ชีวติ ความเป็ นอยู่ของคนไทยในสมยั ธนบุรี มกี ารควบคุมกาลงั คน อย่างเข้มงวด เพราะบ้านเมอื งตกอยู่ในสภาวะสงคราม ต้องสู้รบ กบั พม่าตลอดเวลา มกี ารกวดขนั การสักเลกไพร่เป็ นพเิ ศษ เพอ่ื ความสะดวกในการเกณฑ์คนไปรบ การสักเลก ในสมยั อยธุ ยาสักเฉพาะไพร่หลวง แต่ในสมยั ธนบุรี สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สักเลกไพร่สมด้วย
สภาพสังคมไทยสมยั ธนบุรี ต้องเผชิญกบั สงครามอย่างต่อเน่ือง ในบางคร้ังไพร่หลวงต้องเข้าเวรติดต่อกนั นาน ทาให้ไพร่หลวง ได้รับความเดอื ดร้อนในบางคร้ัง โครงสร้างทางสังคมยงั เป็ นเหมอื นสมยั อยธุ ยาคอื มชี นช้ันต่าง ๆ (พระมหากษตั ริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, ขุนนาง, ไพร่, ราษฎร) พระภกิ ษุสงฆ์ในพระพทุ ธศาสนาได้รับการเคารพนับถอื จากคน ในทุกชนช้ัน และมฐี านะพเิ ศษเช่นเดยี วกบั สมยั อยธุ ยา
การรบคร้ังแรกทค่ี ่ายโพธ์ิสามต้น และยงั มีการรบกนั อกี หลายคร้ัง 1. การรบกบั พม่าทบี่ างก้งุ สมุทรสงคราม พ.ศ. 2310 กองทัพพม่า เหลอื อยู่ทเี่ มอื งราชบุรี ได้รับกาลงั เสริมจากพม่าทย่ี กเข้าล้อมค่ายจนี ทบ่ี าง ก้งุ สมเดจ็ พระเจ้า ตากสินมหาราชทรงยกกองทพั จากธนบุรีตพี ม่าแตก 2. พม่าตีเมืองพชิ ัย คร้ังที่ 1 พ.ศ. 2315 เจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ยกทพั จากเมอื งพษิ ณุโลกไปช่วย พม่าหนีกลบั เชียงใหม่
3. พม่าตีเมืองพชิ ัย คร้ังท่ี 2 พ.ศ. 2316 เจ้าพระยาสุรสีห์กบั พระยาพชิ ัยตีทัพพม่าแตกพ่ายไป 4. การรบกบั พม่าท่ีบางแก้ว ราชบุรี พ.ศ. 2317 สมเดจ็ พระเจ้า ตากสินมหาราชทรงยกทพั จากหัวเมืองเหนือเข้าล้อมค่ายพม่า 5. พม่าตหี ัวเมืองเหนือ พ.ศ. 2318 พม่าส่งกองทัพมาล้อมเมอื ง พษิ ณุโลก สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา จักรียกทัพไปช่วย ต่อมาพม่าเปลย่ี นแผ่นดนิ ใหม่ทาให้ต้องยกทัพ กลบั ไป
หลงั จากธนบุรีเข้าสู่ภาวะปกติ เขมรเกดิ การแก่งแย่งอานาจกนั ฝ่ ายหน่ึงขอความช่วยเหลอื จากเวยี ดนาม ส่วนอกี ฝ่ ายขอความ ช่วยเหลอื จากกรุงธนบุรี สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้พระยาอภัยรณฤทธ์ิ และพระยาอนุชิตราชานาทัพไปตเี ขมรใน พ.ศ. 2312 ได้เมืองเสียมราฐ พระตะบอง และโพธิสัตว์ แต่มีข่าวลอื ว่า สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชเสดจ็ สวรรคตไทยจงึ ยกทพั กลบั
พ.ศ.2522 เขมรได้ตกอยู่ภายใต้อทิ ธิพลของญวน สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้สมเดจ็ พระเยามหากษัตริย์ศึก และเจ้าพระยาสุรสีห์ยกทัพไปตเี ขมร แล้วทรงอภิเษกให้เจ้าฟ้ า กรมขุนอนิ ทรพทิ ักษ์ พระราชโอรสขนึ้ เป็ นกษตั ริย์ครองเขมร พ.ศ. 2324 เกดิ การกบฏในเขมร สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกและ เจ้าพระยาสุรสีห์ยกกองทพั ไปปราบ และมขี ่าวการจลาจลใน กรุงธนบุรีจงึ ต้องยกทพั กลบั
ไทยขยายอานาจสู่ล้านช้าง 2 คร้ัง 1. การตจี าปาศักด์ิ พ.ศ. 2319 พระยานางรองขัดใจกบั เจ้า เมืองนครราชสีมาจงึ คดิ กบฏต่อไทยไปขอขนึ้ กบั เจ้าเมอื งจาปา ศักด์ิ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา จกั รีไปปราบ และยกทพั ไปตจี าปาศักด์ิ เมืองอตั ตะปื อ และ ดนิ แดนล้านช้างตอนล่าง
2. การตเี วยี งจนั ทน์ พ.ศ. 2321 เจ้าศิริบุญสารผู้ครอง เวยี งจันทน์เกดิ ววิ าทกบั พระวอ เสนาบดี พระวอหนีมาขอ สวามภิ ักด์ติ ่อไทย เจ้าศิริบุญสารส่งกองทพั มาฆ่าพระวอ สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สมเดจ็ เจ้าพระยามหา กษตั ริย์ศึก และพระยาสุรสีห์ไปปราบ เจ้าร่มขาวผู้ครองหลวง พระบางขอสวามภิ ักด์ิ และส่งกองทพั มาช่วยตีเมอื งเวียงจนั ทน์ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้อญั เชิญพระแก้วมรกตและพระบาง มายงั กรุงธนบุรีด้วย
พระแก้วมรกตที่สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก อญั เชิญมาจากเวยี งจันทน์ ปัจจุบันเป็ นพระพทุ ธรูป คู่บ้านคู่เมอื งของไทย
สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีพระราชดาริจะขับไล่ พม่าออกไปจากล้านนา จงึ โปรดเกล้าฯ ให้ยกทัพไปตีเชียงใหม่ ใน พ.ศ. 2317 ได้เป็ นผลสาเร็จ ทรงให้เจ้านายล้านนาเป็ น ผู้ปกครองล้านนากนั เอง ทรงแต่งต้ังให้พระยากาวลิ ะเป็ นเจ้า เมืองลาปาง พระยาวิเชียรปราการ เป็ นเจ้าเมืองเชียงใหม่ พระ ยาวยั วงศาครองเมอื งลาพูน
จนี ไม่ยอมรับรองสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช เพราะจีนเห็นว่า พระองค์ไม่ได้สืบเชื้อสายจากพระมหากษตั ริย์องค์ก่อน ทาให้ไม่ได้รับ ความสะดวกในการค้ากบั จนี แต่พ่อค้าไทยกบั พ่อค้าจีนสามารถติดต่อ ค้าขายกนั ได้ตลอด สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชส่งทูตนาพระราชสาส์นไปพร้อม บรรณาการ แต่ถูกจนี ปฏิเสธเรื่อยมา จนกระทงั่ 10 ปี ผ่านไป จีนจงึ ยอมรับ
ฮอลนั ดา พ.ศ. 2312 พวกฮอลนั ดาจากเมอื งปัตตาเวยี (จาการ์ตา) และพวกแขกเมืองตรังกานู ได้เข้าเฝ้ าสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช เพอื่ ถวายปื นคาบศิลาจานวน 2,200 กระบอก และถวายต้นไม้เงนิ ต้นไม้ทอง
องั กฤษ พ.ศ. 2319 กปั ตนั ฟรานซิส ไลท์ ได้นาปื นนกสับ จานวน 1,400 กระบอก และส่ิงของอน่ื ๆ มาถวายเพอื่ สร้าง สัมพนั ธไมตรี โปรตุเกส พ.ศ. 2322 แขกมวั ร์จากเมอื งสุรัต เป็ นเมอื งขนึ้ ของโปรตุเกสในอนิ เดยี นาสินค้าเข้ามาค้าขายในกรุงธนบุรี ไทย ได้ส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยงั ประเทศอนิ เดีย
เน่ืองจากสมยั ธนบุรีเป็ นราชธานีใน ระยะเวลาส้ัน ๆ และต้องตกอยู่ในภาวะ สงครามตลอดเวลาภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรม ด้านศิลปกรรมจงึ มอี ยู่บ้าง เช่น เรือ การต่อเรือเจริญมากเพราะมีการต่อ เรือรบ เรือสาเภา ตลอดจนเรือกระบวนไว้ใช้ ในราชการเป็ นจานวนมาก
สถาปัตยกรรม กรุงธนบุรีเป็ นยคุ ของการสร้างบ้าน แปลงเมือง จงึ มกี ารก่อสร้างเป็ นจานวนมาก อาทิ พระราชวงั ป้ อมปราการ กาแพงพระนคร พระอารามต่าง ๆ ลกั ษณะสถาปัตยกรรมสมยั นีล้ ้วนสืบทอดมาจากสมยั กรุง ศรีอยุธยาตอนปลาย
สถาปัตยกรรมสมยั ธนบุรีมกั ได้รับการบรูณะซ่อมแซมใน สมยั หลงั หลายคร้ังด้วยกนั ลกั ษณะในปัจจุบันจงึ เป็ นแบบ สถาปัตยกรรมในรัชกาลทบี่ ูรณะคร้ังหลงั สุด เท่าทย่ี งั ปรากฏเค้า เดมิ ในปัจจุบัน ได้แก่ ป้ อมวชิ ัยประสิทธ์ิ กาแพงพระราชวงั เดมิ พระตาหนักท้อง พระโรง และพระตาหนักเก๋งคู่ในพระราชวงั เดมิ ทไี่ ด้รับอทิ ธิพล การก่อสร้างมาจากจนี พระอารามท้งั ในพระนครและหัวเมอื งท่ี ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์
