การเมอื งการปกครองของไทย
ในอดีตประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ โดยมี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขทรงมีพระราชอาํ นาจโดยสมบูรณ์แต่เพียงประองคเ์ ดียว กล่าว ได้ว่า พระมหากษตั ริยใ์ นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยน์ ้ัน ทรงอย่เู หนือรัฐธรรมนูญและ กฎหมายใดๆ พระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นผตู้ รากฎหมาย ทรงตดั สินและพิจารณาอรรถคดี ทรง บริหารประเทศ ท่ีผ่านมาประเทศไทยไดม้ ีรูปแบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ใน 4 สมยั ดงั น้ี คือ 1. สมยั อาณาจกั รสุโขทยั (พ.ศ. 1800-1921) 2. สมยั อาณาจกั รกรุงศรีอยธุ ยา (พ.ศ. 1893-2310) 3. สมยั อาณาจกั รกรุงธนบุรีและ สมยั อาณาจกั รรัตนโกสินทร์ ตอนตน้ 4. สมยั การปฏิรูปการปกครองในสมยั รัชกาลท่ี 5 จนกระทงั่ ถึงการเปล่ียนแปลงการปกครอง วนั ที่24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
การปกครองสมัยอาณาจกั รสุโขทยั ในสมยั น้ีมีการปกครองในระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ หรือราชาธิปไตย ซ่ึงเป็นรูปแบบการปกครองที่พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นผใู้ ชอ้ าํ นาจอธิปไตยอนั เป็น อาํ นาจสูงสุดในการปกครองและทรงใชอ้ าํ นาจน้ีในการออกกฎหมายเรียกวา่ อาํ นาจนิติ บญั ญตั ิทรงบริหารกิจการบา้ นเมืองเรียกอาํ นาจน้ีวา่ อาํ นาจบริหารราชการแผน่ ดิน และ ทรงพิจารณาอรรถคดีทรงพพิ ากษาและตดั สินคดีความต่าง ๆ ทุกวนั ธรรมะสาวนะดว้ ย พระองคเ์ อง เรียกอาํ นาจน้ีวา่ อาํ นาจตุลาการ จะเห็นไดว้ า่ พระมหากษตั ริยท์ รงใชอ้ าํ นาจ น้ีเพียงพระองคเ์ ดียว และทรงใชอ้ าํ นาจบนพ้นื ฐานของหลกั ธรรมประชาชนอยรู่ ่มเยน็ เป็ นสุข
ในสมยั อาณาจกั รสุโขทยั มีลกั ษณะการปกครองโดยใชค้ ตินิยมในการปกครอง แบบครอบครัวหรือ“พอ่ ปกครองลกู ” มาเป็นหลกั ในการบริหารประเทศ โดยในสมยั น้นั พระมหากษตั ริยใ์ กลช้ ิดกบั ประชาชนมาก ประชาชนตา่ งก็ เรียกพระมหากษตั ริย์ วา่ “พอ่ ขนุ ” ซ่ึงมีลกั ษณะเด่นที่สาํ คญั ดงั ต่อไปน้ี • พอ่ ขนุ เป็นผใู้ ชอ้ าํ นาจอธิปไตย โดยปกครองประชาชนบนพ้ืนฐานของความรัก ความเมตตาประดุจบิดาพึงมีตอ่ บุตร บางตาํ ราอธิบายวา่ เป็นการปกครองแบบพอ่ ปกครองลกู หรือแบบ “ ปิ ตุราชาประชาธิปไตย ” • พอ่ ขนุ อยใู่ นฐานะผปู้ กครองและประมุขของประเทศท่ีมี อาํ นาจสูงสุดแต่เพยี งผู้ เดียว • ประชาชนมีสิทธิและเสรีภาพในการดาํ เนินชีวิตพอสมควร
นอกจากจะทรงวางรากฐานทางการปกครองแลว้ ในสมยั สุโขทยั ยงั ทรง ประดิษฐอ์ กั ษรไทยเปิ ดโอกาสใหค้ นไดเ้ รียนรู้ภาษา รู้ธรรมและกษตั ริยบ์ างพระองคก์ ไ็ ด้ ช่ือวา่ เป็นกษตั ริยแ์ บบธรรมราชา การปกครองจึงมีรูปแบบธรรมราชาดว้ ย ซ่ึงมีหลกั การ คือ ความเชื่อที่วา่ พระราชอาํ นาจของกษตั ริยจ์ ะตอ้ งถกู กาํ กบั ดว้ ยหลกั ธรรมะ ประชาชน จงจะอยเู่ ยน็ เป็นสุข เมื่อสิ้นพระชนม กจ็ ะไดไ้ ปสู่สวรรค จึงเรียกวา่ สวรรคตหลกั ธรรม สาํ คญั ที่กาํ กบั พระราชจริยวตั ร คือ ทศพิธราชธรรม และจกั รวรรดิวตั ร 12 ประการ
การปกครองสมยั อาณาจกั รกรุงศรีอยุธยา พระเจา้ อ่ทู องทรงเป็นพระมหากษตั ริยพ์ ระองคแ์ รกของอาณาจกั ร กรุงศรีอยธุ ยา เป็นช่วงของการก่อร่างสร้างเมืองทาํ ใหต้ อ้ งมีผนู้ าํ ในการ ปกครองเพอ่ื รวมรวมอาณาจกั รใหแ้ ผข่ ยาย มีการติดตอ่ กบั ประเทศเพ่อื นบา้ น ในเรื่องการคา้ และศาสนา และในช่วงเวลาน้นั มีการเผยแพร่ของลทั ธิฮินดแู ละ ขอมเขา้ มามีบทบาทในอาณาจกั ร ดงั น้นั ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาจึงไดร้ ับ วฒั นธรรมการปกครองแบบขอมและฮินดเู ขา้ มาใชเ้ รียกการปกครองแบบน้ีวา่ “การปกครองแบบเทวสิทธ์ิ ” หรือ“สมมติเทพ ” โดยมีหลกั การสาํ คญั คือ
• กษตั ริยเ์ ปรียบเสมือนเทพเจา้ ที่มีอาํ นาจสูงสุด ทรงเป็นเจา้ ชีวติ คือ พระมหากษตั ริย์ ทรงมีพระราชอาํ นาจเหนือชีวติ ของบุคคลที่อยใู่ นสังคมทุกคน และทรงเป็นพระเจา้ แผน่ ดิน คือ ทรงเป็นเจา้ ของแผน่ ดินทวั่ ราชอาณาจกั รและพระมหากษตั ริยจ์ ะทรง พระราชทานใหใ้ ครกไ็ ดต้ ามอธั ยาศยั • การที่พระมหากษตั ริยท์ รงอยใู่ นฐานะเป็นสมมุติเทพ ตามคตินิยมของพราหมณ์จง ตอ้ งมี ระเบียบพิธีการต่าง ๆ มากมายแมแ้ ต่ภาษาที่ใชก้ บั พระมหากษตั ริยก์ ไ็ ดบ้ ญั ญตั ิ ข้ึนใชเ้ ฉพาะกบั พระมหากษตั ริยเ์ ท่าน้นั ที่เราเรียกวา่ “ราชาศพั ท์ ” • กษตั ริยใ์ นสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอ้ งเขา้ พิธีปราบดาภิเษก ซ่ึงถือวา่ เป็นการข้ึนสู่ราช บลั ลงั กโ์ ดยชอบธรรม • เกิดระบบทาสข้ึนหมายถึง บุคคลที่ใชแ้ รงงาน โดยทาสในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาอนุญาต ใหเ้ สนาบดีขา้ ราชบริพารและประชาชนท่ีร่ํารวยมีทาสได้
จากการที่อาณาจกั รกรุงศรีอยธุ ยา ไดร้ ับแนวคิดทางการเมืองการปกครอง จากเขมรมากข้ึน ส่งผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงท้งั ในดา้ นการปกครองและในดา้ น สงั คมไม่วา่ จะเป็น พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นเทวราชหรอเทวดาโดยสมมุติ , การเกิด ระบบศกั ดินาข้ึนนครแรกในสังคมไทย , การเกิดการปกครองแบบนายกบั บ่าว, มี การแบ่งชนช้นั ทางสังคมชดั เจน นอกจากน้ีในสมยั อยธุ ยายงั ตอ้ งทาํ ศึกสงคราม เกือบตลอดเวลา จึงมีความจาํ เป็นท่ีจะตอ้ ง มีการเกณฑไ์ พร่พลเพ่อื ป้ องกนั ประเทศ จึงเกิดระบบไพร่และมูลนายดว้ ยเช่นกนั
การปกครองสมยั อาณาจักรกรุงธนบุรี อาณาจกั รธนบุรี เป็นอาณาจกั รของคนไทยในช่วงเวลาส้ัน ๆ ระหวา่ ง พ.ศ. 2310 - 2325 มีพระมหากษตั ริยป์ กครองเพียงพระองคเ์ ดียว คือ สมเดจ็ พระ เจา้ กรุงธนบุรี ภายหลงั จากที่อาณาจกั รอยธุ ยาลม่ สลายไปพร้อมกบั การปลน้ กรุง ศรีอยธุ ยาของกองทพั พม่า ทวา่ ในเวลาตอ่ มา สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึก ไดส้ ถาปนาตนเองข้ึนเป็นกษตั ริย์ และทรงยา้ ยเมืองหลวงไปยงั ฝั่งตะวนั ออก ของแม่น้าํ เจา้ พระยา คือ กรุงเทพมหานครในปัจจุบนั
การปกครองในสมยั กรุงธนบุรียงั คงมีรูปแบบเหมือนกบั สมยั อยธุ ยาตอนปลาย พอสรุปไดด้ งั น้ี การปกครองส่วนกลาง หรือ การปกครองในราชธานีมีพระมหากษตั ริย์ เป็นประมุขสูงสุดเปรียบเสมือนสมมุติเทพ มีเจา้ ฟ้ าอินทรพทิ กั ษด์ าํ รงดาํ แหน่ง พระมหาอุปราช มีตาํ แหน่งอคั รมหาเสนาบดีฝ่ ายทหารหรือสมุหพระกลาโหม มียศเป็นเจา้ พระยามหาเสนา และอคั รมหาเสนาบดีฝ่ ายพลเรือนหรือสมุหนายก (มหาไทย) มียศเป็นเจา้ พระยาจกั รี เป็นหวั หนา้ บงั คบั บญั ชาเสนาบดีจตุสดมภ์ 4 กรมไดแ้ ก่
1. กรมเมือง (นครบาล) มีพระยายมราชเป็นผบู้ งั คบั บญั ชา ทาํ หนา้ ท่ี เก่ียวกบั การปกครองภายในเขตราชธานี การบาํ บดั ทุกขบ์ าํ รุงสุขของราษฎรและ การปราบโจรผรู้ ้าย 2. กรมวงั (ธรรมาธิกรณ์) มีพระยาธรรมาเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาทาํ หนา้ ที่ เกี่ยวกบั กิจการภายในราชสาํ นกั และพิพากษาอรรถคดี 3. กรมพระคลงั (โกษาธิบดี) มีพระยาโกษาธดีเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาทาํ หนา้ ที่เก่ียวกบั การรับจ่ายเงินของแผน่ ดิน และติดตอ่ ทาํ การคา้ กบั ตา่ งประเทศ 4. กรมนา (เกษตราธิการ) มีพระยาพลเทพเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาทาํ หนา้ ที่ เกี่ยวกบั เรือกสวนไร่นาและเสบียงอาหารตลอดจน ดูแลท่ีนาหลวง เกบ็ ภาษีคา่ นา เกบ็ ขา้ วข้ึนฉางหลวงและพจิ ารณาคดีความเกี่ยวกบั เรื่องโค กระบือ และท่ีนา การปกครองส่วนภมู ิภาค หรือ การปกครองหวั เมือง
การปกครองส่วนภมู ิภาคแบ่งออกเป็น หวั เมืองช้นั ใน หวั เมืองช้นั นอก หวั เมืองประเทศราช หวั เมืองช้นั ใน จดั เป็นเมืองระดบั ช้นั จตั วา มีขนุ นางช้นั ผนู้ อ้ ยเป็นผดู้ ูแล เมือง ไม่มีเจา้ เมือง ผปู้ กครองเมืองเรียกวา่ ผรู้ ้ัง หรือ จ่าเมือง อาํ นาจในการปกครอง ข้ึนอยกู่ บั เสนาบดีจตั ุสดมภ์ หวั เมืองช้นั ในสมยั กรุงธนบุรี ไดแ้ ก่ พระประแดง นนทบุรี สามโคก(ปทุมธานี) หวั เมืองช้นั นอก หรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมืองที่อยนู่ อกเขตราชธานี ออกไป กาํ หนดฐานะเป็นเมืองระดบั ช้นั เอก โท ตรี จตั วา ตามลาํ ดบั หวั เมืองฝ่ ายเหนือ ข้ึนอยกู่ บั อคั รมหาเสนาบดีฝ่ ายสมุหนายก ส่วนหวั เมืองฝ่ ายใตแ้ ละหวั เมืองชายทะเลภาค ตะวนั ออก ข้ึนอยกู่ บั กรมท่า(กรมพระคลงั ) ถา้ เป็นเมืองช้นั เอก พระมหากษตั ริย์ จะส่ง ขนุ นางช้นั ผใู้ หญ่ ออกไปเป็นเจา้ เมือง ทาํ หนา้ ท่ีดแู ลต่างพระเนตรพระกรรณ
หวั เมืองประเทศราชเป็นเมืองตา่ งชาติต่างภาษาท่ีอยหู่ ่างไกลออกไปติด ชายแดนประเทศอื่น มีกษตั ริยป์ กครอง แตต่ อ้ งไดร้ ับการแต่งต้งั จากกรุงธนบุรี ประเทศ เหลา่ น้นั ประมุขของแต่ละประเทศจดั การปกครองกนั เอง แตต่ อ้ งส่งตน้ ไมเ้ งินตน้ ไม้ ทองและเคร่ืองราชบรรณาการมาใหต้ ามที่กาํ หนด
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: