี  และวรรณกรรมในหนงั สือเรยี น และส่ือตา่ ง ๆ 8 ท ๒.๑ ม.๒/๕ ๕. เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า  การเขยี นรายงานจากการศกึ ษา  คน้ คว้า 9 ท ๒.๑ ม.๒/๖ ๖. เขียนจดหมายกจิ ธุระ  การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ  ในชีวิตประจาวัน - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอบคณุ วิทยากร ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๒๔ ช้ัน ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้  ม.2 ๑0 ท ๒.๑ ม.๒/๗ ๗. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์  ความรู้ ความคดิ เห็น หรือโตแ้ ยง้ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็  ในเรื่องท่ีอา่ นอยา่ งมีเหตผุ ล หรอื โตแ้ ย้งจากวรรณคดี   และวรรณกรรมในหนงั สือเรยี น  หรอื สือ่ ตา่ ง ๆ   ๑1 ท ๒.๑ ม.๒/๘ ๘. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน  ๑2 ท ๓.๑ ม.๒/๑ ๑. พดู สรุปใจความสาคญั ของเร่อื งที่ฟงั  การพูดสรปุ ความ พดู วเิ คราะห์   ท ๓.๑ ม.๒/๒ และดู และวิจารณ์ พดู แสดงความร้สู ึก ท ๓.๑ ม.๒/๓ ๒. วเิ คราะห์ข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็ และความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง และความน่าเช่ือถือของข่าวสาร และดู จากส่ือตา่ ง ๆ ๓. วเิ คราะห์และวจิ ารณ์เร่อื งท่ีฟงั และดอู ย่างมีเหตผุ ลเพอ่ื นาขอ้ คดิ มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต ๑3 ท ๓.๑ ม.๒/๔ ๔. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตาม  การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ เช่น วตั ถุประสงค์ - การพดู อวยพร - การพดู โฆษณา ๑4 ท ๓.๑ ม.๒/๕ ๕. พดู รายงานเรื่องหรือประเด็น  การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า ท่ศี ึกษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และการสนทนา ๑5 ท ๓.๑ ม.๒/๖ ๖. มีมารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพดู และการพดู ๑6 ท ๔.๑ ม.๒/๑ ๑. สรา้ งคาในภาษาไทย  การสรา้ งคาสมาส ๑7 ท ๔.๑ ม.๒/๒ ๒. วเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคสามัญ  ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยคสามัญ - ประโยครวม - ประโยคซ้อน ๑8 ท ๔.๑ ม.๒/๓ ๓. แต่งบทรอ้ ยกรอง  หลักการแตง่ กลอนสุภาพ กลอนดอกสร้อย กลอนสักวา 19 ท ๔.๑ ม.๒/๔ ๔. ใชค้ าราชาศัพท์  คาราชาศัพท์และคาสภุ าพ ๒0 ท ๔.๑ ม.๒/๕ ๕. รวบรวมและอธบิ ายความหมาย  คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ของคาภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ ในภาษาไทย ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๕ ช้นั ที่ รหัสตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.2 ๒1 ท ๕.๑ ม.๒/๑ ๑. สรุปเน้ือหาวรรณคดีและ  การวเิ คราะห์คณุ คา่ และขอ้ คิด  ท ๕.๑ ม.๒/๒ วรรณกรรมท่ีอา่ นในระดับที่ยากข้นึ จากวรรณคดีประเภทกลอน รวมทั้ง ท ๕.๑ ม.๒/๓ ๒. วิเคราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่มีเนอื้ หา ท ๕.๑ ม.๒/๔ วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถนิ่ เก่ยี วกบั ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่อี า่ น พร้อมยกเหตุผลประกอบ - ขนบธรรมเนยี มประเพณี ๓. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและ และการยอพระเกยี รติ วรรณกรรมที่อ่าน - วรรณกรรมท้องถ่นิ อ่นื ๔. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่าน - เรอ่ื งสนั้ ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง - สารคดี ๕. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด  บทอาขยานและหนังสอื อ่าน และบทร้อยกรองที่มีคุณค่า นอกเวลา ตามความสนใจ รวม ๓๒ ตัวช้ีวัด ๒6 6 ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒๖ ชัน้ ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.๓ ๑ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ๑. อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้  การอา่ นออกเสยี งร้อยแก้ว  และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง ที่เปน็ บทบรรยายและพรรณนา และเหมาะสมกบั เรอ่ื งที่อา่ น จากหนงั สอื เรียน หรอื ส่ืออื่น ๆ  การอ่านทานองเสนาะบทรอ้ ยกรอง ประเภทโคลงสส่ี ุภาพ ๒ ท ๑.๑ ม.๓/๒ ๒. ระบคุ วามแตกต่างของคา  การอ่านจับใจความจากวรรณคดี  ท ๑.๑ ม.๓/๓ ทีม่ คี วามหมายโดยตรง และวรรณกรรมในหนังสือเรยี น ท ๑.๑ ม.๓/๔ และความหมายโดยนยั รวมท้ังบทเรียนจากกลุ่มสาระ ท ๑.๑ ม.๓/๕ ๓. ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด การเรียนรอู้ ืน่ ๆ ท ๑.๑ ม.๓/๖ ของข้อมลู ทส่ี นับสนนุ จากเร่ือง ท ๑.๑ ม.๓/๗ ทอี่ ่าน ท ๑.๑ ม.๓/๘ ๔. อ่านเรือ่ งตา่ ง ๆ แลว้ เขยี นกรอบ แนวคดิ ผังความคิด บันทกึ ย่อความและรายงาน ๕. วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เร่ือง ทีอ่ ่านโดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรยี บเทยี บ เพอื่ ใหผ้ อู้ ่านเข้าใจไดด้ ขี นึ้ ๖. ประเมินความถูกตอ้ งของข้อมูล ทใ่ี ช้สนบั สนนุ ในเร่อื งท่ีอา่ น ๗. วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาดบั ความ และความเป็นไปได้ ของเรื่อง ๘. วิเคราะห์เพอื่ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเกย่ี วกับเรื่องท่ีอา่ น ๓ ท ๑.๑ ม.๓/๙ ๙. ตีความและประเมินคุณค่า  การอ่านตามความสนใจ เช่น  แนวคดิ ทไี่ ดจ้ ากงานเขยี น - หนงั สอื อ่านนอกเวลา อยา่ งหลากหลายเพ่อื นาไปใช้ - หนังสืออ่านตามความสนใจ แก้ปญั หาในชวี ติ และตามวัยของนักเรยี น - หนงั สอื อา่ นท่ีครแู ละนักเรยี น ร่วมกันกาหนด ๔ ท ๑.๑ ม.๓/๑๐ ๑๐. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน  ๕ ท ๒.๑ ม.๓/๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั  ตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย ๖ ท ๒.๑ ม.๓/๒ ๒. เขยี นข้อความโดยใช้ถ้อยคาได้  การเขยี นคาอวยพร คาขวัญ  ถกู ต้องตามระดบั ภาษา และโฆษณา ๗ ท ๒.๑ ม.๓/๓ ๓. เขียนชีวประวัติหรืออตั ชีวประวตั ิ  การเขยี นอัตชีวประวัติ  โดยเลา่ เหตกุ ารณ์ ข้อคดิ เหน็ หรือชีวประวัติ และทศั นคติในเร่ืองตา่ ง ๆ ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๗ ชัน้ ท่ี รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.3 ๘ ท ๒.๑ ม.๓/๔ ๔. เขยี นยอ่ ความ  การเขยี นย่อความจากวรรณคดี  และวรรณกรรมในหนงั สอื เรียน หรือสือ่ ตา่ ง ๆ ๙ ท ๒.๑ ม.๓/๕ ๕. เขยี นจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ  ในชวี ติ ประจาวัน - จดหมายเชญิ - จดหมายขอความอนุเคราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคุณ ๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๖ ๖. เขียนอธบิ าย ชีแ้ จง แสดง  การเขียนอธบิ าย ชแ้ี จง  ท ๒.๑ ม.๓/๗ ความคิดเหน็ และโต้แยง้ แสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้ง อย่างมเี หตผุ ล ในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ๗. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโต้แยง้ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น ในเรื่องต่าง ๆ หรือโตแ้ ย้งจากส่ือต่าง ๆ เชน่ - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ ๑๑ ท ๒.๑ ม.๓/๘ ๘. กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขยี น  การกรอกแบบสมคั รงาน  บรรยายเกีย่ วกับความรู้และทักษะ ของตนเองท่ีเหมาะสมกับงาน ๑๒ ท ๒.๑ ม.๓/๙ ๙. เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้  การเขยี นรายงาน ได้แก่  และโครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษา ค้นควา้ - การเขียนรายงานโครงงาน ๑๓ ท ๒.๑ ม.๓/๑๐ ๑๐. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน  ๑๔ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ๑. แสดงความคดิ เหน็ และประเมนิ  การพูดแสดงความคิดเห็น  ท ๓.๑ ม.๓/๒ เรือ่ งจากการฟังและการดู พดู วิเคราะห์ วจิ ารณแ์ ละประเมนิ คา่ ๒. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เรอื่ งท่ีฟงั จากเรอื่ งทฟ่ี งั และดู และดเู พ่ือนาข้อคดิ มาประยกุ ตใ์ ช้ ในการดาเนนิ ชีวติ ๑๕ ท ๓.๑ ม.๓/๓ ๓. พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็  การพดู รายงานการศึกษาคน้ ควา้  ที่ศึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา ๑๖ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ๔. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ไดต้ รง  การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เช่น  ท ๓.๑ ม.๓/๕ ตามวตั ถุประสงค์ - การอภิปราย ๕. พดู โนม้ น้าวโดยนาเสนอหลักฐาน - การพูดโน้มน้าวใจ ตามลาดับเนอื้ หาอย่างมเี หตผุ ล และน่าเชอ่ื ถือ ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๘ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.3 ๑7 ท ๓.๑ ม.๓/๖ ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง การดู  และการพูด และการพูด ๑8 ท ๔.๑ ม.๓/๑ ๑. จาแนกและใชค้ าภาษาตา่ งประเทศ  คาทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ  ที่ใช้ในภาษาไทย การสร้างคาสมาส 19 ท ๔.๑ ม.๓/๒ ๒. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคซับซอ้ น  ประโยคซับซ้อน  ๒0 ท ๔.๑ ม.๓/๓ ๓. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา  ระดบั ภาษา  ๒1 ท ๔.๑ ม.๓/๔ ๔. ใชค้ าทับศัพท์และศพั ท์บญั ญัติ  คาทับศัพท์  ท ๔.๑ ม.๓/๕ ๕. อธิบายความหมายคาศพั ท์  คาศัพทบ์ ัญญัติ ทางวชิ าการและวิชาชีพ  คาศัพทท์ างวิชาการและวชิ าชพี ๒2 ท ๔.๑ ม.๓/๖ ๖. แต่งบทรอ้ ยกรอง  หลักการแต่งโคลงส่ีสุภาพ  ๒3 ท ๕.๑ ม.๓/๑ ๑. สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดี วรรณกรรม  การวเิ คราะห์คุณค่าและข้อคิด  ท ๕.๑ ม.๓/๒ และวรรณกรรมท้องถ่ินในระดับทีย่ าก จากวรรณคดีประเภทโคลงสสี่ ุภาพ ท ๕.๑ ม.๓/๓ ย่ิงขึน้ รวมทง้ั วรรณคดแี ละวรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๓/๔ ๒. วิเคราะห์วิถีไทยและคณุ ค่า ท่มี ีเนอื้ หาเกย่ี วกับ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ า่ น - คาสอนและประวตั ศิ าสตร์ ๓. สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากการอา่ น - วรรณกรรมอาเซยี น เพือ่ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง - เรอื่ งส้นั ๔. ทอ่ งจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยาน - สารคดี ตามท่กี าหนด และบทรอ้ ยกรอง  บทอาขยานและหนังสืออ่าน ทม่ี คี ุณค่าตามความสนใจ นอกเวลา และนาไปใช้อา้ งอิง รวม ๓๖ ตัวช้ีวัด ๓0 6 ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๙ ชน้ั ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.๔ - ๖ ๑ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๑ ๑. อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว  การอา่ นออกเสียงร้อยแกว้  และบทร้อยกรองไดอ้ ย่างถูกต้อง ประเภทต่าง ๆ เช่น ข่าว บทโฆษณา ไพเราะ และเหมาะสมกับ บทความ จากหนังสือเรียน เรอื่ งท่ีอ่าน และส่อื อ่นื ๆ  การอา่ นทานองเสนาะ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และรา่ ย ๒ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๒ ๒. ตีความ แปลความ และ  การอา่ นจบั ใจความวรรณคดี  ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๓ ขยายความเร่ืองที่อา่ น และวรรณกรรมในหนงั สือเรียน ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๔ ๓. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์ รวมทัง้ บทเรยี นจากกลมุ่ สาระ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๕ เรื่องที่อา่ นในทุก ๆ ด้าน การเรยี นรูอ้ ่ืน ๆ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๖ อย่างมเี หตผุ ล ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๗ ๔. คาดคะเนเหตุการณ์ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๘ จากเร่อื งท่ีอา่ น และประเมนิ คา่ เพ่อื นาความรู้ ความคดิ ไปใช้ ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชวี ติ ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดง ความคิดเห็นโต้แย้งกบั เร่อื ง ทอ่ี ่านและเสนอความคดิ ใหม่ อย่างมีเหตุผล ๖. ตอบคาถามจากการอ่าน งานเขยี นประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาทีก่ าหนด ๗. อ่านเร่ืองต่าง ๆ แล้วเขียน กรอบแนวคิด ผังความคดิ บนั ทกึ ยอ่ ความ และรายงาน ๘. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน สื่อสิง่ พมิ พ์ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ มาพฒั นาตน พฒั นาการเรยี น และพฒั นาความร้ทู างอาชีพ ๓ ท ๑.๑ ม.๔ – ๖/๙ ๙. มมี ารยาทในการอ่าน  มารยาทในการอ่าน  ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓๐ ชนั้ ที่ รหสั ตวั ชี้วัด ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.4-6 ๔ ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๑ ๑. เขยี นส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ  การเขยี นสอื่ สารในรูปแบบต่าง ๆ  ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๒ ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ เช่น  ภาษาเรยี บเรียงถูกต้อง มีข้อมูล - การเขียนประวัติยอ่ ในการ  5 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๓ และสาระสาคัญชัดเจน  6 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๔ ๒. เขียนเรียงความ สมคั รงาน หรือศึกษาตอ่ 7 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๕ - การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ  ๓. เขยี นยอ่ ความจากส่ือ  8 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๖ ทม่ี รี ูปแบบ และเน้ือหา ในชวี ิตประจาวนั  9 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๗ หลากหลาย - การเขียนโครงงาน ๑0 ท ๒.๑ ม.๔ - ๖/๘ - การเขยี นรายงานวชิ าการ ๔. ผลติ งานเขยี นของตนเอง - การเขียนรายงานการประชมุ ในรปู แบบตา่ งๆ - การกรอกแบบรายการต่าง ๆ ๕. ประเมินงานเขยี นของผู้อ่นื ในชีวติ ประจาวนั แลว้ นามาพฒั นางานเขยี น - การเขยี นวิจารณ์ ของตนเอง  การเขียนเรยี งความ  การเขยี นย่อความจากวรรณคดี ๖. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และวรรณกรรมในหนังสือเรียน เรือ่ งทีส่ นใจตามหลักการเขียน หรอื สื่อต่าง ๆ เชิงวิชาการ และใช้ขอ้ มูล  การเขียนในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น สารสนเทศอ้างอิงอยา่ งถูกต้อง - สารคดี - บนั เทงิ คดี ๗. บันทกึ การศึกษาคน้ ควา้  การประเมินคณุ ค่างานเขยี น เพื่อนาไปพัฒนาตนเอง ในด้านต่าง ๆ เชน่ อยา่ งสมา่ เสมอ - แนวคดิ ของผ้เู ขยี น - การใชถ้ ้อยคา ๘. มมี ารยาทในการเขียน - การเรียบเรียง - สานวนโวหาร - กลวธิ ีในการเขียน  การเขียนรายงานเชิงวชิ าการ โดยเนน้ การเขยี นอ้างอิงข้อมลู สารสนเทศทถ่ี ูกต้อง  การเขียนบันทึกความรู้ จากแหลง่ เรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย  มารยาทในการเขยี น ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๓๑ ชน้ั ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ม.4-6 ๑1  ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๑ ๑. สรปุ แนวคิด และแสดงความ  การพูดสรุปสาระสาคญั   ๑2 ๑3 ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๒ คิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงั และดู และการแสดงความคดิ เหน็ ๑4 ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๓ ๒. วิเคราะห์ แนวคดิ การใช้ภาษา จากเรอื่ งที่ฟังและดู ๑5 และความนา่ เชื่อถือจากเรื่อง  การพูดวเิ คราะห์ วิจารณ์ ๑6 ทฟ่ี ังและดูอย่างมเี หตผุ ล และประเมนิ คา่ จากเรอื่ งท่ีฟงั และดู ๑7 ๑8 ๓. ประเมนิ เร่ืองที่ฟงั และดู 19 แล้วกาหนดแนวทางนาไป ประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๔ ๔. มีวจิ ารณญาณในการเลือก  การเลอื กเร่ืองท่ฟี ังและดู อยา่ งมวี ิจารณญาณ เรือ่ งท่ีฟังและดู  การพูดในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๕ ๕. พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดง - การอภปิ ราย  - การพูดแสดงทรรศนะ  ทรรศนะ โต้แยง้ โน้มนา้ วใจ - การพดู โน้มน้าวใจ  - การกล่าวสนุ ทรพจน์  และเสนอแนวคดิ ใหม่ - การโตว้ าที ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท ๓.๑ ม.๔ – ๖/๖ ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด  ธรรมชาติของภาษา  พลังของภาษา ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๑ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา  ลกั ษณะของภาษาไทย พลงั ของภาษา และลกั ษณะ  เสียงในภาษาไทย ของภาษา  พยางค์และคา  ความหมายของคา ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๒ ๒. ใชค้ าและกลุม่ คาสรา้ งประโยค  การเปล่ยี นแปลงของภาษาไทย ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ในปัจจุบัน ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๓ ๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ัง  หลักการใชถ้ ้อยคาและสานวน คาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม  หลักการรอ้ ยเรียงประโยค  หลักการสังเกตคาภาษาต่างประเทศ ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๔ ๔. แต่งบทร้อยกรอง ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๕ ๕. วเิ คราะห์อิทธิพลของ ในภาษาไทย  หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน  ระดับของภาษา  คาราชาศพั ท์และคาสภุ าพ  หลกั การแตง่ โคลง ร่าย และฉันท์    อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศ และภาษาถิน่ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๓๒ ช้นั ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ม.4-6 ๒0 ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๖ ๖. อธบิ ายและวิเคราะหห์ ลกั การ  หลกั การสร้างคาในภาษาไทย   สร้างคาในภาษาไทย ๓1 5 ๒1 ท ๔.๑ ม.๔ – ๖/๗ ๗. วิเคราะห์และประเมินการใช้  การประเมินการใชภ้ าษาจาก ๒61 58 ภาษาจากส่อื สิ่งพิมพ์ ส่ือสง่ิ พิมพ์และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ และส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์  ภมู ปิ ัญญาทางภาษาในท้องถ่ิน ๒2 ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๑ ๑. วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดี  การวจิ ารณแ์ ละประเมนิ ค่า ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๒ และวรรณกรรมตามหลักการ วรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรม ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๓ วจิ ารณ์เบือ้ งตน้ ทอ้ งถิ่น วรรณกรรมอาเซยี น และ ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๔ ๒. วเิ คราะห์ลักษณะเด่นของ บทอาขยาน ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๕ วรรณคดีเช่ือมโยงกับการเรียนรู้ ท ๕.๑ ม.๔ – ๖/๖ ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต ของสังคมในอดตี ๓. วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คุณค่า ดา้ นวรรณศิลปข์ องวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะ ทเี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ของชาติ ๔. สังเคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพื่อนาไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จริง ๕. รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บา้ น และอธบิ ายภูมปิ ัญญาทางภาษา ๖. ทอ่ งจาและบอกคณุ คา่ บทอาขยานตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่า ตามความสนใจและนาไปใช้ อ้างอิง รวม ๓๖ ตัวชี้วดั รวมท้ังหมด ๓๑๙ ตัวชี้วดั ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559