ประณตี ศิลป์ กรุงธนบุรีมนี ายช่างผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ อย่างพร้อมมูล ท้งั ช่างรัก ช่างประดบั ช่างแกะสลกั ช่างป้ัน และช่างเขยี น งานประณตี ศิลป์ ชิ้นสาคญั สมยั นี้ ได้แก่ ตู้ พระไตรปิ ฎกลายรดนา้ 4 ตู้
ข้อ 1 เพราะเหตุใดพระยาตาก (สิน) จงึ ตดั สินใจหลบหนี ออกจากกรุงศรีอยุธยาขณะทท่ี พั พม่ากาลงั ล้อมเมอื งอยู่ 1. ถูกคาดโทษจากผู้นาทพั 2. เกรงว่าจะถูกจับเป็ นเชลย 3. หาท่ีม่ันใหม่เพอื่ ใช้ทาศึก 4. ในกรุงขาดแคลนเสบียงอาหาร
ข้อ 2 ข้อได้เปรียบของกรุงธนบุรีในการเป็ นราชธานีคอื อะไร 1. มพี นื้ ทท่ี านามาก 2. มปี ระชากรอาศัยอยู่มาก 3. มกี าแพงเมืองแขง็ แรง 4. เป็ นเมอื งเลก็ อยู่ใกล้ทะเล
ข้อ 3 เพราะเหตุใดสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชจงึ ต้อง ทรงยกทพั ไปปราบชุมนุมต่างๆ ท้งั ทเ่ี ป็ นคนไทยด้วยกนั 1. เพอ่ื ตัดทอนกาลงั ข้าศึก 2. เพอื่ ความเป็ นเอกภาพในชาติ 3. เพอื่ แสดงความเป็ นใหญ่ 4. เพอื่ ให้คนไทยเกดิ ความเกรงกลวั
ข้อ 4 ปัญหาทางเศรษฐกจิ ทก่ี รุงธนบุรีกาลงั ประสบอย่าง หนักคอื ข้อใด 1. ขาดแคลนอาหาร 2. เกดิ ภาวะเงนิ เฟ้ อ 3. ขาดดุลการค้ามาก 4. เพาะปลูกไม่ได้ผล
ข้อ 5 ข้อใดกล่าวสรุปเกยี่ วกบั ลกั ษณะศิลปวฒั นธรรมใน สมยั ธนบุรีได้เหมาะสมทสี่ ุด 1. ได้รับอทิ ธิพลจากพม่า 2. ทาตามอย่างสมยั อยุธยา 3. มเี อกลกั ษณ์เฉพาะตน 4. ใช้รูปแบบผสมระหว่างไทยกบั พม่า
ข้อ 7 เพราะเหตุใดสมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึกจึงยกทพั กลบั มากรุงธนบุรี โดยไม่ทาสงครามกบั เขมรให้เรียบร้อยเสียก่อน 1. ขาดแคลนเสบียงอาหาร 2. เกดิ เหตุจลาจลทกี่ รุงธนบุรี 3. เขมรยอมเข้ามาสวามภิ ักด์กิ ่อน 4. เขมรเข้มแขง็ จนยากเกนิ กาลงั
ข้อ 6 ข้อใดเป็ นจุดมุ่งหมายทสี่ าคญั ทส่ี ุดในการดาเนิน ความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศของไทยสมยั ธนบุรี 1. เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา 2. ทาสงครามขยายอาณาเขต 3. ติดต่อคา้ ขายกบั ชาติตะวนั ตก 4. ฟ้ื นฟบู า้ นเมืองใหเ้ จริญรุ่งเรือง
ข้อ 8 การสร้างเสถยี รภาพทางสังคมในเรื่องใดท่ถี ือเป็ น ผลงานเด่นของสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช 1. ชาระกฎหมาย 2. ปราบปรามโจรผู้ร้าย 3. ส่งเสริมฐานะของไพร่ 4. ฟื้ นฟูพระพทุ ธศาสนา
ข้อ 9 สาเหตุทที่ าให้กรุงธนบุรีประสบปัญหาทางเศรษฐกจิ เกดิ จากอะไร 1. มศี ัตรูพชื ทาลายไร่นา 2. ประสบกบั ภาวะแห้งแล้ง 3. จ่ายเงนิ ซื้ออาวธุ เป็ นจานวนมาก 4. ผลจากการเสียกรุงศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี 2 พ.ศ. 2310
ข้อ 10 ในสมยั ธนบุรีได้มกี ารกวดขนั การขนึ้ ทะเบียนไพร่ อย่างเข้มงวด ท้งั นีเ้ พอื่ อะไร 1. เกณฑ์พลง่ายยามมศี ึกสงคราม 2. ป้ องกนั การทาจารกรรม 3. เอาไว้เป็ นแรงงานในการทานา 4. มคี วามสะดวกในการจดั เกบ็ ภาษี
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: