Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ

บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ

Published by Supaporn Pomso, 2021-06-23 00:03:57

Description: บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

ชือ่ บทเรยี น รหสั วชิ า: 36022004 ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการทางธรุ กจิ (Management Information Systems for Business) อาจารยผ์ ูส้ อน: อาจารยส์ ภุ าพร พรมโล ช่ือหน่วยเรียน: การสื่อสารข้อมลู ในระบบสารสนเทศ 3.1 การสอ่ื สารข้อมูล 3.2 การใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสาร 3.3 ชนิดของสญั ญาณการสื่อสาร 3.4 มอดเู ลชน่ั 3.5 การรบั -ส่งข้อมลู 3.6 ช่องทางการสอ่ื สาร 3.7 การเช่ือมต่อสายสื่อสาร 3.8 การใชบ้ รกิ ารสายส่อื สาร 3.9 สถาปตั ยกรรมเครอื ขา่ ยและโปรโตตอล 3.10 ประเภทของเครอื ข่าย 3.11 โครงสรา้ งการเช่อื มต่อเครอื ข่าย 3.12 อุปกรณ์เครือข่าย จดุ ประสงคก์ ารสอน 3.1 รู้องค์กรธรุ กิจ 3.1.1 บอกความหมายของการสื่อสาร การสอื่ สารข้อมูล และโทรคมนาคม 3.1.2 บอกองคป์ ระกอบขัน้ พนื้ ฐานของการส่ือสาร 3.2 รู้การใชเ้ ทคโนโลยีการสอื่ สาร 3.2.1 บอกความสัมพนั ธ์ของระบบสารสนเทศ องค์กร และกระบวนการธรุ กิจ 3.2.2 บอกบทบาทของระบบสารสนเทศในองค์กรธรุ กจิ 3.3 รูช้ นิดของสัญญาณ 3.3.1 บอกสัญญาณอนาลอ็ ก 3.3.2 บอกสัญญาณตจิ ิตอล 46

3.4 รู้มอดูเลชัน่ 3.4.1 บอกการมอดูเลตทางแอมปลิจูด 3.4.2 บอกการมอดูเลตทางความถี่ 3.4.3 บอกการมอดเู ลตทางเฟส 3.5 รกู้ ารรบั -ส่งข้อมลู 3.5.1 บอกรปู แบบการรบั - ส่งขอ้ มลู 3.5.2 บอกทศิ ทางการรบั - ส่งข้อมลู 3.5.3 บอกการ Switching 3.5.4 บอก Data Transfer Mode 3.5.5 บอกอุปกรณท์ ี่ใช่ในการติดตอ่ สื่อสารโทรคมนาคม 3.6 รู้ชอ่ งทางการส่ือสาร 3.6.1 บอกชอ่ งทางการส่อื สารแบบมีสาย 3.6.2 บอกช่องทางการสือ่ สารแบบไรส้ าย 3.7 รู้การเชอ่ื มตอ่ สายส่อื สาร 3.7.1 บอกการเชอื่ มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จดุ 3.7.2 บอกการเชอ่ื มต่อแบบหลายจุด 3.8 รูก้ ารใช้บรกิ ารสายสื่อสาร 3.8.1 บอกการเชื่อมตอ่ แบบ Dial-Up Line 3.8.2 บอกการเช่ือมตอ่ แบบ Leased Line 3.8.3 บอกการเชื่อมต่อแบบ ISDN Line 3.8.4 บอกการเช่ือมต่อแบบ DSL 3.8.5 บอกการเชอ่ื มตอ่ แบบ T-Carrier Line 3.8.6 บอกการเชอ่ื มต่อแบบ CATV 3.9 รู้สถาปัตยกรรมเครอื ขา่ ยและโปรโตตอล 3.9.1 บอก OSI Model 3.9.2 บอกโปรโตคอล 3.10 ร้ปู ระเภทของเครือข่าย 3.10.1 บอกเครอื ข่าย LAN 3.10.2 บอกเครอื ข่าย MAN 3.10.3 บอกเครอื ขา่ ย WAN 47

3.11 รู้โครงสรา้ งการเช่อื มตอ่ เครอื ข่าย 3.11.1 บอกการเชือ่ มตอ่ เครอื ข่ายแบบบัส 3.11.2 บอกการเช่ือมตอ่ เครือข่ายแบบสตาร์ 3.11.3 บอกการเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยแบบรงิ 3.11.4 บอกการเช่อื มตอ่ เครอื ขา่ ยแบบผสม 3.11.5 บอกการเชือ่ มต่อเครอื ข่ายแบบไรส้ าย 3.12 รู้อุปกรณ์เครอื ข่าย 3.12.1 บอกอปุ กรณ์ทวนสัญญาณ 3.12.2 บอกอุปกรณฮ์ บั 3.12.3 บอกอุปกรณ์บริดจ์ 3.12.4 บอกอปุ กรณเ์ ราเตอร์ 3.12.5 บอกอุปกรณส์ วติ ช์ 3.12.6 บอกอุปกรณ์เกตเวย์ วธิ สี อนและกจิ กรรมการเรยี นการสอนประจาหน่วยเรยี น ในหน่วยเรียนที่ 3 มวี ิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน ดังต่อไปน้ี 1. วธิ ีสอน ผสู้ อนใช่วธิ ีการสอนแบบบรรยาย เปิดวีดที ศั น์ และวิธีการสอนแบบถาม-ตอบ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน สามารถจาแนกได้ดังนี้ 2.1 กิจกรรมก่อนเรยี น ผู้เรยี นศกึ ษาบทเรียนในหนว่ ยเรียนท่ี 3 2.2 กิจกรรมในห้องเรยี น มีดังตอ่ ไปนี้ 2.2.1 ผู้สอนปฐมนิเทศรายวิชา โดยการอธิบายแผนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแผนบรหิ ารการสอนประจาหน่วย 2.2.2 ผู้สอนบรรยายเน้ือหาหน่วยเรียนที่ 3 และมีกิจกรรมพร้อมยกตัวอย่าง ประกอบถาม-ตอบ จากบทเรยี น 2.3 กิจกรรมหลังเรียน ผู้เรียนทบทวนเน้ือหาที่ได้เรียนในหน่วยท่ี 3 โดยใช้คาถามจาก คาถามทบทวนท้ายบท ตลอดจนการศึกษาหนว่ ยตอ่ ไปล่วงหน้าหนึ่งสัปดาห์ 2.4 ใหผ้ ูเ้ รียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุดหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 48

สอ่ื การเรียนการสอนประจาบท สอื่ ท่ีใชส้ าหรบั การเรียนการสอน เรื่อง การส่ือสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. เอกสารประกอบการสอน และ มคอ.3 2. เครื่องคอมพวิ เตอร์ 3. ระบบอินเทอร์เนต็ 4. พาวเวอรพ์ อยส์ การวัดผลและการประเมินผลประจาหน่วยเรยี น 1. สังเกตการณต์ อบคาถามทบทวนเพื่อนาเขา้ สเู่ นื้อหาในหนว่ ยเรียน 2. สังเกตการณต์ ั้งคาถาม และการตอบคาถามของผเู้ รยี น หรอื การทาแบบฝกึ หดั ใน ช้ันเรยี น 3. วัดเจตคติจากพฤติกรรมการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และความ กระตอื รือร้นในการทากจิ กรรม 4. ความเข้าใจและความถกู ตอ้ งในการทาแบบฝกึ หัด 49

หนว่ ยเรียนที่ 3 การสื่อสารข้อมูลในระบบสารสนเทศ ในยคุ แรกของการใชค้ อมพิวเตอร์ เปน็ การใช้คอมพิวเตอร์แตล่ ะเครอื่ งโดยเอกเทศ คอมพิวเตอร์ ในยุคน้ันจะทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลเพียงอย่างเดียว ไม่มีหน้าที่ในการสื่อสารข้อมลู ตอ่ มาเม่ือมีการ ใชง้ านคอมพิวเตอรอ์ ย่างกว้างขวางมากข้นึ พบว่าการใชง้ านในบางกรณีจาเป็นต้องมีจดุ ป้อนขอ้ มูลหรือ เรียกดูข้อมูลหลายจุดพร้อมกัน ดังนั้น จึงเกิดระบบการใช้งานท่ีเรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (Multi-user system) แต่กรณีนี้ยงั เป็นการประมวลผลจากหน่วยประมวลผลกลางเพียงเครื่องเดยี วแต่มี การติดต้ัง เคร่ืองปลายทาง (Terminal) สาหรบั ป้อนขอ้ มูลและเรียกดูข้อมูลพร้อมกันไดห้ ลายจุดเท่านั้น จึงยังไม่ ถือเป็นระบบการส่ือสารข้อมูล ในยุคต่อมา เม่ือมีการนาคอมพิวเตอร์หลายเคร่ืองมาใช้งานท่ีอยู่ใน ระบบงานเดยี วกนั จึงพบว่า มคี วามจาเปน็ ตอ้ งเช่ือมโยงข้อมูลที่ทาการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ตา่ ง เครื่องกันเข้าด้วยกัน แรก ๆ ที่ทาโดยวิธีน้ีผลลัพธ์ท่ีได้จากอุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึง ไปป้อนใหม่ เป็นข้อมูลเข้าของคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหน่ึง เม่ือต้องทาด้วยวิธีการท่ีไม่สะดวกเช่นนี้บ่อย ๆ เข้าจึงเกิดแนวคิดที่จะพัฒนาระบบการสื่อสารข้อมูลขึ้น บทน้ีจะอธิบายถึงองค์ประกอบของระบบ การส่ือสาร ชนิดของระบบเครือข่าย รูปแบบของระบบเครือข่าย ช่องทางการส่ือสาร ข้อมูล ประเภท ของสญั ญาณตัวกลาง อปุ กรณส์ นบั สนนุ การตดิ ตอ่ สอื่ สาร และแนวโนม้ การสอ่ื สารขอ้ มลู 3.1 การสือ่ สารขอ้ มลู 3.1.1 ความหมายของการสือ่ สาร การสื่อสารข้อมลู และโทรคมนาคม การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การติดต่อระหว่างมนุษย์ โดยมจี ุดมุ่งหมายเพื่อ นาเสนอหรือแลกเปล่ียนข่าวสาร ข้อมูล ความต้องการ ความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนความคิดเห็นให้รับรู้ เร่ืองราวร่วมกัน และเกิดการตอบสนองระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร โดยอาศัยสื่อกลางในการ ติดตอ่ สือ่ สาร การสือ่ สารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง การส่งหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล และ สารสนเทศ จากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยผ่านช่องทางการส่ือสาร (Communication Channel) แต่ข้อมูลทส่ี ง่ ถึงกันนน้ั จะเป็นเพยี งขอ้ มลู (Date) เท่าน้ัน ไม่รวมเสยี งพูด (Voice) โทรคมนาดคม (Telecommunication) หมายถึง การติดต่อสื่อสารระหว่างกันในระยะ ทางไกล ๆ โดยทางอาศัยช่องทางการส่ือสารเหมือนกับการสื่อสารข้อมูล แต่สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล (Data) และเสยี งพูด (Voice) 50

3.1.2 องค์ประกอบขั้นพ้นื ฐานของการสอื่ สาร องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบส่ือสาร (ภาพที่ 3.1) สามารถจาแนกออกเป็น สว่ นประกอบได้ดังต่อไปนี้ ผูส้ ง่ การเขา้ รหัส ชอ่ งสญั ญาณ การถอดรหัส ผูร้ บั ข่าวสาร ขา่ วสาร ผรู้ ับ ขา่ วสาร ภาพที่ 3.1 องค์ประกอบขนั้ พ้นื ฐานของการส่ือสาร ทม่ี า (ผู้เขยี น) 1) ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร (Source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อส่ือสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ ควันไฟ หรือ ทา่ ทางตา่ ง ๆ ก็นับว่าเปน็ แหลง่ กาเนดิ ข่าวสาร จัดอยูใ่ นหมวดหมู่น้ีเชน่ กัน 2) ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (Sink) ซ่ึงจะรับรู้จากสิ่งท่ีผู้ส่ง ขา่ วสาร หรือแหล่งกาเนิดข่าวสารสง่ ผ่านมาให้ตราบใดทก่ี ารติดตอ่ สื่อสารบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ผู้รับสาร หรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารน้ัน ๆ ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้ รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสอ่ื สารนนั้ ไมป่ ระสบความสาเรจ็ กล่าวคือไม่มกี ารส่อื สารเกดิ ขนึ้ นั่นเอง 3) ช่องสัญญาณ (Channel) ในที่น้ีอาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสาร เดินทางผ่าน อาจจะเป็นอากาศ สายนาสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระท่ังของเหลว เช่น น้า น้ามัน เป็น ต้น เปรยี บเสมอื นเปน็ สะพานทจี่ ะใหข้ า่ วสารขา้ มจากฝ่งั หน่งึ ไปยังอีกฝ่งั หนึ่ง 4) การเข้ารหัส (Encoding) เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความ เข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย จึงมีความจาเป็นต้องแปลงความหมายนี้ การเข้ารหัสจึงหมายถึง การแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ท่ีพร้อมจะส่งไปในส่ือกลาง ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกัน ระหว่างผสู้ ง่ และผู้รบั หรือมีรหสั เดียวกนั การสือ่ สารจึงเกิดขนึ้ ได้ 5) การถอดรหัส (Decoding) หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจาก ส่ือกลางใหก้ ลับไปอย่ใู นรูปข่าวสารท่ีสง่ มาจากผู้ส่งข่าวสาร โดยมีความเข้าในหรอื รหสั ตรงกัน 51

6) สัญญาณรบกวน (Noise) เป็นส่ิงที่มีอยู่ในธรรมชาติ มักจะลดทอนหรือรบกวน ระบบ อาจจะเกิดข้ึนได้ท้ังทางด้านผู้ส่งข่าวสาร ผู้รับข่าวสาร และช่องสัญญาณ แต่ในการศึกษาข้ัน พื้นฐาน มักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด ตาแหน่งท่ีใช้ วิเคราะห์ มักจะเป็นท่ีตัวกลางหรือช่องสัญญาณ เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวน ด้าน ผู้ส่งข่าวสารและ ด้านผู้รับข่าวสาร ในทางปฏิบัติมักจะใช้วงจรกรอง (Filter) กรองสัญญาณแต่ ต้นทาง เพ่ือให้การ ส่ือสารมคี ณุ ภาพดยี ิ่งข้นึ แล้วคอ่ ยดาเนนิ การ เชน่ การเขา้ รหสั แหลง่ ข้อมูล เปน็ ต้น 3.1.3 อุปกรณ์การส่อื สารข้อมูล วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และ เม่ือถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณน้ัน กลับมาให้อยู่ในรูปท่ีมนุษย์ สามารถท่ีจะ เขา้ ใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมอี ุปสรรคท์ ่ีเกดิ ข้ึนกค็ ือ ส่งิ รบกวน (Noise) จากภายนอกทาให้ขอ้ มูล บางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซ่ึงระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่ง มากก็อาจจะทาให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดส่ิงรบกวนเหล่าน้ี โดยการพัฒนา ตัวกลางในการส่ือสารท่ีจะทาให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด อุปกรณ์การส่ือสารข้อมูล ท่ีสาคัญ มี 3 ประการดังนี้ 1) อุปกรณ์การแสดงสารสนเทศ ได้แก่ จอภาพคอมพิวเตอร์เทอร์มินัลชนิดต่าง ๆ เครือ่ งพมิ พ์และหน่วยประมวลผลกลาง ฯลฯ 2) อุปกรณ์ส่งผ่านสารสนเทศ ได้แก่ อุปกรณ์ประเภทสาย (Wire) เช่น เคเบิล สาย Coaxial สายโทรศัพท์ Twisted-pair สายใยแกว้ นาแสง Optical Fiber 3) อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล ได้แก่ โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์ประเภท Line Driver และ Multiplexer 3.1.4 ประโยชน์ของการส่ือสารขอ้ มลู ประโยชน์ของการสอ่ื สารขอ้ มูล สรุปไดด้ งั นี้ 1) การจัดเก็บข้อมูลได้ง่ายและสื่อสารได้รวดเร็ว การจัดเก็บซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจัดเก็บไว้ในแผ่นบันทึกท่ีมีความหนาแน่นสูง แผ่นบันทึกแผ่นหนึ่งสามารถ บันทึกขอ้ มูลได้มากกกวา่ 1 ล้านตัวอักษร สาหรับการส่ือสารขอ้ มูลนัน้ ถา้ ขอ้ มูลผ่านสายโทรศัพท์ได้ใน อัตรา 120 ตัวอักษร ต่อวินาทีแล้ว จะส่งข้อมูล 200 หน้าได้ในเวลา 40 นาที โดยไม่ต้องเสียเวลานั่ง ปอ้ นข้อมูลเหล่าน้ันซา้ ใหมอ่ กี 2) ความถูกต้องของข้อมูล โดยปกติวิธีส่งข้อมูลด้วยสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ จากจุด หนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งด้วยระบบดิจิตอล วิธกี ารส่งขอ้ มูลน้ันมกี ารตรวจสอบสภาพของข้อมูล หากข้อมูล 52

ผิดพลาดก็จะมีการรับรู้ และพยายามหาวิธีแก้ไขให้ข้อมูลท่ีได้รับมีความถูกต้อง โดยอาจให้ทาการส่ง ใหม่ หรือกรณที ีผ่ ิดพลาดไม่มากนกั ฝ่ายผูร้ ับอาจใชโ้ ปรแกรมของตนแกไ้ ขข้อมูลใหถ้ ูกต้องได้ 3) ความเร็วของการทางาน โดยปกติสัญญาณทางไฟฟ้าจะเดนิ ทางด้วยความเรว็ เท่า แสง ทาให้การใช้คอมพิวเตอร์ส่งข้อมูลจากซีกโลกหนึ่ง ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง หรือค้นหาข้อมูลจาก ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ สามารถทาได้รวดเร็ว ความรวดเร็วของระบบทาให้ผู้ใช้สะดวกสบายย่ิงข้ึน เช่น บริษัทสายการบินทุกแห่งสามารถทราบข้อมูลของทุกเท่ียวบินได้อย่างรวดเร็ว ทาให้การจองท่ีน่ังของ สายการบินสามารถทาได้ทนั ที 4) ต้นทุนประหยัด การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าหากันเป็นเครือข่าย เพ่ือส่งหรือ สาเนาข้อมูล ทาใหร้ าคาตน้ ทุนของการใช้ขอ้ มูลประหยัดขน้ึ เมื่อเทียบกับการจัดสง่ แบบวธิ อี น่ื สามารถ สง่ ขอ้ มลู ใหก้ นั และกนั ผา่ นทางสายโทรศพั ท์ได้ ตัวอย่างการได้ประโยชน์จากการสื่อสารข้อมูล ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ ทาให้ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์หลาย ๆ คน สามารถทางานร่วมกนั ได้ ตามตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี 1) ห้างค้าปลีกสมัยใหม่มีจุดรับชาระเงินหลายชุด แต่ละจุดมีเคร่ืองอ่านรหัสแท่ง (Bar Code) ท่ีสามารถตัดสต๊อกสินค้าท่ีขายออกจากฐานข้อมูลสินค้าคงคลังได้ทันที เคร่ืองเก็บเงินท่ีมี เคร่ืองอ่านรหัสแท่งเป็นส่วนประกอบนี้ความจริงเป็น คอมพิวเตอร์ลูกข่ายที่ต่ออยู่กับเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายโดยใช้ฐานข้อมูล ร่วมกัน โดยท่ีระบบนี้เป็นระบบเครือขา่ ยบริเวณเฉพาะที่ ดังนั้น การท่ีห้าง ฯ สามารถต้ังจุดรับชาระเงินจานวนมาก เพื่อบริการลูกค้าได้รวดเร็วก็มาจากบทบาทของ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และการสอื่ สารข้อมูลน่ันเอง 2) เครื่องเบิกถอนเงินสดอัตโนมัติ หรือเครื่องเอทีเอ็ม (ATM) เป็นระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในระบบแวน (WAN) ท่ีมีเครือ่ งลูกข่ายคือตู้เอทีเอ็มจานวนมากกระจายกันอยู่ทั่วประเทศ เคร่ือง ลูกข่ายของแต่ละธนาคารต่อเช่ือมกับเครื่องแม่ข่ายของธนาคารนั้น และเคร่ืองแม่ข่ายของ ธนาคารตา่ ง ๆ ก็ต่อเช่ือมกันเปน็ เครือข่ายด้วยเมื่อเจ้าของบัญชีเงินฝากทารายการถอนเงิน ทตี่ ูเ้ อทีเอ็ม ตูห้ นง่ึ ข้อมูลจะถูกส่งไปยังเครอื่ งแม่ขา่ ยทีต่ ู้เอทีเอ็มตู้หนึง่ ข้อมลู จะถูกส่งไปยังเคร่ืองแมข่ ่ายท่ีตเู้ อทีเอ็ม นั้น หากพบว่าเป็นบัญชีเงินฝากของธนาคารอื่น ก็จะส่งข้อมูลต่อไปยังธนาคารเจ้าของบัญชีเมื่อ ตรวจสอบเรียบร้อยข้อมูลจะถูก ส่งกลับมาที่ตู้เอทีเอ็มนั้นอีกครั้ง พร้อมกับคาส่ังให้จ่ายเงินหรือไม่ให้ จ่ายเงิน ตู้เอทีเอ็มจึงเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของส่ิงอานวยความสะดวกในสังคมยุคใหม่ ที่เป็นผลโดยตรง มาจากบทบาทและประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์และการสอ่ื สารข้อมูล 53

3.2 การใช้เทคโนโลยีการส่ือสาร การส่ือสารข้อมูลในยุคปัจจุบัน ถือเป็นยุคความเจริญของเทคโนโลยีคมนาคมและการส่ือสาร โดยเฉพาะการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่กับระบบอินเตอร์เน็ต หน่วยงานต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนได้ ตระหนักถึงความสาคัญในการนาเทคโนโลยคี มนาคมและการส่ือสารมาช่วยงานเพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการดาเนินงาน ซ่ึงลักษณะของกิจกรรมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการส่ือสารใน องค์การมีดงั นี้ (Shelly, et al., 2002) 1) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-mail) เป็นการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนกิ ส์ไปยังบุคคลอ่ืน โดยการสือ่ สาร น้ีบุคคลท่ีทาการส่ือสารจะต้องมีชื่อและท่ีอยู่ในรูปของอีเมล์แอดเดรส (E-mail address) เช่น [email protected] 2) (Facsimile หรือ Fax) คือ เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความท่ีเขียนข้ึนด้วยมือหรือ การพมิ พ์ รูปภาพ หรอื กราฟต่างๆ จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์อื่นๆ ท่ีมีอปุ กรณ์ ท่ีเรียกว่าแฟกซ์-โมเดมไปยังเคร่ืองรับโทรสาร การส่งขอ้ ความในลักษณะนี้ช่วยประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายและมี ประสิทธิภาพสูงกว่าการส่งข้อมูลผ่านเคร่ืองโทรสารธรรมดา เป็นการประหยัดค่ากระดาษและยัง สามารถบันทึกข้อมูลท่ีได้รับไว้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ด้วย นอกจากนี้ยังสามารถส่งข้อมูลต่อไปยัง ผู้อ่นื ด้วยไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3) วอยซ์เมล (Voice Mail) เป็นการส่งข้อความท่ีเป็นเสียงพูดให้กลายเป็นข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายการส่ือสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บันทึกเสียงที่เรียกว่า วอยซเ์ ลบ๊อกซ์ 4) (Voice Mailbox) เมื่อผู้รับเปิดฟังข้อความดังกล่าวก็จะถูกแปลงกลับไปอยูใ่ นรูปแบบของ เสียงพูดตามเดิม 5) การประชมุ ทางไกลอิเล็กทรอนกิ ส์ (Video Conferencing) เปน็ การสอ่ื สารข้อมูลโดยการ ส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหน่ึง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการ บันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง โดยที่ภาพและเสียงที่ส่งไปนั้นอาจเป็นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียง ประกอบได้ การประชุมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ประชุม เปน็ เทคโนโลยที ีน่ ามาประยกุ ตอ์ ย่างแพร่หลาย ตัวอย่างเช่น การประชมุ ระหวา่ งนายกรัฐมนตรี กับผู้วา่ ราชการจังหวดั ของไทย และยงั ใชใ้ นการเรยี นการสอนทางไกล เป็นต้น 6) การระบุตาแหน่งด้วยดาวเทียม (Global Positioning Systems : GPSs) เป็นระบบที่ใช้ วิเคราะห์และระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรือส่ิงของที่เป็นเป้าหมายของระบบ การวิเคราะห์ตาแหน่ง 54

ทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปัจจุบันมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรือ เครื่องบิน และเริ่ม พัฒนามาใช้เพ่อื ระบุตาแหนง่ ของรถยนต์ด้วย 7) กรปุ๊ แวร์ (Groupware) เปน็ โปรแกรมประยุกต์ท่ีชว่ ยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคล ให้สามารถทางานรว่ มกัน การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครอื ขา่ ย 8) การโอนเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Fund Transfer : EFT) ปัจจุบันผู้ใช้ สามารถชาระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์จากบัญชีธนาคารที่ให้บริการโอน เงินอัตโนมัติโดยเทคโนโลยีการสื่อสารท่ีทันสมัย กิจกรรมท่ีประยุกต์ใช้กันเป็นประจา ได้แก่ การโอน เงนิ ผา่ นตู้ ATM และการชาระคา่ สินคา้ ดว้ ยบตั รเครดิต เช่น สมาร์ท เพิร์ส (Smart Purse) เปน็ ตน้ 9) การแลกเปลยี่ นข้อมลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เ ป็ น ระบบแลกเปลย่ี นข้อมลู เชิงอเิ ลก็ ทรอนิกสร์ ะหวา่ งองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเอกสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท่ีมีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบส่ังซื้อสินค้า ใบส่งของ ใบเรียกเก็บเงิน เป็นต้น EDI ช่วยให้ การไหลเวียนของเอกสารระหว่างผู้ผลิตสินค้าและลูกค้าเป็นไปความสะดวกและรวดเร็ว ลดการใช้ กระดาษ ช่วยลดความซ้าซ้อนและความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล องค์การขนาดใหญ่ท่ีนา EDI มา ใช้ เชน่ วอลมารท์ (Wal-Mart) ซง่ึ กาหนดให้ซพั พลายเออร์ใช้ EDI ในการทาธรุ กรรม 10) การระบุลักษณะของวัตถุด้วยคล่ืนความถ่ีวิทยุ (RFID) RFID ย่อมาจาก Radio Frequency Identification เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถ่ีวิทยุ ปัจจุบันมีการนา RFID ไปประยุกต์ใช้งานยนต์หลากหลายประเภท เช่น ห่วงโซ่อุปทาน ระบบโลจิสติกส์ การตรวจสอบ ฉลากยา การใช้ในฟาร์มเล้ียงสุกร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟใต้ดิน ระบบหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Passport) ระบบกุญแจอิเล็กทรอนิกส์ (Immobilizer) ในรถยนต์ และระบบห้องสมุดดิจิทัล (e- Library) ในการคนื อตั โนมัติ เป็นตน้ จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีการสื่อสารเมื่อนามาประยุกต์ใช้ในงาน ต่างๆ โดยเฉพาะธุรกิจแล้วได้ช่วยอานวยความสะดวก รวดเร็ว เกิดประโยชน์ในหลายๆด้าน ท้ังผู้ ให้บรกิ ารและผูร้ ับบริการทาให้เกดิ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ 3.3 ชนิดของสญั ญาณการส่ือสาร ในการส่งข้อมูลเพ่ือทาการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์นั้น จะต้อง แปลงข้อมูลทีต่ ้องการสง่ ให้อยใู่ นรูปของ \"สญั ญาณ (Signal)\" เพ่ือใหส้ ามารถส่งไปในตวั กลางทเ่ี ป็นช่อง ทางการส่อื สารได้ โดยสามารถแบ่งสญั ญาณท่ีใช้ในการส่ือสารได้เปน็ 2 ชนิดคอื สญั ญาณอนาลอ็ กและ สัญญาณดิจติ อล 55

3.3.1 สญั ญาณอนาลอ็ ก (Analog Signal) สัญญาณอนาล็อก คือ สัญญาณท่ีอยู่ในรูปแบบของคลื่น (Waveform) ท่ีมีความ ต่อเน่ือง กัน (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับของสัญญาณข้ึน - ลงตามขนาดของสัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่ (Frequency) ทีเรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณอนาล็อก เช่น เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้าสลับ เปน็ ตน้ 6.5.2 สัญญาณติจติ อล (Digital Signal) สัญญาณติจิตอล หรือเรียกว่า \"สัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal)\" คือ สัญญาณท่ีมีระดับ ของสัญญาณเพียง 2 ระดับ สูงและต่า การเปล่ียนระดับสัญญาณจะไม่มีความต่อเน่ืองกัน (Discrete) โดยปกติแลว้ ระดบั สงู จะแทนด้วยตัวเลข 1 และระดบั ระดับต่าจะแทนด้วย 0 ในการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณอนาล็อกนน้ั เมื่อระยะทางในการส่งขอ้ มูลเพม่ิ ขึ้นเรอ่ื ย ๆ จะส่งผล ให้พลังงานของสัญญาณออ่ นลงเร่ือย ๆ ดังนั้นในการส่งสัญญาณอนาล็อกที่ระยะไกล ๆจงึ จาเปน็ ตอ้ งมี เครื่องขยายสัญญาณ (Amplifier) เพ่ือเพิ่มพลังงานให้กับสัญญาณ แต่ข้อเสียของการใช้เคร่ืองขยาย สัญญาณ คอื จะทาใหเ้ กิดสัญญาณรบกวน (Noise) ดังนั้น จึงจาเปน็ ต้องใช้วงจรกรองสญั ญาณ (Filter) เพือ่ กรองเอาสัญญาณรบกวนออก ส่วนสัญญาณดิจิตอลเม่ือเพิ่มระยะทางในการส่งขึ้น จะส่งผลให้สัญญาณดิจิตอลจางหายไป (เปลี่ยนจาก 1 เป็น O) ดังน้ันจึงจาเป็นต้องใช้เคร่ืองทวนสัญญาณ (Repeater) ในการกู้ข้อมูลคืน มาแล้วจึงสง่ สญั ญาณออกไปใหม่ 3.4 มอดเู ลชนั (Modulation) เนื่องจากข้อมูลท่ีประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นดิจิตอล แต่สายสัญญาณท่ีใช้เป็นช่อง ทางการส่อื สารตามบ้านทัว่ ไปเป็นสายโทรศัพท์ (สายอนาล็อก) ดงั นั้น ในการสื่อสารข้อมลู จงึ ต้องมีการ แปลงสัญญาณจากดิจิตอลไปเป็นอนาล็อก และเนื่องจากต้องส่งไปเป็นระยะทางไกลจึงต้องมีการเพ่ิม พลังงานให้กับสัญญาณด้วย การแปลงสัญญาณและเพ่ิมพลังงานให้กับสัญญาณน้ีเรียกว่า \"มอดูเลชัน (Modulation)\" สามารถทาได้โดยการนาข้อมูลมาคูณกับคลื่นพาห์ (Carrier Signal) ซึ่งมีขนาด (Amplitude) ของสัญญาณและความถ่ี (Frequency) คงท่ี ในระดับท่ีสูงพอต่อการเดินทางแล้ว สัญญาณไม่หาย เมื่อสัญญาณที่ส่งออกไปถึงผู้รับแล้ว จะต้องมีการแยกสัญญาณคลื่นพาห์ออกและ แปลงขอ้ มูลกลบั ไปเปน็ ข้อมลู ดิจิตอล เพื่อให้คอมพวิ เตอร์สามารถประมวลผลวิธีน้ีเรยี กว่า \"ดีมอดเู ลชัน (Demodulation) อุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่ในการมอดูเลตและดีมอดูเลตสัญญาณเรียกว่า \"Modem (MOdulator - DEModulator)\" การมอดูเลตที่ใช้ในระบบส่ือสารมี 3 แบบหลกั ๆ คือ 56

3.4.1 การมอดเู ลตทางแอมปลจิ ูด (AM: Amplitude Modulation) การมอดูเลตแบบ AM ถือเป็นวิธีการท่ีง่ายและสะดวกท่ีสุด โดยวิธีการน้ีจะแทนข้อมูล ด้วยสัญญาณท่ีมีแอมปลิจูดต่างกัน (อาจจะแทนบิตท่ีเป็น 0 ด้วยแอมปลิจุดต่า และแทนบิตท่ีเป็น 1 ด้วยแอมปลิจูดสูง) แล้วนาไปมอดูเลตกับคล่ืนพาห์ ก็จะได้สัญญาณที่มีความถี่เท่ากับความถ่ีของ คล่ืนพาห์ แต่มีแอมปลิจุดของสัญญาณเปล่ยี นแปลงไป ขนึ้ อย่กู บั แอมปลิจดู ของสญั ญาณข้อมลู ข้อดี สามารถส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารได้เป็นระยะทางไกล ๆ (ใช้ Amplifier น้อย) ขอ้ เสยี คอื มสี ญั ญาณรบกวนมาก 3.4.2 การมอดูเลตทางความถ่ี (FM: Frequency Modulation) การมอดเู ลตแบบ FM เปน็ การแทนข้อมูลด้วยสญั ญาณท่มี ีความถต่ี า่ งกนั อาจจะแทนบิต ที่เป็น 0 ด้วยความถ่ีต่า และแทนบิตท่ีเป็น 1 ด้วยความถ่ีสูง แล้วนาไปมอดูเลตกับคล่ืนพาห์ ก็จะได้ สัญญาณท่ีมีแอมปลิจูดคงที่ เท่ากับแอมปลิจุดของคลื่นพาห์ แต่มีความถี่ของสัญญาณเปลี่ยนแปลงไป ขึ้นอยู่กับความถข่ี องสัญญาณขอ้ มูล ข้อดี มีสัญญาณรบกวนนอ้ ยกว่าแบบ AM ข้อเสีย - เนื่องจากสัญญาณขอ้ มลู มีหลายความถ่ี ดงั นัน้ จึงตอ้ งการช่องทางการสื่อสาร ที่มแี บนดว์ ิดทก์ วา้ ง ซง่ึ สายสอ่ื สารที่มีแบนด์วิดท์กวา้ ง จะมรี าคาแพง - ระยะทางในการส่งสญั ญาณใกล้กว่าแบบ AM (ใช้ Amplifier มากกวา่ แบบ AM) 3.4.3 การมอดูเลตทางเฟส (PM: Phase Modulation) การมอดูเลตแบบ PM เป็นการแทนข้อมูลด้วยสัญญาณท่ีมีมุมเฟสต่างกัน (โดยหาก ข้อมูลมีการเปล่ียนจากบิต 0 เป็น 1 หรือเปลี่ยนจากบิต 1 เป็น 0 ก็กลับมุมเฟสของสัญญาณ) แล้ว นาไปมอดูเลตกับคล่ืนพาห์ ก็จะได้สัญญาณท่ีมี แอมปลิจูดและความถี่คงที่เท่ากับแอมปลิจุดและ ความถ่ีของคลน่ื พาห์ตามลาดับ แตส่ ญั ญาณจะมีมมุ เฟสเปล่ียนแปลงไป 3.5 การรบั - ส่งข้อมลู เมื่อทราบถึงชนิดของสัญญาณและการมอดูเลตสัญญาณเพ่ือให้สามารถส่งข้อมูล หรือ สารสนเทศผ่านช่องทางการส่ือสาร ลาดับตอ่ ไปจึงควรมาศกึ ษาถึงรูปแบบการรับ-ส่งขอ้ มูล ทิศทางการ รับ-ส่งข้อมูล Switching และ Data Transfer Mode 3.5.1 รูปแบบการรบั - สง่ ข้อมลู การส่งสารสนเทศหรือข้อมูลออกไปน้ันมีอยู่ได้ 2 รูปแบบคือ ส่งข้อมูลคร้ังละ 1 บิต แต่สามารถส่งไปได้ในระยะทางไกล ๆ ซ่ึงเรียกว่า 'การรับ-ส่งข้อมูลแบบอนุกรม (Serial 57

Transmission) หรือส่งข้อมูลทั้งไบต์ไปในคราวเดียวแต่สามารถส่งได้ในระยะทางส้ัน ๆ เท่าน้ัน ซ่ึง เรยี กวา่ \"การรบั -สง่ ข้อมูลแบบขนาน (Parallel Transmission)\" 3.5.1.1 การรับ-สง่ ขอ้ มูลแบบอนกุ รม (Serial Transmission) การรับ-ส่งข้อมูลแบบอนุกรม เป็นการรับ-ส่งข้อมูลคร้ังล่ะ 1 บิตเรียง ตามลาดับกันไป โดยจะมีการใช้สายส่ือสารเพียงเส้นเดียวเท่านั้น การรับ–ส่งข้อมูลแบบน้ีจะสามารถ สง่ ไปได้ในระยะไกล ๆ จึงนยิ มใช้ในการสื่อสารข้อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์ และที่พบเห็นกนั อยู่เสมอก็ คือ เมาส์และ Com Port เนื่องจากการรับ-ส่งข้อมูลแบบอนุกรมน้ัน เป็นการส่งทีละบิตเรียงตามลาดับ กันไป หากต้องการส่งข้อมูล เช่น คาวา่ \"serial\" แบบอนุกรม จะทาให้เกดิ ปัญหาขึ้น คือ เครื่องทางฝั่ง รับไม่สามารถแยกแยะได้ว่า ข้อมูลท่ีส่งมาน้ันเป็น \"serial\" เนื่องจากไม่ทราบว่าข้อมูลที่รับเข้ามานั้น เริ่มต้นที่บิตใดและสิ้นสุดที่บิตใด ดังน้ัน เพื่อให้เคร่ืองทางฝั่งรับสามารถแยกแยะข้อมูลท่ีส่งไปได้ จึง แบ่งการรับ-ส่งข้อมูลแบบอนุกรมออกเป็น 2 วิธี คือ วิธี Asynchronous Transmission และ Synchronous Transmission 1) Asynchronous Transmission มีการเพ่ิมบิตควบคมุ ข้ึนมาเป็นพเิ ศษ เพื่อ ใช้แบ่งข้อมูลออกมาเป็น 1 ตัวอักขระ (1 Character) ซึ่งบิตควบคุมที่เพ่ิมขึ้นมาคือ Start Bit, Stop Bit และ Party Bit โดยที่ Start Bit จะอยู่หน้าตัวอักขระเพ่ือบอกว่าเป็นจุดเร่มิ ต้นของตัวอักขระ Sop Bit จะอยู่หลังตัวอักขระเพื่อบอกว่าจบตัวอักขระแล้ว และ Parity Bit จะอยู่ก่อน Stop Bit เพื่อใช้ ตรวจสอบว่าตัวอักขระท่ีได้รับนนั้ ตรงกับตวั อกั ขระทีไ่ ดส้ ง่ มาหรอื ไม่ ความเร็วในการรับ-สง่ ข้อมูลแบบน้ี จะช้า เน่ืองจากต้องมีการเพิ่มท้ัง 3 บิตน้ันลงไปยังตัวอักขระทุกตัว จะพบการรบั -ส่งข้อมูลแบบน้ไี ด้ใน อปุ กรณท์ ม่ี ีความเร็วในการรับ-สง่ ขอ้ มูลต่า เชน่ โมเด็ม คยี บ์ อร์ด เปน็ ต้น 2) Synchronous Transmission ข้อมูลท่ีใช้การรับ–ส่งด้วยวิธีน้ี จะเป็นกลุ่ม ของตัวอักขระจานวนมากท่ีเรียกว่า \"แพ็คเก็ต (Packet\" ทาให้สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้เป็นจานวนมาก และมีการพิมพ์ไบต์ที่เป็น Header และ Trailer ไว้ที่ส่วนหัวและท้ายของแพ็คเก็ตเพื่อบอกว่าเป็น จุดเรม่ิ ต้นและสน้ิ สุดของแพ็คเก็ตตามลาดับ นอกจากนย้ี ังมกี ารเพิ่ม Parity Bit ไว้ก่อน Trailer เพื่อใช้ ตรวจสอบว่าแพ็คเก็ตที่ได้รับนั้นถูกต้องเหมือนกับที่ส่งมาหรือไม่ ในการรับ-ส่งข้อมูลน้ัน ทั้งฝ่ังรับและ ฝงั่ สง่ จะตอ้ งทางานให้สอดคลอ้ งกนั (Synchronize) โดยใช้สัญญาณนาฬิกา (Clock) ทม่ี ีความถีเ่ ท่ากัน หากใช้ความถี่ไม่เท่ากัน จะทาให้การรับ-ส่งข้อมูลผิดพลาด วิธีน้ีจะเหมาะกับระบบท่ีต้องมีการรับ-ส่ง ข้อมูลตลอดเวลา ซ่ึงมักเป็นระบบที่ใหญ่ นอกจากน้ีการรับ-ส่งข้อมูลแบบนี้ยังมีการทางานท่ีซับซ้อน และแพงกว่าแบบ Asynchronous ทาใหไ้ ม่เหมาะกับเครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอร์ 58

3.5.1.2 การรบั - ส่งขอ้ มลู แบบขนาน (Parallel Transmission) การรบั -สง่ ข้อมูลแบบขนาน เปน็ การรับ-ส่งขอ้ มูลครัง้ ละหลายๆ บิตพรอ้ มกัน โดยข้อมูล 1 บิตจะใช้สายสื่อสาร 1 เส้น ดังน้ันจานวนของสายส่ือสารที่ใช้จึงเท่ากับจานวนบิตของ ข้อมูลที่ต้องการส่งไปแบบขนานกัน ทาให้เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับ-ส่งข้อมูลแบบอนุกรม และไม่ สามารถส่งไปในระยะทางทีไ่ กล ๆ ได้เน่ืองจากข้อมูลแต่ละบิตอาจจะไปถึงปลายทางไม่พร้อมกันทาให้ ข้อมูลท่ีได้รับผิดพลาด แต่การรับ-สงข้อมูลแบบนี้ จะเร็วกว่าการส่งแบบอนุกรม จึงนิยมใช้ในการรับ- สง่ เพียงใกล้ๆ เช่น การสง่ ข้อมลู ออกไปพมิ พ์ท่ีเคร่ืองพิมพ์ เป็นตน้ 3.5.2 ทศิ ทางการรบั -สง่ ขอ้ มูล ทิศทางในการรับ-ส่งข้อมูลสามารถแบ่งได้เป็น 3 ทาง คือ แบบทางเดียว (Simplex) แบบทางใดทางหน่ึง (Half-duplex) และแบบสองทาง (Full-duplex) 3.5.2.1 แบบทางเดียว (Simplex) การสื่อสารแบบทางเดียว เป็นการสื่อสารท่ีผู้ส่ง สามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่าน้ัน ผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูลตอบกลับมาได้ โดยจะอาศัยช่อง ทางการส่ือสารที่อนุญาตให้ส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียว เรียกการส่งข้อมูลในลักษณะน้ีว่า “One-way Communication” ตัวอยา่ งเช่น การกระจายเสยี งทางวทิ ยุ และการแพรภ่ าพทางโทรทัศน์ เป็นต้น 3.5.2.2 แบบทางใดทางหนงึ่ (Half-duplex) การสือ่ สารแบบทางใดทางหนงึ่ เปน็ การ สือ่ สารท่ีแต่ละฝา่ ยสามารถรับ-ส่งข้อมูลได้ แต่จะไม่สามารถทาไดใ้ นเวลาเดยี วกนั โดยเมื่อฝ่ังส่งทาการ ส่งข้อมลู มา ทางฝั่งรบั ตอ้ งทาการรับเท่านั้นไมส่ ามารถตอบกลับไปในขณะท่ีฝ่ังส่งยังส่งอยไู่ ด้ จนเม่ือฝั่ง ส่งหยุดส่งแล้ว ฝั่งรับจึงจะสามารถตอบกลับไปได้ ซ่ึงในสถานการณ์น้ีทางฝ่ังรับก็จะกลายเป็นฝ่ังส่ง และทางฝั่งส่งก็จะกลายเป็นฝั่งรับแทน ตัวอย่างเช่น การใช้วิทยุส่ือสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web board) อเี มล์ เป็นต้น 3.5.2.3 แบบสองทาง (Full-duplex) การส่ือสารแบบสองทาง เป็นการส่ือสารที่ สามารถรบั สง่ -ขอ้ มูลไดพ้ ร้อมกันท้ังสองทาง โดยแมใ้ นขณะที่ฝั่งส่งกาลังส่งข้อมูลอยู่ ฝัง่ รบั ก็สามารถส่ง ขอ้ มูลไดเ้ ชน่ กนั ตัวอย่างเช่น การคุยโทรศพั ท์ ห้องสนทนา (Chat Room) เป็นตน้ 3.5.3 Switching Switching เป็นเทคนิคท่ีสาคัญมากต่อการส่ือสารโทรคมนาคม ซึ่งหากไม่ใช้เทคนิคน้ี แล้ว ทุกจุดทุกตาแหน่งที่มีการติดต่อส่ือสารกัน จะต้องเช่ือมต่อถึงกันโดยตรง ซึ่งเป็นไปไม่ได้ โดย เทคนิคนี้เป็นการสร้างเส้นทางการติดต่อไว้ช่ัวคราวระหว่างฝั่งส่งข้อมูลกับฝั่งรับข้อมูล และจะตัด เส้นทางการติดต่อเมื่อเลิกใช้งาน เทคนิค switching มีอยู่ด้วยกัน 3 วิธี ได้แก่ Circuit Switching, Message switching และ Packet Switching 59

3.5.3.1 Circuit Switching เป็นการสวิตช์วงจรสื่อสารเพื่อสร้างทางเดินข้อมูล ช่ัวคราวจากช่องสัญญาณท่ีมีอยู่สาหรับผู้ส่งต้นทางกับผู้รับปลายทางโดยเฉพาะ โดยทางฝ่ังส่งจะส่ง สัญญาณไปบอกทางฝั่งรับว่าจะทาการส่งข้อมูล เมื่อฝั่งรับได้รับสัญญาณก็จะส่งสัญญาณกลับไปบอก ทางฝั่งสง่ ว่าพรอ้ มทจี่ ะรับข้อมลู ใหส้ ่งข้อมูลได้ ทางเดินขอ้ มูลก็จะถูกสร้าง และระบบจะรักษาเสน้ ทางนี้ ไว้ตลอดจนกว่าการส่ือสารของท้ังคู่จะส้ินสุดลง แต่หากฝ่ังรับยังไม่พร้อมก็จะส่งสัญญาณบอกว่ายังไม่ พร้อม ทางเดินข้อมูลก็จะยังไม่ถูกสร้าง ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดเจนที่สุดคือระบบโทรศัพท์ (Public Switched Telephone Network: PSTN) เม่ือผู้ใช้ทาการกดเบอร์โทรศัพท์ของปลายทาง สวิตช์ท่ีอยู่ ท่ี Telephone Office Company จะทาการเชื่อมต่อสัญญาณโดยการเช่ือมสายส่งสัญญาณระหว่าง ต้นทางกับปลายทางเข้าด้วยกัน หรืออาจจะเชื่อมต่อระหว่าง Telephone Office หนึ่งกับอีก Telephone Office หน่ึงก่อน แล้วจึงเชื่อมสัญญาณของทั้งสองฝ่ังเข้าหากัน ซึ่งช่องสัญญาณท่ีคู่น้ีใช้ จะถูกจองโดยคู่นี้ ตลอดการสนทนาโดยที่ไม่มีผู้ใดสามารถใช้ช่องสัญญาณช่องนี้หรือส่วนของ ช่องสัญญาณชอ่ งนี้ไดเ้ ลยจนกว่าคนู่ ้จี ะจบการสนทนาลง ข้อดี- สามารถส่งสัญญาณได้โดยตรงและรวดเร็ว เนื่องจากไม่ต้องแบ่งช่องสัญญาณ ให้ผ้อู ื่น ขอ้ เสีย- เปลืองชอ่ งสัญญาณ เน่อื งจากมีการส่ือสารเพยี งคู่เดียวที่ใช้ชอ่ งสญั ญาณช่อง นี้อยู่ 3.5.3.2 Message Switching ไม่ได้มีการสร้างเส้นทางในการติดต่อสื่อสารระหว่าง ฝ่ังส่งกับฝ่ังรับเหมือน Circuit Switching แต่เป็นการส่งข่าวสารทั้งหมด (เรียกข่าวสารทั้งหมดนั้นว่า \"Block) ออกไปเก็บไว้ท่ีโหนด (Node) ที่เป็นทางผ่านก่อน (คาว่า “โหนด” ท่ีใช้ในการส่งข้อมูลผ่าน เครอื ขา่ ยหมายถึง “เราท์เตอร์” (Router)\" ซง่ึ มหี น้าที่ในการหาเสน้ ทางการส่งขอ้ มูลเพ่อื ใหไ้ ปถงึ เครอ่ื ง ปลายทางได้เร็วท่ีสดุ ) โหนดทไ่ี ด้รบั ขา่ วสารนัน้ จะทาการตรวจสอบความหนาแน่นของข้อมูลในเส้นทาง ทีจ่ ะส่งไป หากว่างหรือมีความหนาแน่นนอ้ ยก็จะส่งข่าวสารออกไป แต่หากเส้นทางไม่ว่างหรือมีความ หนาแน่นมากกจ็ ะเก็บข่าวสารนั้นเอาไวก้ ่อนเพอ่ื รอใหเ้ สน้ ทางวา่ ง แลว้ จงึ ส่งข่าวสารน้ันออกไป (วิธีการ ทีโ่ หนดเก็บขอ้ มูลแลว้ ส่งตอ่ นเี้ รียกวา่ \"Store and Forward\") 3.5.3.3 Packet Switching เป็นการแบ่งข่าวสาร (Message) ออกเป็น \"แพคเก็ต (Packet)\" ท่ีมีขนาดคงท่ีหลายๆ แพคเก็ต ซึ่งแต่ละแพคเก็ตก็จะมีหมายเลขลาดับของตัวเอง แล้วแยก ส่งออกไปในเส้นทางท่แี ตกต่างกันแต่มีเปา้ หมายท่ีผู้รบั เดยี วกัน เม่ือฝัง่ รับไดร้ ับแพคเกต็ ทั้งหมดแล้ว จะ นาแตล่ ะแพคเก็ตท่ีไดม้ าเรียงต่อกันตามลาดับจนกลายเป็นขอ้ มูลข่าวสารเหมือน วิธีนี้จึงนิยมใช้ในการ รับ-ส่งข้อมลู ในเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 60

ข้อดี - สามารถใช้งานช่องสัญญาณได้อย่างเต็มท่ี เนื่องจากหากมีช่อง สัญญาณ หรอื เส้นทางใดว่าง เราทเ์ ตอร์ก็จะส่งแพคเก็ตไปในชอ่ งสญั ญาณหรือเส้นทางน้ัน ข้อเสีย - ข้อมูลอาจสูญหายและอาจเกิดความล่าช้า (Delay) ในการสื่อสาร เนือ่ งจากมีแพคเกต็ ในเสน้ ทางการส่ือสารมากเกินไป 3.5.4 Data Transfer Mode บริษัทหรือองค์กรต่าง ๆ ท่ีต้องมีการส่งข้อมูล หรือสารสนเทศผ่านระบบเครือข่าย จาเป็นต้องมีการเลือกใช้เครือข่ายท่ีมีความเร็วในการส่งข้อมูลท่ีแตกต่างกันตามความต้องการของ องค์กรนั้น ๆ โดย Data Transfer Mode ที่ใช้กันมีอยู่ 3 โหมด คือ X.25 Protocol, Frame Relay และ ATM 3.5.4.1 X.25 Protocol เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของ CCITT (The Consultive Committee in International Telegraphy and Telephony) ซ่ึงเป็นต้นแบบของการใช้ Packet Switching โดยเป็นการ Interface ระหว่าง Data Terminal Equipment (DTE) กับเครือข่าย Packet Switching หลายๆ เครือข่าย (The Cloud) ซ่ึงโปรโตคอล X.25 ไม่ได้ระบุหรือกาหนด มาตรฐานรายละเอียดสาหรับเครือข่าย Packet Switching ดังนั้นจงึ มักจะเห็นตัวแทนของ X.25 เป็น ก้อนเมฆเสมอ เนื่องจากไม่ทราบว่าภายในน้ันมีความซับซ้อนของคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเพียงใด การเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่าย X.25 อาจทาได้ด้วยสายเช่าความเร็วสูง แต่ว่าการเชื่อมต่อเช่นน้ีมักจะ สงวนไวส้ าหรับโฮสตท์ ่ีมีงานยุ่งมาก ส่วนการเชื่อมต่อท่ัวไปมักใช้ระบบโทรศัพท์เชอ่ื มตอ่ เขา้ สู่เครือข่าย ซ่ึงทาใหไ้ ด้ความเรว็ จากดั ตามความเรว็ ของโมเด็มที่ใช้เท่านน้ั โพรโตคอล x.25 เริ่มหมดความนิยมในการใช้งานแล้ว เนื่องจากการออกแบบไว้ ตอนต้น ได้กาหนดการเชื่อมต่อไว้จนทาให้ X.25 ปรับเปลี่ยนได้ลาบาก ปัจจุบันจึงทาให้การใช้งาน เครือข่าย X.25 มีอัตราลดลงตามลาดับ เน่ืองจากเปล่ียนมาใช้เทคโนโลยีของ Frame Relay และ ATM แทน 3.5.4.2 Frame Reay เกิดภายหลัง X.25 และถูกออกแบบมาให้ใช้วิธี Packet Switching เหมือนกัน แต่ถูกปรับให้เร็วขึ้นกว่า X.25 มาก โดยการลดโอเวอร์เฮดในการแก้ไขความ ผดิ พลาดของข้อมูล มีความเร็วในการส่งข้อมลู สงู ถึง 1.544 Mbps ทาใหอ้ งคก์ รทางธรุ กิจส่วนใหญ่นยิ ม ใช้ครอื ขา่ ยท่เี ป็น Frame Reay มากขน้ึ 3.5.4.3 ATM (Asynchronous Transfer Mode) ATM ใช้เทคโนโลยี Packet Switching เหมือน X.25 และ Frame Relay แต่มีความเร็วในการส่งข้อมูลมากกว่า ซึ่งสูงถึง 25 Gbps เน่ืองจากมีการแบ่งขอ้ มูลออกเป็น \"เซลล์ (Cell)\" ก่ีมคี วามยาวคงที่ 53 ไบต์ และใช้ฮาร์ดแวร์ใน การสวิตช์ข้อมูลเท่าน้ัน ไม่ได้ใช้ซอฟตแ์ วร์ ซ่ึงทาให้ทางานไดเ้ ร็วกว่าการใช้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ 61

โดย ATM นี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถส่ง ข้อมูล รูปภาพ วิดีโอ เสียงพูด และข้อมูลท่ีเกี่ยวกับ มลั ตมิ ีเดยี ได้ สามารถเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งเครอื ข่ายท่ีเป็น LAN และ WAN ไดง้ า่ ย 3.5.5 อปุ กรณ์ท่ใี ช่ในการติดตอ่ ส่ือสารโทรคมนาคม (Telecommunication Devices) อุปกรณ์ท่ีใช้ในการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคม เป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถทาให้ส่ือสารถึง กันได้ด้วยสัญญาณไฟฟ้า โดยที่การส่ือสารโทรคมนาคมทุก ๆ ระบบ จะใช้อุปกรณ์เหล่านี้อย่างน้อย 1 ช้ิน ได้แก่ โมเด็ม (Modem), แฟ็กซ์โมเด็ม (Modem), มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexer) และ PBX (Private Branch Exchange) 3.5.5.1 โมเด็ม (Modem: MOdulator - DEModulator) โมเดม็ เป็นอปุ กรณก์ าร ส่ือสารชุดหน่ึง ซึ่งอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์เป็นช่องทางสื่อสารข้อมูล โดยหน้าที่ของโมเด็ม คือ การ แปลงข้อมูลดิจิตอลให้เป็นข้อมูลอนาล็อก เพ่ือให้ข้อมูลสามารถเดินทางไปตามสาย โทรศัพท์ได้ และ เมื่อไปถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางก็จะมโี มเด็มอีกตัว แปลงข้อมูลอนาล็อกให้กลับเป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว ส่งเข้าไปประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อไป ดังน้ัน หากผู้ใช้ต้องการให้ระบบเครือข่ายของตน สามารถเช่ือมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ จะต้องติดตั้งโมเด็มด้วยเสมอ (ยกเว้นองค์กรที่มีการเช่า Leased Line) ในปจั จุบันมีโมเด็มใหเ้ ลอื กใชอ้ ยู่ 3 ชนิด คือ โมเดม็ แบบอินเทอร์นอล โมเดม็ แบบเอก็ ซ์ เทอรน์ อล และโมเดม็ แบบไร้สาย 1) โมเด็มแบบอินเทอร์นอล (Internal Modem) เป็นโมเด็มท่ีมีลักษณะเป็น การด์ เสยี บเข้ากับเมนบอรด์ ซ่งึ เป็นแผงวงจรติดตงั้ อยู่ภายในเคส (Case) ดังนั้น ชื่อของโมเด็มชนิดนีจ้ ึง เรียกว่า โมเด็มแบบอินเทอร์นอลน่ันเอง ราคาของโมเด็มอินเทอร์นอลน้ันถูกกว่าเอ็กซ์เทอร์นอลมาก แตม่ ีหนา้ ทก่ี ารทางานเหมือนกัน และขอ้ เสียตรงทีก่ ารติดต้งั ยาก และเคลอ่ื นยา้ ยไมส่ ะดวก 2) โมเด็มแบบเอก็ ซ์เทอรน์ อล (External Modem) เปน็ โมเด็มทม่ี ลี กั ษณะเป็น กล่องแยกออกมาต่างหาก ไม่ใช่เป็นการ์ดเหมือนอินเทอร์นอล อาศัยช่องเสียบด้านหลังเคส (Case) ที่ เรียกว่า \"พอร์ต (Port)\" เป็นจุดเชื่อมต่อกับเมนบอร์ด ซ่ึงการเลือกซื้อโมเด็มเอ็กซ์เทอร์นอล ผู้ซื้อ จะต้องพิจารณาที่พอร์ตดว้ ยวา่ ใชเ้ ชอื่ มต่อกับพอร์ตแบบใด เชน่ พอร์ต USB หรือพอรต์ Serial เป็นต้น ส่วนราคาของโมเด็มเอ็กซ์ทอรน์ อลจะสงู กว่าแบบอินเทอร์นอล แต่มขี อ้ ดีคือ ตดิ ตั้งและเคลือ่ นย้ายไปใช้ เครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งอื่นได้งา่ ยกว่า 3) โมเด็มแบบไร้สาย (Wireless Modem) ใช้การสื่อสารด้วยคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟา้ แตป่ ัจจบุ ันจะมีราคาสูงกว่าโมเด็มเอก็ ซเ์ ทอรน์ อลและอนิ เทอร์นอล 3.5.5.2 Fax Modem ทาหน้าท่ีเป็นท้ังเครื่องโทรสาร (Fax) และโมเด็ม (Modem) ภายในอุปกรณ์ตัวเดียว โดย Fax เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีในการรับและส่งเอกสารไปบนเครือข่าย ซึ่ง เอกสารน้นั อาจเป็นได้ท้ังข้อความ รูปวาด รปู ภาพ หรือข้อความที่เขียนดว้ ยมือ โดย Fax Modem จะ 62

ทาการส่งข้อมูลที่แสดผลอยู่บนหน้าจอในขณะนั้นออกไปยังเคร่ืองของผู้รับ แต่จะต้องใช้ควบคู่กับ ซอฟต์แวรเ์ ฉพาะ อุปกรณช์ นิ้ นจี้ ะมรี ปู ร่างลักษณะเหมือนกับโมเด็ม 3.5.5.3 มลั ติเพล็กเซอร์ (Multiplexer: Mux) เปน็ อปุ กรณก์ ารสื่อสารขอ้ มูลชนดิ หนึ่ง ที่ทาหน้าท่ีในการรวมสัญญาณหลายๆ สัญญาณจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่งเข้าไว้ด้วยกันเพ่ือให้ สามารถเดินทางไปในชอ่ งทางการสอื่ สารเพยี งช่องทางเดียวได้ และทป่ี ลายทางก็จะมี ดีมัลตเิ พล็กเซอร์ (DE multiplexer: Demux) ทาหน้าท่ีในการแบง่ สญั ญาณกลับไปเป็นหลายๆสญั ญาณดังเดิม หลักการ ทางานของมัลติเพล็กเซอร์ จะใช้เทคนิคที่เรียกว่า มัลติเพล็กเซอร์ (Multiplexing) วิธีการมัลติเพล็ก สัญญาณทส่ี าคัญมอี ยู่ 2 วิธี ดังนี้ - การมัลติเพล็กแบบแบ่งตามความถี่ ( FDM: Frequency Division Multiplexing) เป็นการรวมเอาสัญญาณท่ีมีความถี่แตกต่างกันมาไว้ด้วยกัน แล้วส่งออกไปพร้อม ๆ กนั ซ่งึ เป็นแบบท่ีนิยมใช้กันมากในดา้ นวทิ ยแุ ละโทรทศั น์ - การมัลติเพล็กแบบแบ่งตามเวลา (TDM: Time Division Multiplexing) TDM เป็นการแบง่ ช่วงเวลาในการส่งสัญญาณออกเป็นช่วงเล็ก ๆ แลว้ ส่งขอ้ มลู จากแตล่ ะแหล่งไปในแต่ ละช่วงเวลานั้น เช่น ข้อมูลจากแหล่งที่ 1 ส่งไปในช่วงเวลา t1 ข้อมูลจากแหล่งที่ 2 ส่งไปในช่วงเวลา t2 เป็นต้น เพื่อให้สามารถส่งสัญญาณข้อมูลท่มี าจากหลายๆ แหล่งออกไปได้ในสายสัญญาณเส้นเดียว วธิ ี TOM นีใ้ ช้ไดก้ บั สญั ญาณดิจติ อลเทา่ น้นั 3.5.5.4 PBX (Private Branch Exchange) PBX คอื ชุมสายโทรศัพท์ย่อยขององคก์ ร หรือตู้สาขาโทรศพั ท์ โดยจะมีความสามารถในการเลือกเส้นทางต่อสัญญาณสาย โทรศพั ท์โดยอัตโนมัติ หรือ ARS (Automatic Route Selection) ความสามารถน้ีจะช่วยประหยัดค่าโทรศัพท์ทางไกลได้ โดยท่ี ARS จะเลือกเฉพาะเส้นทางท่ีมีค่าบริการต่าสุดก่อนเป็นอันดับแรกโดยอัตโนมัติ PBX แบบ ดจิ ิตอลในปัจจบุ ันมีความสามารถในการรวมสัญญาณเสียง (Voice) และข้อมลู (Data) เข้าด้วยกนั และ ส่งไปพร้อมกันตามสายสัญญาณจากภายในอาคารออกไปสู่สายภายนอกได้ นอกจากนี้ยังสามารถ เช่ือมต่อสายโทรศัพทภ์ ายในจานวนมากกบั สายโทรศัพทข์ องบริษทั ทตี่ ่อออกสภู่ ายนอกท่ีมจี านวนน้อย ได้ 3.6 ชอ่ งทางการส่อื สาร (Communication Channel) ช่องทางการสื่อสาร เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งของการสื่อสารข้อมูล ซึ่งหมายถึง สื่อกลางการส่งผา่ นสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์ 2 ชนิด โดยการส่อื สารข้อมูลผ่านชอ่ งทางการสื่อสารนี้ ความเร็วในการสื่อสารข้อมูลจะขึ้นอยู่กับปัจจัยพ้ืนฐาน 2 ประการ คือ ความกว้างของช่องสัญญาณ และชนิดของข้อมูล ซึ่งคาว่า \"ความกว้างของช่องสัญญาณ (Bandwidth)\" อาจเปรยี บได้กับความกวา้ ง 63

ของถนน และ \"ชนิดของข้อมูล\" อาจเปรียบได้กับชนิดของรถยนต์ ดังน้ัน การที่ช่องทางการสื่อสารมี แบนด์วิดท์มาก ก็เท่ากับมีถนนหลายเลน รถยนต์สามารถว่ิงผ่านไปมาได้มากและรวดเร็ว แต่ในทาง กลับกัน หากมีแบนด์วิดท์น้อยก็เท่ากับถนนมีเลนน้อย รถยนต์ว่ิงผ่านไปมาได้น้อยและช้านอกจากนี้ แล้ว ชนดิ ของขอ้ มูลกถ็ ือว่าเป็นปจั จยั สาคญั อีกประการหนง่ึ ที่มีผลกระทบต่อปรมิ าณ และความรวดเร็ว ในการสื่อสาร กล่าวคือ ชนิดข้อมูลท่ีเป็นข้อความ จะมีขนาดเล็กทาให้การส่งผ่านข้อมูลไปมาทาได้ สะดวกรวดเร็ว แม้จะมีแบนด์วิดท์น้อยก็ตามแต่ในทางกลับกัน หากช่องทางการสื่อสารน้ัน มีแบนด์ วิดท์กว้าง แต่ชนิดข้อมูลกลับเป็นไฟล์วิดีโอซ่ึงมีขนาดใหญ่มากก็จะทาให้ส่งผ่านข้อมูลได้ช้า ช่อง ทางการตดิ ต่อสือ่ สารแบง่ ออกได้เป็น 2 ชนิด คือ 3.6.1 ชอ่ งทางการสอ่ื สารแบบมีสาย (Physical Wire) ในปัจจบุ นั สายสญั ญาณหรอื เคเบิลที่นยิ มใช้กนั มีดังน้ี 3.6.1.1 สายทวิสเตดแพร์ (Twisted-pair Wire) สายทวัสตดแพร์ หรือที่เรียกว่า \"สายคู่บิดเกลียว\" เป็นสายโทรศัพท์ท่ีใช้ในระบบโทรศัพท์ท่ัวไป สามารถส่งสัญญาณสียงหรือสัญญาณ ดิจิตอลก็ได้ข้ึนอยู่กับชนิดของสาย มีลักษณะเป็นสายทองแดง 2 เส้น ซ่ึงแต่ละเส้น มีฉนวนหุ้ม แล้ว นามาพันกันเป็นเกลียวและเก็บอยู่ภายในเปลือกหุ้ม (Jacket) เดียวกัน โดยการบิดเกลียวสายใน ลักษณะน้ีจะสามารถชว่ ยลดสญั ญาณรบกวน (Noise) ได้ ซึ่งยิ่งมีการบดิ เกลียวสายภายในมากเทา่ ใด ก็ จะย่ิงเป็นการเพ่ิมความต้านทานต่อการรบกวนได้มากเท่าน้ัน โดยในระบบเครือข่ายที่มีการรับ–ส่ง ข้อมูลมาก ๆ ไม่นิยมใช้สายโทรศัพท์ แต่นิยมใช้สายคู่บิดเกลียวที่มีทองแดง 8 เส้น ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ชนดิ คือ 3.6.1.2 สายคู่บิดเกลียวมีชิลด์ (Shielded Twisted Pair: STP) สาย STP มีการ ป้องกันสัญญาณรบกวนด้วยการใช้ฉนวนพิเศษพันอยู่โดยรอบ ช่วยให้สามารถส่งข้อมูลได้มากขึ้นมี ระยะทางในการสง่ ประมาณ 600 - 800 เมตร 3.6.1.3 สายคู่บิดเกลียวไม่มีชลิ ด์ (Unshielded Twisted Pair: UTP) UTP เป็นสาย ท่ีไม่มีการป้องกันสัญญาณรบกวนเป็นพิเศษ มีระยะทางในการส่งประมาณ 400 - 600 เมตร นิยมใช้ ในห้องปฏิบัติการ หรือห้องเรียนต่าง ๆ สายสัญญาณถือว่าเป็นสายมาตรฐานที่ใช้ในครือข่าย คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน สามารถส่งข้อมูลได้ 14.4 Kops (กิโลบิตต่อวินาที) ถึง 100 Mbps (เมกะบิต ต่อวินาท)ี ข้ึนอย่กู ับระยะทาง ขอ้ ดี - ราคาถูก - เสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการตดิ ตง้ั น้อย - ใชอ้ ย่างกวา้ งขวางในระบบโทรศัพท์ ข้อเสยี - อัตราเรว็ ในการสง่ ข้อมลู จะน้อยกวา่ สายสัญญาณแบบอ่ืน 64

- มีข้อจากดั เรือ่ งความยาวของสายสัญญาณ 3.6.1.4 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) หรอื เรียกสนั้ ๆ ว่า \"โคแอก (Co-ax)\" คือ สายเคเบิลท่ีวีท่ีใช้กันอยู่ตามบ้านทั่วๆ ไป เพียงแต่นามาใช้กับการส่งสัญญาณในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยสายโคแอกเชียลน้ี มีลกั ษณะเปน็ สายทองแดงเดยี่ วอยตู่ รงกลาง และห้มุ ดว้ ยวัสดุทีท่ า หน้าท่ีเป็นฉนวนและชิลด์ สามารถลดสัญญาณรบกวนและส่งข้อมูลได้ดีกว่าสายทวิสเตดแพร์ แต่ก็มี ราคาแพงกว่าเช่นกัน ดงั นัน้ จึงนิยมใช้สายชนิดนี้ในจุดเชอ่ื มต่อท่ีมคี วามสาคัญ โดยมีความเร็วในการส่ง ข้อมูลสงู สุดถึง 200 Mbps สามารถแบง่ สายโคแอกเชยี ลตามลกั ษณะของสายไดเ้ ปน็ 2 ชนิด คอื 1) โคแอกเชียลบาง (Thin Coaxial หรือ 10Base2) มีความคล้ายคลึงกับสาย ทใ่ี ช้นาสัญญาณเคเบิลทีวี มีลกั ษณะเป็นสายทองแดงเด่ียว หรือแกนลวดถักอยู่ตรงกลางมีการลดทอน สญั ญาณนอ้ ย 2) โคแอกเชียลหนา (Thick Coaxial หรือ 10Base5) มีสายทองแดงเดี่ยวอยู่ ตรงกลางถูกหุม้ ด้วยฉนวน จากนั้นจึงหุ้มด้วยชิลด์และเปลือกนอกอีกคร้ังหน่ึง นอกจากน้ีหากแบ่งตาม ลักษณะของสัญญาณท่ีส่ง จะสามารถแบ่งสายโคแอกเชียลได้เป็น 2 ชนิด คือ เบสแบนด์โคแอก (Baseband Coax) ท่ีใชใ้ นการสง่ สัญญาณดิจิตอล และบรอดแบนดโ์ คแอค (Broadband Coax) ซง่ึ ใช้ ในการส่งสญั ญาณอนาลอ็ ก ตารางท่ี 3.1 มาตรฐานของ Baseband Coaxial Cable 10 (IEEE 802.3) คุณสมบัตร 10Base2 10Base5 1 เซนตเิ มตร เสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง 0.5 เซนตเิ มตร 10 Mbps 10 Mbps อตั ราการสง่ ขอ้ มลู 10 Mbps 2,500 เมตร 100 โหนด ความยาวสูงสดุ 185 เมตร ขอบเขตของเครือขา่ ย 1,000 เมตร จานวน Node ต่อ Segment 30 โหนด ขอ้ ดี - สง่ ข้อมูลได้เรว็ กว่าและมสี ัญญาณรบกวนนอ้ ยกว่าสายทวิสเตดแพร์ ข้อเสีย - ต้องระมัดระวังในการเดนิ สายสญั ญาณ เน่อื งจากโคแอกเชียลไม่สามารถโคง้ งอไดเ้ ท่ากบั สายทวิสเตดแพร์ - ราคาแพงกว่าสายทวสิ เตดแพร์ 65

3.6.1.5 เคเบิลใยแก้วนาแสง (Fiber-optic Cable) สายโดแอกเชียล และสายทวิส เตคแพรท์ กี่ ล่าวมาแล้วข้างต้นน้นั มีสายทองแดงเส้นหน่ึงอยูต่ รงกงึ่ กลาง เพื่อทาหน้าท่ีในการนากระแส ไฟฟ้า ส่วนในกรณีของเคเบิลใยแก้วนาแสงน้ัน จะใช้แท่งแก้วท่ีมีลักษณะทรง กระบอกอยู่ตรงกลาง แทน โดยเคเบิลใยแก้วนาแสงนี้ ใช้วิธีการส่งข้อมูลด้วยแสงแทนการส่งด้วยสัญญาณไฟฟ้า เคเบิลใย แก้วนาแสงประกอบด้วยเส้นแก้วที่มีความบางมาก เรียกว่า \"Core\" หลายร้อยเส้น โดยแต่ละเส้นมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณส้นผมมนุษย์ และถูกห่อหุ้มด้วยแท่งแก้วที่เรียกว่า Cladding โดยทั้ง Core และ Cladding จะถูกห่อหุ้มด้วยเปลือก (Coat) เพ่ือป้องกันแสงหักเหออกไปข้างนอก และหุ้มด้วย เปลือกนอกอีกช้ันหนึ่ง เพ่ือป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวสายเคเบิล การอธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติ ของเคเบิลใยแก้วนาแสง ปกติมกั แสดงด้วยขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางของ Core ตอ่ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของ Cladding โดยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมีหน่วยวัดเป็น \"ไมครอน (Micron)\" ซ่ึงมีค่าประมาณ 1/25,000 น้วิ ข้อดี - สามารถส่งข้อมลู ทมี่ ีปรมิ าณเยอะๆ ไดเ้ ร็วมาก - ข้อมลู ทไี่ ด้รบั จงึ มคี วามน่าเช่ือถอื สงู เนอื่ งจากมีสญั ญาณรบกวนนอ้ ย - ข้อมลู มีความปลอดภัยสูง เนอื่ งจากไมม่ ีการแผส่ ญั ญาณออกไปทาให้ผู้อื่น ดกั จับสัญญาณไดย้ าก - ประหยัดพื้นที่ในการเดินสายเคเบิล เนือ่ งจากตวั นาสัญญาณมขี นาดเล็ก ข้อเสยี - ไม่สามารถโค้งงอสายเคเบลิ ได้ตามความตอ้ งการ ดงั นัน้ ผู้ทจ่ี ะทาหนา้ ท่ี เดินเคเบิลใยแกว้ นาแสงจะต้องเป็นผู้ท่ีชานาญและมปี ระสบการณ์เทา่ นัน้ - ค่าดาเนนิ การในการติดตงั้ และสายเคเบิลมีราคาแพง ตารางท่ี 3.2 การเปรยี บเทียบอตั ราการส่งผา่ นขอ้ มลู ของการสือ่ สารแบบมีสายแต่ละชนิด ช่องสัญญาณ อัตราการสง่ ผ่านข้อมูล Twisted Pair - Voice Telephone 14.4 Kbps - 54 Kbps Twisted Pair - Conditioned 56 Kbps - 144 Kbps Twisted Pair - LAN 4 Mbps - 100 Kbps Coaxial Cable- Baseband 10 Mbps -2 Gbps Coaxial Cable- Broadband 10 Mbps - 550 Mbps Optic Fibers - LAN 550 550 Kbps - 30 Gbps 66

ปัจจุบันน้ีในหลายๆ ประเทศได้หันมาใช้เคเบิลใยแก้วนาแสงแทนสายโทรศัพท์หรือ สายโคแอกเชียลแลว้ และบางองค์กรยังใชส้ ายชนิดนีเ้ ปน็ Blackbone ของระบบเครอื ข่ายอีกด้วย 3.6.2 ช่องทางการสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless) ในการเดินสายสัญญาณนั้น บางพ้ืนที่อาจไม่สามารถทาการเดินสายสัญญาณได้ และ ถึงแม้ว่าทาได้ ก็มีข้อยุ่งยากมากมายเกิดข้ึน ดังน้ัน การสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless Transmission) จึงเข้ามามีบทบาทช่วยให้การเช่ือมต่อสัญญาณทาได้สะดวกขึ้น โดยการสื่อสารแบบไร้สายนี้จะเป็นส่ง สญั ญาณผา่ นส่ือกลางทเี่ ปน็ อากาศโดยใช้คลืน่ ความถที่ แ่ี ตกตา่ งกัน 3.6.2.1 ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นรูปบการส่ือสารโดยใช้คลื่นวิทยุความถี่สูง สามารถสื่อสารในระยะทางที่ไกล ๆ ผ่านช้ันบรรยากาศและอวกาศได้ โดยจะทาการส่งสัญญาณจาก สถานีสง่ สญั ญาณสว่ นกลาง ไปยังเสารบั สัญญาณในหลายๆ พน้ื ท่ี สถานีส่วนกลางจะมีอปุ กรณ์ทีเ่ รยี กว่า \"จานรบั และจานส่งคลื่นไมโครเวฟ \" มลี ักษณะ เป็นจานโค้งคล้ายพาราโบลา (Parabola) ซ่ึงภายในจะบรรจุสายอากาศ ตัวรับสัญญาณ และ อปุ กรณ์เสริมอื่น ๆ ทจ่ี าเป็นตอ่ การสอ่ื สาร ลักษณะการส่งคล่ืนสัญญาณด้วยระบบไมโครเวฟ จะส่งคลื่นจากจานส่งพุ่งตรงไปยัง จานรับ โดยมีทิศทางในการส่งเป็นแนวระนาบที่เรียกว่า \"เส้นสายตา (Line-of-sight\" ท่ีเปรียบเทียบ กับการมองของมนุษย์ ซึ่งจะมองเห็นเป้าหมายในลักษณะเส้นตรง ดังน้ัน การติดตั้งจานรับสัญญาณ จะต้องหันหน้าจานไปยังจานส่งสัญญาณเสมอ ไม่เช่นนั้นก็ไม่สามารถรับสัญญาณใด ๆ ได้ และห้ามมี สิง่ กดี ขวางเส้นสายตาน้เี ดด็ ขาด เน่ืองจากจะทาใหก้ ารสือ่ สารไม่ชัดเจนได้ โดยปกติแลว้ คล่ืนไมโครเวฟ จะส่งสัญญาณไปได้ไกล 25 - 30 ไมล์ แต่ถ้าต้องการส่งไปไกลกว่านั้น จะต้องตั้งจานทวนสัญญาณท่ี รับเข้ามา และส่งต่อไปยังจานรับต่อไป และถ้าติดแนวภูเขาหรืออาคารสูง ก็จะต้องตั้งจานทวน สัญญาณอีกเชน่ กัน โดยการตดิ ตัง้ จานรับส่งสัญญาณจะตั้งอยูบ่ นที่สูงๆ เพ่ือไมใ่ ห้มีสิ่งใดมากีดขวางการ ส่งข้อมูล เชน่ บนยอดตึก หรือบนภูเขา เป็นต้น ขอ้ ดี - ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการเดินสายสญั ญาณ - สามารถส่งข้อมลู ได้ดว้ ยความเร็วสงู ขอ้ เสีย - ตอ้ งไมม่ ีส่งิ ใดมากีดขวางเส้นสายตาของท้ังเครื่องรับและเครื่องสง่ - สัญญาณถูกรบกวนหรอื แทรกแซงได้งา่ ย - ถกู ดกั จับสัญญาณไดง้ า่ ย 3.6.2.2 ดาวเทียมสื่อสาร (Satellite) ดาวเทียมสื่อสาร คือ สถานีรับส่งสัญญาณ ไมโครเวฟ ท่ีมีจานรับและจานส่งคล่ืนความถ่ีขนาดใหญ่ และทางานโดยลอยอยู่ในอวกาศ ซ่ึงสถานี ดังกล่าวจะทาการติดต่อส่ือสารกับสถานีภาคพื้นดินที่มีจานรับส่งสัญญาณไมโครเวฟเหมือนกัน โดย 67

สถานีภาคพื้นดินจะส่งข้อมูลข้ึนมาที่ดาวเทียม จากน้ันดาวเทียมจะทาการขยายสัญญาณและกระจาย สัญญาณต่อไปยังสถานีภาคพ้ืนดินท่ีเป็นเป้าหมาย แสดงการรับ-ส่งสัญญาณข้อมูลของระบบ GPS (Global Position System) ในการค้นหาจุดพิกัดบนพื้นผิวโลกการส่งสัญญาณจากจานดาวเทียมส่ง มายังสถานีภาคพ้ืนดิน เรียกว่า \"Downlink\" ส่วนการส่งสัญญาณจากสถานีภาคพ้ืนดินข้ึนไปยังจาน ดาวเทียม เรยี กวา่ \"Uplink\" ขอ้ ดี - สามารถส่งข้อมลู ปริมาณมาก ๆ ไดด้ ว้ ยความเรว็ สงู ขอ้ เสีย - ค่าใชจ้ า่ ยสงู มาก - ถกู ดกั จับสญั ญาณได้งา่ ย 3.6.2.3 อินฟราเรด (Infrared) หรือ I.R คือ รูปแบบการติดต่อสื่อสารข้อมูลโดยใช้ คลื่นแสงอินฟาเรด มีลักษณะการสื่อสารคล้ายกับการสื่อสารด้วยคล่ืนไมโครเวฟ กล่าวคือ การส่ือสาร ดว้ ยแสงอินฟาเรดจะต้องหันตัวรับและตัวสง่ ให้ตรงกัน และไม่มีส่ิงกีดขวางเสน้ สายตา (Line-of-sight) หรอื ขวางแสงอนิ ฟาเรด การส่อื สารด้วยวิธนี ี้ใช้ไดใ้ นระยะทางที่ไมไ่ กลนัก ปจั จุบันมีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์มากมาย ที่สามารถใชค้ ลื่นแสงอินฟาเรดน้ีสื่อสาร ข้อมูลกันได้ เช่น คอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์แบบพกพา เมาส์ คีย์บอร์ด เป็นต้น ซึ่งเคร่ือง คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ดังกล่าวจะต้องมีพอร์ตท่เี รียกว่า \"IrDA\" ที่มีไว้เป็นช่องสาหรบั ต่อพ่วงอปุ กรณ์ ประเภทใชแ้ สงอินฟราเรดได้ ขอ้ ดี - สามารถเคลอื่ นย้ายอุปกรณไ์ ด้ง่าย - ไมต่ ้องติดตั้งสายสัญญาณ ข้อเสีย - ตอ้ งไม่มสี ่งิ ใดมากีดขวางเส้นสายตาของท้ังเคร่ืองรับและเครื่องสง่ - ระยะทางในการสง่ ข้อมลู สนั้ 3.6.2.4 คล่ืนวิทยุ (Radio) เป็นการสอ่ื สารแบบไร้สาย ที่สามารถกระจายสญั ญาณได้ ในระยะไกล เชน่ ระหวา่ งจงั หวดั ประเทศ เป็นต้น และในระยะใกล้ เชน่ ภายในบ้าน หรือท่ีทางาน เป็นตน้ สาหรับการส่งสัญญาณน้ัน ผู้ส่งจาเป็นต้องใช้เครื่องส่งเพ่ือส่งสัญญาณวิทยุ และผู้รับก็ จะต้องมีอุปกรณ์รับสัญญาณด้วย แต่เครือข่ายบางเครือข่ายสามารถใช้ \"Transceiver\" เพ่ือทาหน้าที่ ทั้งรบั และส่งสญั ญาณภายในตวั เดยี วกนั ได้ ขอ้ ดี - การจัดการกับสญั ญาณมคี วามยืดหย่นุ สูงกว่าสายสญั ญาณ ขอ้ เสยี - มีความเร็วในการสง่ ข้อมลู น้อย - ถกู รบกวนและดกั จับสญั ญาณไดง้ า่ ย ผใู้ ชต้ ามบ้านและสานักงานทั่วไปกาลงั นิยมใช้เทคโนโลยีการสอื่ สารด้วยสญั ญาณวทิ ยุ ระยะสั้นตัวอย่างเช่น เทคโนโลยี Bluetooth ซ่ึงมีความเร็วในการส่ือสารไม่เกิน 1 Mbps การใช้ 68

เทคโนโลยี Bluetooth น้ีจะต้องมีอุปกรณ์ที่รียกว่า \"Bluetooth-enabled\" ซ่ึงภายในจะบรรจุชิปตัว เล็กๆ ไว้คอยทาหน้าที่สื่อสารกับชิปภายใน Bluetooth-enabled ตัวอ่ืน ๆ ซึ่งตัวอย่างของ Bluetooth-enabled ที่ติดต้ังชิปดังกล่าว เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี โน้ตบุ๊ค ปาล์ม โทรศัพท์มือถือ แฟ็กซ์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น การส่ือสารกับ Bluetooth-enabled เหล่านี้ สามารถสื่อสารได้ในระยะ 10 เมตร แตถ่ ้ามีอปุ กรณ์ขยายสัญญาณ กอ็ าจจะสอื่ สารได้ไกลมากกวา่ 100 เมตรได้ 3.6.2.5 เซลลูลาร์ (Cellular) การสื่อสารแบบเซลลูลาร์เปน็ การส่ือสารที่ใช้คล่ืนวิทยุ โดยจะมีการแบง่ พ้นื ทอ่ี อกเป็นเซลลๆ์ และแต่ละเซลล์จะมีเสาสัญญาณเพ่อื ใช้รับและส่งข้อมูล โดยเมื่อ มีการติดต่อส่ือสาร ข้อความจะถูกส่งไปยังเซลล์ที่อยู่ใกล้ท่ีสุด จากน้ันจะถูกส่งต่อไปยังเซลล์อ่ืน ๆ จนถึง Mobile Telephone Switching Office (MTSO) ซึ่งทาหน้าที่ในการหาเซลล์จุดหมาย ปลายทาง จากน้ันจึงส่งข้อมูลต่อไปยังเซลล์ปลายทางนั้น เพื่อสื่อสารกบั อุปกรณ์เป้าหมาย และขณะที่ อุปกรณ์พกพาที่ใช้ในการสื่อสารเคล่ือนท่ีจากเซลล์หน่ึงไปยังอีกเซลล์หนึ่ง ระบบเซลลูลาร์ก็จะส่งผ่าน การเช่ือมต่อจากเซลล์เดิมไปยังเซลล์ใหม่ที่ใกล้ที่สุด ทาให้คุณภาพของสัญญาณยังดีเหมือนเดิม การ ส่ือสารแบบนี้ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลายในอุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพา เช่น โทรศัพท์มือถือ เป็นตน้ โทรศัพท์มือถือเป็นอุปกรณ์ที่การส่ือสารแบบเซลล์ลูลาร์ในการรับส่งข้อความ ภาพ และเสียงด้วยระบบดีจิตอล ดังนั้น บางครั้งผู้ใช้อาจนาเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา หรือโน้ตบุ๊ค มา เชื่อมต่อเข้ากับโทรศัพท์มือถือ เพ่ือเช็คอีเมล์หรือเข้าไปชมเว็บไซต์ ซ่ึงจะทาให้ผู้ใช้สามารถใช้ อินเทอรเ์ นต็ จากทีใ่ ดในโลกก็ได้ ข้อดี - สามารถใช้อปุ กรณ์เคล่ือนท่ใี นการติดต่อส่ือสารได้ ขอ้ เสีย - สญั ญาณถกู รบกวนหรือดักฟงั ไดง้ ่าย 3.7 การเชอื่ มต่อสายส่ือสาร การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายเข้าด้วยกันโดยใช้สายสื่อสารในการรับ-ส่งข้อมูลน้ัน สามารถแบ่ง รปู แบบการเช่อื มต่อได้เป็น 2 รปู แบบ คือ การเชอื่ มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จุด และการเช่ือมต่อแบบหลายจุด 3.7.1 การเชอ่ื มต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point) เป็นการเช่ือมต่อโดยตรงระหว่างฝั่งส่งกับฝั่งรับ ด้วยสายส่งสื่อสารเพียง 1 เส้นเท่าน้ัน เช่น การเช่อื มระหว่างอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์กับเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น การเชือ่ มต่อแบบจดุ ต่อจดุ น้ี เหมาะสาหรบั งานท่มี ีการรับสง่ ข้อมูลมาก ๆ และต่อเนอ่ื ง เช่น การเช่าสาย โทรศพั ท์ 69

3.7.2 การเช่ือมตอ่ แบบหลายจดุ (Multipoint) เนื่องจากหากมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์หลายเคร่ืองแล้วใช้การเช่ือมต่อแบบจุดต่อจุดน้ัน จะเป็นการส้ินเปลืองสายส่ือสารและค่าใช้จ่ายมากเกินไป แล้วยังใช้งานสายสื่อสารได้ไม่เต็ม ประสิทธิภาพด้วย ดังนั้น จึงควรใชก้ ารเช่ือมตอ่ แบบหลายจุด ซงึ่ เป็นการเช่ือมต่อสายส่ือสารเพยี งสาย เดียว แต่สามารถเชอ่ื มต่อกับคอมพิวเตอร์ได้หลายๆ เคร่ือง หรือหลายๆ จุด เพื่อให้สามารถใชง้ านสาย สื่อสารร่วมกันได้ การเชื่อมต่อแบบหลายจุดนี้เหมาะสาหรับลักษณะการรับ - ส่งข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง และมีขอ้ มลู ไม่มากนัก 3.8 การใชบ้ รกิ ารสายสอ่ื สาร ปัจจุบันมีบริการต่าง ๆ มากมายอานวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร เช่น Dial-up Line, Leased Line, ISDN, Line, DSL, T-carrier Line, และ CATV เป็นต้น 3.8.1 Dial-Up Line Dial-up Lime หรือ Switched Line เป็นการสร้างการเช่ือมต่อแบบช่ัวคราวผ่าน ทางสายโทรศัพท์ เพ่ือให้สามารถทาการติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ โดยใช้โมเด็มเป็น อุปกรณใ์ นการเชื่อมตอ่ 3.8.2 Leased Line Leased Line หรอื Dedicated Line เปน็ การสรา้ งการเชื่อมตอ่ แบบถาวรระหว่างจุด 2 จดุ เพื่อให้สามารถทาการตดิ ต่อสอ่ื สารผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ได้ ซึ่งหมายความว่าอุปกรณ์ที่ใชใ้ น การเช่ือมต่อทั้ง 2 จุด เพื่อให้สามารถสื่อสารกันได้ตลอดเวลา ทั้งข้อมูล ภาพ เสียง และสารสนเทศ ดว้ ยความเร็วสูง โดยปกติแล้วองค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรที่มีการรับ-สง่ ขอ้ มูลในจานวนมหาศาลและ ตอ้ งการความรวดเร็ว จึงจะใช้บริการน้ี เน่ืองจากตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายเป็นค่าเช่าสายสื่อสาร ตัวอย่างของ Leased Line เช่น ISDN, DSL, T-Carrier และ CATV เปน็ ตน้ ขอ้ ดี - มีความคล่องตัวในการบริหารงานในองค์กร โดยสามารถเปิดโอกาสใหท้ ุกคน ในองค์กรใช้งานอนิ เทอร์เนต็ ไดแ้ ละสามารถใชง้ านไดต้ ลอด 24 ช่ัวโมง - องค์กรไม่ต้องเสียเบอร์โทรศัพท์หลายหมายเลข เพ่ือใช้ติดต่อเข้าเครือข่าย อินเทอร์เน็ต เนื่องจากเป็นการเช่ือมต่อโดยตรงเข้ากับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider: ISP) - องค์กรจะสามารถกาหนดค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนได้ เนื่องจากเสียค่าบริการ ตามความเร็วท่ีเช่าสายเป็นอัตราเท่ากันทุกเดือน และไม่ได้คิดค่าบริการตามจานวนช่ัวโมใช้งาน เปรียบเสมือนการเหมาจ่ายสาหรับผู้ใช้เป็นกลุ่ม แต่หากเป็นกรณีท่ีองค์กรให้พนักงานหลายคนใช้ 70

บริการแบบ Dial-up ต้องมีค่าใช้จ่าย ท้ังทางด้านค่าโทรศัพท์ในการติดต่อ ISP ค่าบริการรายเดือน และค่าบริการรายชั่วโมงท่ีใช้เกินกาหนด (Extra Charges) ซึ่งยากที่จะควบคุมปริมาณชั่วโมงการใช้ งานของพนกั งานแต่ละคน - สามารถสร้าง E-mail Account ได้ไม่จากัดจานวนสาหรับพนักงานในองค์กร ทาใหก้ ารตดิ ตอ่ ส่อื สารเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ - สามารถเก็บเว็บไซต์ขององค์กรไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ของตนเองได้ จึงไม่ต้องเสีย คา่ บริการในการฝากเว็บไซต์ไว้กับ Web Hosting (ผู้ให้บรกิ ารพ้ืนท่ีและดูแลเว็บไซต์) และยังช่วยให้มี ความคลอ่ งตวั มากข้นึ ในการเปลย่ี นแปลงข้อมลู บนเว็บไซต์ 3.8.3 ISDN Line (Integrated Services Digital Network Line) ISDN Line เป็นเส้นทางการสื่อสารที่ใช้สายโทรศัพท์ธรรมดาแต่ทาให้สามารถส่งท้ัง เสียงพูดและข้อมูลได้พร้อมกัน ทาให้สามารถใช้งานอินเทอรเ์ นต็ ได้พร้อมกับการคุยโทรศัพท์ โดยข้อมูล หรือเสียงที่รับ-ส่งน้ันอยู่ในรูปของสญั ญาณดิจิตอล ซ่ึงมีข้อดีมากกว่าสัญญาณอนาลอ็ ก นอกจากน้ีการ ใชบ้ ริการ ISDN Line ยงั สามารถมัลติเพลก็ (Multiplex) สัญญาณได้มากกว่า 3 สญั ญาณสง่ ไปในคราว เดียวกัน ทาให้มีความเร็วในการส่งข้อมูลเร็วกว่าสายโทรศัพท์ธรรมดาโดยความเร็วในการรับ - ส่ง ขอ้ มูลสูงสดุ คือ 128 Kbps ผู้ใช้ที่ต้องการใช้ช่องทางการสื่อสารเป็น ISDN Line จาเป็นต้องเลือกใช้โมเด็มชนิด พิเศษที่สามารถสื่อสาร ISDN Line ได้ เรียกว่า \"ISDN Modem\" ซึ่งจะทาให้การใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น การดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูล การชมเว็บไซด์ หรือการประชุมด้วยเทคโนโลยี Videoconference สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว ถูกตอ้ งและชดั เจนน่นั เอง ISDN Line นี้เหมาะสมกับบริษทั เลก็ ๆ หรือผู้ใช้ตามบ้านทว่ั ไป เน่ืองจาก ISDN Line เป็นเส้นทางการสอ่ื สารท่ีมีความเรว็ ในการรับ-ส่งข้อมูลมากกว่าการใช้ Dial-up Line แต่ก็มีค่าบริการ สูงกวา่ ดว้ ย 3.8.4 DSL (Digital Subscriber Line) DSL เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของเส้นทางการส่ือสารท่ีเป็นสัญญาณดิจิตอล โดยเหมาะ สาหรับสานักงานขนาดเล็กหรือผู้ใช้ตามบ้านทั่วไป โดย DSL มีลักษณะการทางานเหมือนกับ ISDN Line เพยี งแตม่ คี วามเร็วในการรับ-ส่งข้อมลู สงู กว่า ISDN Line เทา่ น้ัน ในการเชื่อมต่อ DSL ผ้ใู ชง้ านจะตอ้ งใช้ฮารด์ แวร์ทีเ่ รยี กว่า \"การด์ เครือข่าย (Network Card)\" หรือไม่ก็ใช้ \"DSL Modem\" ซ่ึงเป็นโมเด็มที่แตกต่างจากโมเด็มทั่วไปท่ีใช้ใน Dial -up Line เหมือนกับ ISDN Modem และการบริการ DSL น้ีจะมาแทนที่ ISDN Line เนื่องจากการติดตั้งท่ี 71

สะดวก และง่ายกว่าการติดต้ัง ISDN Line นอกจากน้ียังมีอัตราการส่งผ่านข้อมูลท่ีความเร็วสูงกว่า ISDN Line ดว้ ย ADSL (Asymmetric DSL) เป็นเส้นทางการส่ือสาร DSL ชนิดหน่ึงท่ีได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก เนื่องจากอัตราการรับส่งขอ้ มูลที่แตกต่างกนั โดยสามารถสง่ ข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงถึง 640 Kbps แต่สามารถรับข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงถึง 9 Mbps ทาให้ตอบสนองต่อการใช้งาน อินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากความต้องการในการดาวน์โหลดข้อมูลของผู้ใช้งานมีมากกว่าการ อพั โหลดขอ้ มลู 3.8.5 T-Carrier Line T-carrier Line เป็นเส้นทางการส่ือสารแบบดิจิตอลอีกเส้นทางหนึ่ง ที่สามารถส่ง สัญญาณหลายๆ สัญญาณไปบนสายสื่อสารสายเดียวได้ ขณะท่ีมาตรฐานของสายโทรศัพท์สามารถส่ง สัญญาณได้ 1 สัญญาณเท่าน้ัน T-carrier Line จึงต้องใช้วิธีการมัลติเพล็ก (Multiplex) สัญญาณ หลายๆ สัญญาณให้เป็นสัญญาณเดียว แล้วส่งไปในสายโทรศัพท์ ทาให้ T-carrier Line น้ีมีอัตราการ ส่งผ่านข้อมูลที่สูงมาก และจะมีเฉพาะในองค์กรขนาดกลางและขนาดใหญ่เท่าน้ันที่จะใช้บริการ T- carrier Lin เนือ่ งจากตอ้ งเสียคา่ บริการทแ่ี พงมาก T-carrier Line ท่ีได้รับความนิยมอย่างมาก คือ T1 Line และ T3 Line โดยองค์กร ทางธุรกิจส่วนใหญ่จะใช้งาน T1 Line ในการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ส่วน T3 Line น้ันจะนิยมใช้ใน องค์กรขนาดใหญ่ เช่น บรษิ ัทขนาดใหญ่ บรษิ ัทผ้ใู ห้บริการโทรศัพท์และบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Service Provider) เปน็ ตน้ โดยจะใช้ T3 Line ซึ่งมีความเร็วเปน็ 28 เทา่ ของ T1 Line ใน การเชือ่ มตอ่ กับ Internet Backbone 3.8.6 CATV (Cable Television Lines) CATY เป็นช่องทางการสื่อสารท่ีไม่เหมือนกับการสื่อสารผ่านทางสายโทรศัพท์ ซึ่งใน ต่างประเทศนิยมนามาใช้งานในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตด้วยเคร่ืองพีซีผ่านทางเคเบิลทีวีภายในท่ีพัก อาศัย โดยใช้เคเบิลโมเดม็ (Cable Modem) ในการเชื่อมต่อ แตใ่ นประเทศไทยยงั ไม่มีการใช้งานอยา่ ง แพร่หลายนกั จะมีการใชง้ านที่เห็นไดช้ ัดกเ็ พียงแตก่ ารใหบ้ ริการเคเบลิ ทีวีทั่วไป เช่น UBC เป็นตน้ 3.9 สถาปัตยกรรมเครือข่ายและโปรโตตอล (Network Architecture and Protocol) การท่ีจะทาให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายสามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จาเป็นจะต้องอาศัยสิ่งท่ีเรียกว่า \"โปรโตคอล (Protocol)\" ในการติดต่อสื่อสาร แต่เน่ืองจากบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ต่างก็มีมาตรฐานในการผลิต และมี มาตรฐานโปรโตคอลเป็นของตนเอง (เป็นระบบเครือข่ายของบริษัทน้ัน ๆ) ดังน้ัน การที่จะทาให้ 72

อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และคอมพิวเตอร์ต่างบริษัทกันสามารถติดต่อสื่อสารข้ามเครือข่ายกันได้ จึงเป็นสิ่งท่ี เป็นปัญหา หน่วยงานกาหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO (International Organization for Standardization) ได้เล็งเห็นถึงปัญหาน้ี จึงได้มีการพิจารณามาตรฐานของ \"ระบบเปิด (Open System)\" เพ่ือให้ระบบจากบริษัทต่าง ๆ สามารถติดต่อสื่อสารเพื่อทางานร่วมกันได้เรียกว่า \"Open Systems Interconnection (OSI) Mode!\" ขนึ้ โดยใน OSI Mode นจี้ ะยังไม่ไดก้ าหนดมาตรฐานของ โปรโตคอลที่ตายตัวใด ๆ ไว้ เพียงแต่เป็นกรอบของมาตรฐาน (Framework of Standards) ที่ระบุว่า ควรแบ่งโปรโตคอลออกเป็น 7 เลเยอร์ (Layer) และในแต่ละเลเยอร์ควรมีหน้าท่ีอะไรบ้าง ดังน้ันเม่ือ บริษทั ตา่ ง ๆ ได้ผลติ โปรตคอลใหมข่ ้นึ มา กจ็ ะออกแบบใหส้ อดคล้องกับ OSI Model นี้ เพอ่ื ใหส้ ามารถ ติดต่อสือ่ สารกับระบบของตา่ งบริษทั ได้ 3.9.1 OSI Model (Open Systems Interconnection Model) OSI Model ประกอบไปด้วย 7 เลเยอร์ ซึ่งแตล่ ะเลเยอร์มีหนา้ ที่ดังตาราง 3.3 ตารางท่ี 3.3 เลเยอรแ์ ละหน้าท่ีตา่ ง ๆ ของแต่ละเลเยอร์ใน OSI Model Application Layer (7) - ประกอบไปด้วย Application Protocol ต่าง ๆ ทมี่ ีผนู้ ยิ มใช้งาน เช่น E-mail, File Transfer เปน็ ตน้ - เพิ่ม Header กอ่ นส่งลงไปยัง Presentation Layer Presentation Layer (6) - จัดการเกย่ี วกบั รูปแบของข้อมูล โดยการแปลงข้อมลู ใหอ้ ย่ใู นรปู แบบที่เป็นมาตรฐานท่ีทุกเครื่อง เขา้ ใจ - เพ่มิ Header ก่อนสง่ ลงไปยัง Session Layer Session Layer (5) - สรา้ ง Session ระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครือ่ ง เพอ่ื ให้อกี เครอ่ื งสามารถเข้ามาใช้งานจาก ระยะไกลได้ หรอื สง่ ไฟลร์ ะหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง - ให้บรกิ ารบางอย่างแกผ่ ู้ใช้ เช่น การ Synchronize ขอ้ มลู เพือ่ ป้องกนั ปัญหาการเช่ือมต่อหลดุ จะได้ไมต่ ้องเริม่ สง่ ขอ้ มลู ใหม่ท้ังหมด - เพิ่ม Header กอ่ นสง่ ลงไปยัง Transport Layer Transport Layer (4) - รับขอ้ มูลมาจก Session Layer แล้วตัดข้อมลู ออกเปน็ ชิ้นเล็ก ๆ และเพิ่ม Header เขา้ ไป เรยี กว่า \"Packer\" จากนน้ั จึงสง่ ตอ่ Packet ไปยงั Network Layer - ตรวจสอบว่า Packet ตา่ ง ๆ ที่สง่ ไปถึงฝงั่ รบั นัน้ ครบถว้ นและไมม่ ี Error เกดิ ขน้ึ - จัดการเกย่ี วกบั Flow Control 73

Network Layer (3) - รบั ผิดชอบการกาหนดเสน้ ทางจากต้นทางไปจนถงึ ปลายทาง เพื่อทาการส่งข้อมลู - แกป้ ญั หาการส่งข้อมลู ในกรณที ส่ี ง่ ผา่ นเครือข่ายท่มี คี วามแตกต่างกนั (Heterogeneous Network) - จดั การเกี่ยวกบั Congestion Control - เพ่ิม Header ขา้ ไปใน Packet ทไ่ี ดจ้ าก Transport Layer แลว้ เรยี กว่า \"Frame\" จากน้นั สง่ ตอ่ ไปให้ Data Link Layer Data Link Layer (2) - รับผิดชอบในการสง่ ข้อมูลจากตน้ ทางไปจนถึงปลายทาง - เพม่ิ Header และ Trailer เพื่อใช้ในการตรวจสอบต่าง ๆ - แกป้ ญั หาเมื่อ Frame เกดิ เสยี หาย หรอื วา่ เกิด Frame ซา้ Physical Layer (1) - ทาหนา้ ท่ดี ูแลการส่งข้อมูลที่เปน็ Bit ไปในชอ่ งทางการสอื่ สาร ทม่ี า (ผเู้ ขยี น) 3.9.2 โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คอื ระเบียบวิธกี าร กฎ และข้อกาหนดต่าง ๆ ในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร รวมถึง มาตรฐานท่ีใช้เพ่ือให้สามารถส่งผ่านข้อมูลไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง โปรโตคอลท่ีนิยมใช้งานใน ปจั จุบนั แสดงตวั ตารางที่ 3.4 ตารางที่ 3.4 โปรโตคอลชนิดต่าง ๆ ที่เป็นท่นี ยิ มในปจั จุบัน โปรโตคอล คาอธิบาย TCP/IP โปรโตคอลมาตรฐานทใ่ี ช้ในการสื่อสารระหวา่ งเคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ่ีแตกต่าง (Transmission กัน ใชร้ ะบบปฏบิ ัติการท่ตี า่ งกัน และอยูบ่ นเครือข่ายท่ตี า่ งกัน ให้สามารถ Control Protocol / สอื่ สารกนั ผ่านทางเครือข่ายไดโ้ ดย TCP/P จะประกอบไปด้วยโปรโตคอล 2 Internet Protocol) ตวั คอื TCP (Transmission Control Protocol) และIP (Internet Protocol) HTTP (Hyper Text โปรโตคอลที่ใช้ในการส่งเว็บเพจ (Web Page) ทอี่ ยู่บนเคร่ืองเซิร์ฟเวอรม์ าให้ Transfer Protocol) เคร่อื งไคลเอน็ ทท์ ่ีทาการร้องขอไป ทาใหผ้ ู้ใช้งานสามารถท่องไปในเว็บไซต์ต่าง ๆ ทั่วโลกได้ 74

โปรโตคอล คาอธิบาย FTP (File Transfer โปรโตคอลท่ใี ชใ้ นการสง่ โอนไฟล์ข้อมลู ผา่ นครอื ขา่ ยอนิ ตอร์เน็ต โดยจะเรยี ก Protocol) การโอนไฟล์จากเคร่อื งเซิรฟ์ เวอร์มาทเ่ี คร่ืองไคลเอน็ ท์ว่า \"Download\" และ เรยี กการโอนไฟลจ์ ากเคร่ืองไคลเอ็นท์ไปไว้ทีเ่ ครอ่ื งเซิร์ฟเวอร์วา่ \"Upload \" SMTP (Simple Mail โปรโตคอลทใ่ี ช้ในการส่ง E-mail ไปยัง Mailbox ที่เปน็ จดุ หมายปลายทาง Transport Protocol) POP3 โปรโตคอลทใ่ี ช้ในการดึง E-mail จาก Mailbox ของผใู้ หบ้ ริการมาเกบ็ ไว้ท่ี (Post Office เคร่ืองตนเอง เพ่อื ให้สะดวกต่อการจัดการกับ E-mail Protocol- 3) ที่มา (ผูเ้ ขยี น) 3.10 ประเภทของเครือข่าย ระบบเครือขา่ ยแบบต่าง ๆ จะมีความสามารถ และคุณลักษณะเฉพาะตัวแตกตา่ งกนั ไป ซึ่งเป็น หน้าที่ของนักออกแบบระบบที่จะต้องใช้ดุลพินิจในการพิจารณาคุณลักษณะเฉพาะเหล่าน้ัน เพ่ือ คัดเลือกระบบเครือข่ายที่เหมาะสมกับระบบงานท่ีได้ออกแบบไว้มากที่สุด ในปัจจุบัน สามารถแบ่ง ระบบเครือข่ายออกเป็น 3 แบบ คือ เครอื ข่าย LAN, MAN และ WAN ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 3.10.1 เครอื ข่าย LAN (Local Area Network) LAN เป็นเครือข่ายในระดับท้องถิ่น มีระยะทางการเช่ือมต่อประมาณ 30 เมตร ซ่ึงใน ระบบ LAN หน่ึงๆ อาจประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์จานวนเท่าใดก็ได้ แต่ทุกเคร่ืองจะต้องได้รับ การเชือ่ มต่อใหส้ ามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยอาจเป็นการสอ่ื สารแบบมสี าย เชน่ สายทวิสเตด แพร์ เคเบิลใยแกว้ นาแสง เป็นตน้ หรอื อาจเปน็ การส่ือสารแบบไร้สาย เชน่ อินฟราเรดก็ได้ LAN นอกจากจะเป็นเครือข่ายที่ใช้เพื่อส่ือสารกันภายในองค์กรแล้ว LAN ยังเป็น เครือข่ายพ้ืนฐานสาหรบั เช่ือมต่อกับเครือข่ายอ่ืน ๆ อีกด้วย เชน่ เครือข่ายอินทราเนต็ และอนิ เทอร์เน็ต เป็นต้น เครือข่าย LAN นี้เหมาะกับระบบงานท่ีเป็นการทางานระยะใกล้ เช่น ในห้องเดียวกัน ภายใน อาคารเดียวกัน หรอื อาคารใกลเ้ คียงกัน เปน็ ต้น เครือข่ายแบบ LAN นั้นได้รับความนิยมในองค์กรต่าง ๆ เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น องค์กรขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ LAN อนุญาต เป็นเครือข่ายพ้ืนฐานสาคัญในการเชื่อมต่อเข้ากับ อินเทอร์เน็ตของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร และยังสนับสนุนการทางานร่วมกันเป็นทีมด้วย 75

เน่อื งจากในเครอื ขา่ ย LAN อนญุ าตให้มกี ารใช้ทรพั ยากรทม่ี ีในระบบร่วมกนั (Share Resources) เซ่น ไฟลข์ ้อมลู ฐานขอ้ มูล และเครอื่ งพิมพ์ เปน็ ต้น ข้อดี - เน่ืองจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในวง LAN เดียวกันสามารถใช้ทรัพยากรท่ี มีในวง LAN ร่วมกันได้ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อสาหรับอุปกรณ์ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ เช่น เคร่อื งพมิ พ์ หรือสแกนเนอร์ เปน็ ตน้ - การขนย้ายข้อมูลระหว่างเครื่องต่อเคร่ืองในระบบ ทาได้รวดเร็วกว่าการขน ยา้ ยข้อมลู ด้วยแผ่นดสิ เกต็ - เปน็ ระบบพื้นฐานในการเชือ่ มต่อเข้ากับอนิ เทอร์เนต็ 3.10.2 เครือข่าย MAN (Metropolitan Area Network) MAN เป็นเครอื ขา่ ยในระดับเมือง มีขนาดใหญก่ วา่ LAN โดยมีระยะทางการเช่อื มต่อ ประมาณ 50 กิโลเมตร มกั เกดิ จากการโยงเครือข่าย LAN ในบรเิ วณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น การแพร่ ข้อมูลภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระหว่างสานักงานในเขตเมืองใหญ่ การส่ง ข้อมูลด้วยคล่ืนวิทยุซ่ึงการส่งข้อมูลจะเป็นลักษณะของเครือข่ายแบบแพร่กระจายข้อมูลคล้ายกับ ดาวเทียม หรือระบบเซลลูลาร์โฟน ซึ่งเป็นเครือข่ายที่มีการนามาประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือใน ปัจจุบนั 3.10.3 เครือข่าย WAN (Wide Area Network) WAN เป็นเครือข่ายบริเวณกว้าง ซึ่งจะมีขอบเขตการเชื่อมต่อท่ีกว้างไกลกว่า เครือข่าย LAN (ระยะทางการเช่ือมต่ออาจมากกว่า 100 กิโลเมตรข้ึนไป) เครือข่าย WAN เกิดข้ึนจาก การนาเครือข่าย LAN ตั้งแต่ 2 เครือข่ายข้ึนไปมาเช่ือมต่อกัน ซ่ึงเม่ือเช่ือมต่อกันแล้วจะก่อให้เกิดเป็น ระบบครอื ขา่ ยขนาดใหญ่ในระดับจังหวดั ประเทศ หรืออาจข้ามทวปี เลยก็ได้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ในครือข่ายประเภทต่าง ๆ ข้างต้นนี้สามารถติดต่อส่ือสาร เพ่ือใช้ทรพั ยากรร่วมกันได้ 2 รูปแบบ คอื เครือข่าย Peer-to-peer และ เครือข่าย Client Server ดัง รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 3.10.3.1 เครือข่าย Peer-to-peer เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่าย Peer-to-peer น้ีจะสามารถแบ่งปันทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ไฟล์ เคร่ืองพิมพ์ เป็นต้น เพ่ือใช้กันภายใน ครือข่ายได้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะทางานในลักษณะท่ีทัดเทียมกัน การเชื่อมต่อแบบ Peer-to-peer มักทาในเครือข่ายขนาดเลก็ ทมี่ ีการเชื่อมตอ่ กันไม่เกิน 10 เครอ่ื ง ซึง่ เครอื ข่ายประเภทน้ี สามารถจดั ตง้ั ได้ง่ายด้วยระบบปฏบิ ตั ิการธรรมดา เชน่ Windows 98, Windows 2000 Professional เป็นต้น 76

3.10.3.2 เครือข่าย Client/Server เครือข่ายที่ประกอบไปด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มากกว่า 1 เครื่อง โดยจะมีคอมพิวเตอร์ 1 เคร่ืองที่เรียกว่า \"เซิร์ฟเวอร์ (Server)\" ทาหน้าที่เป็นผู้ ให้บริการทรัพยากรต่าง ๆ แก่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ ซึ่งเรียกว่า \"ไคลเอ็นท์ (Client\" โดยเครื่อง เซิร์ฟเวอร์นี้มักจะมีประสิทธิภาพสูง ซ่ึงอาจเป็นได้ท้ังเครื่อง PC, Minicomputer ไปจนถึง supercomputer แล้วก็ใช้ระบบปฏิบัติการ ที่สามารถจัดการกับเครือข่ายได้ (Network Operating System: NOS) เช่น Windows NT, Windows 2000 server เป็นต้น หน้าที่ของเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์ ได้แก่ การควบคุมความปลอดภัยในระบบเครือข่าย จัดการความคับคั่ง ในระบบเครือข่าย ให้บริการ ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ข้อมลู โปรแกรม หรือการขอใชอ้ ุปกรณ์ร่มตา่ ง ๆ ตามแต่เคร่ืองไคลเอน็ ท์จะร้อง ขอ ซึ่งจะเรียกการทางานที่ด้านไคลเอ็นท์ว่า \"Front-end Processing\" และเรียกการทางานในส่วน ของเซริ ์ฟเวอร์ ว่า \"Back-end Processing\" 3.11 โครงสรา้ งการเชอื่ มต่อเครือข่าย (Topology Network) การติดต่อสื่อสารระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เคร่ืองขึ้นไป มีลักษณะการเช่ือมต่อ ภายในเครือข่าย ได้ 5 รูปแบบ ดังน้ี 3.11.1 การเชือ่ มตอ่ เครอื ขา่ ยแบบบสั (Bus Network) เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในพ้ืนท่ีเดียวกันโดยใช้สายสัญญาณต่อเชื่อม ซ่ึง เรียกว่า \"บัส (Bus)\" เป็นทางเดินของข้อมูลร่วมกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยสัญญาณจะถูก กระจายไปตลอดท้ังเส้นทาง ตวั อย่างการเชื่อมตอ่ เครอื ขา่ ยแบบบัสแสดงดงั ภาพที่ 3.2 ภาพท่ี 3.2 โครงสรา้ งการเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยแบบบัส ทมี่ า http://panidakhaikham3.blogspot.com/2011/01/bus-network.html 77

ขอ้ ดี - การใช้สายสง่ ขอ้ มูลจะใช้สายสง่ ข้อมลู ร่วมกันทาให้ใชส้ ายส่งขอ้ มูลได้ อยา่ งเตม็ ประสทิ ธิภาพ ช่วยลดค่าใชจ้ ่ายในการติดต้ังและการบารงุ รักษา - เครือข่ายแบบบัสมีโครงสร้างที่ง่ายและมีความน่าเช่ือถือ เน่ืองจากใช้สายส่งข้อมูล เพยี งเส้นเดยี ว - การเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในเครือข่ายสามารถทาได้ง่าย เน่ืองจากจุดใหม่จะใช้ สายสง่ ข้อมูลทมี่ ีอยู่แล้วได้ ข้อเสยี - การหาข้อผดิ พลาดทาได้ยาก เนือ่ งจากในเครอื ขา่ ย จะไมม่ ศี นู ยก์ ลางในการควบคุม อย่ทู จ่ี ดุ ใดจดุ หนง่ึ ดังนั้น การตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดจงึ ตอ้ งทาจากหลาย ๆ จุดใน เครือขา่ ย - ในกรณีที่เกิดการเสียหายในสายสง่ ขอ้ มูล จะทาใหท้ ง้ั เครอื ขา่ ยไม่สามารถทางานได้ - เมอ่ื มผี ูใ้ ชง้ านเพม่ิ ข้นึ อาจทาให้เกิดการชนกนั ของข้อมูลเม่ือมีการรบั สง่ ข้อมูล 3.11.2 การเชอื่ มตอ่ เครือขา่ ยแบบสตาร์ (Star Network) การเชื่อมต่อเครือบายแบบสตาร์ หรือเครือข่ายแบบดาว เป็นการเชื่อมต่อเคร่ือง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยใช้ฮับ (Hub) หรือสวิตช์ (Switch) เป็นจุด เช่ือมต่อ และจะเรียกคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางน้ันว่า \"โฮสต์คอมพิวเตอร์ (Host Computer)\" ตวั อยา่ งการเชื่อมตอ่ เครอื ขา่ ยแบบสตารแ์ สดงดังภาพที่ 3.3 ภาพท่ี 3.3 การเช่อื มเครือขา่ ยแบบสตาร์ ที่มา https://nisachon55.wordpress.com ข้อดี - เครือข่ายแบบสตาร์จะมีโฮสต์คอมพิวเตอร์อยู่ท่ีจุดเดียว ทาให้ง่ายในการ ตดิ ต้ังหรือจดั การกบั ระบบ 78

- จุดใช้งาน 1 จดุ ต่อกับสายส่งข้อมูล 1 เส้น เม่อื เกดิ การเสียหายของจุดใช้งาน ใดในเครอื ข่าย จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของจุดอ่นื ๆ - การติดต่อส่ือสารในเครือข่ายแบบสตาร์จะเกี่ยวข้องกันระหว่างโฮสต์ คอมพิวเตอร์กับอปุ กรณ์อกี จุดหน่ึงเทา่ น้นั ส่งผลใหก้ ารควบคมุ การสง่ ข้อมลู ทาได้ง่าย ข้อเสีย - เนื่องจากแต่ละจุดจะต่อดอยตรงกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องใช้สายส่ง ขอ้ มูลจานวนมาก ทาให้ต้องเสียคา่ ใช้จ่ายเพม่ิ ข้ึนในการติดตง้ั และบารงุ รักษา - การเพ่ิมจุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสายจากโฮสต์คอมพิวเตอร์ออกมาส่งผล ใหก้ ารขยายระบบทาได้ยาก - การทางานขึ้นยู่กับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ถ้าโฮสต์คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายข้ึน ก็จะ ไมส่ ามารถใชง้ านเครอื ข่ายได้ 3.11.3 การเชือ่ มต่อเครอื ขา่ ยแบบริง (Ring Network) การเช่ือมต่อเครือข่ายแบบริง เป็นเครือข่ายท่ีมีประสิทธิภาพสูง โดยมีการต่อเช่ือม กันเป็นวงแหวน (Ring Network) และส่งข้อมูลเป็นวงแหวน การรับส่งข้อมูลจะเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน การติดต่อส่ือสารจะใช้ \"โทเค็น (Token)\" เป็นสื่อกลางในการตดิ ต่อภายในครือข่าย โดยหาก คอมพิวเตอร์เครื่องใดต้องการส่งข้อมูล จะทาการจับโทเค็นนี้ไว้แล้วใส่ข้อมูลท่ีต้องการส่งลงไปในโท เค็น จากน้ันก็จะปล่อยโทเค็นออกไป โทเค็นก็จะวนผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไปเร่ือย ๆ จนกว่า จะเจอเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เป็นเป้าหมายในการส่งคอมพิวเตอร์เคร่ืองน้ันก็จะรับข้อมูลในโทเค็นไว้ แล้วจึงปล่อยโทเคน็ ใหเ้ ป็นเปน็ อสิ ระ โทเคน็ ก็จะวา่ งอกี คร้ัง ดงั ภาพที่ 3.4 ภาพท่ี 3.4 การเช่ือมตอ่ เครอื ข่ายแบบรงิ (Ring Network) ที่มา http://witchudatcb.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.html 79

ข้อดี - ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูลที่ใช้ในเครือข่ายแบบนี้จะ ใกล้เคียงกับแบบบัส แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์ ทาใหเ้ พ่ิมความนาเชื่อถือของการส่งขอ้ มูลได้มากข้ึน - เหมาะสาหรับใช้กับเคเบิลเส้นแก้วนาแสง เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ ด้วยความเร็วสงู ขอ้ มลู ในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการเล่นแตล่ ะจุดจะเชอ่ื มกบั จุดติดกันดว้ ยสายส่ง ข้อมูลทาให้สามารถเลือกได้ว่าจะใช้สายข้อมูลแบบไหนในแต่ละส่วนของระบบ เช่น เลือกใช้เคเบิลใย แก้วนาแสงในสว่ นทีใ่ ช้ในโรงงานซ่ึงมปี ญั หาดา้ นสญั ญาณไฟฟ้ารบกวนมาก เปน็ ต้น ข้อเสีย - การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุก ๆ จุดท่ีอยู่ในวงแหวน ดังนั้นหากมี จุดใดจุดหน่ึงเสียหาย ทั้งเครือข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนาจุดท่ีเสียหายออกไป หรือ แกไ้ ขใหใ้ ช้งานได้ - ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจต้องทดสอบระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหา ดวู ่าจุดใดเสยี หาย ซึ่งเป็นเรือ่ งที่ยากและเสียเวลามาก - ยากต่อการเพิม่ จุดใช้งานใหม่ 3.11.4 การเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ยแบบผสม (Hybrid Topology) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม เป็นเครือข่ายทไี่ ม่มีรปู แบบทีแ่ น่นอน เครือ ข่ายแบบ ผสมน้ีจะใช้การผสมรูปแบบการเช่ือมต่อหลายๆ แบบเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เครือข่ายแบบบัสผสมกับ เครอื ข่ายแบบสตาร์ เป็นตน้ ดังภาพท่ี 3.5 ภาพท่ี 3.5 การเชื่อมตอ่ เครือข่ายแบบผสม (Hybrid Topology) ที่มา https://sites.google.com/site/nichapatprakaidow/rup-baeb-kar-cheuxm-tx-kherux- khay-khxmphiwtexr/3-baeb-daw 80

3.11.5 การเชอ่ื มต่อเครือขา่ ยแบบไร้สาย (Wireless Network) ในปัจจุบันการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่เรียกว่า \"Wireless Networking\" หรือเครือข่ายไร้สายข้ึนมาซ่ึงเริ่มแรกนั้นสามารถรับส่งข้อมูลได้ 2 Mbps (Megabits per Second) จนพัฒนาให้สามารถส่งข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาท่ีถูกลง ทาให้เครือข่ายไร้สาย ได้รับความนิยมมากขึ้น ซ่ึงเครือข่ายไร้สายน้ีจะใช้เทคโนโลยีท่ีสามารถส่งข้อมูลไปบนความถี่ท่ี เปล่ียนแปลงตลอดเวลาได้ ซ่ึงเรียกวา่ \"Spread Spectrum\" โดยขอ้ มลู ทแี่ ยกสง่ ออกไปน้ันจะประกอบ กันเหมือนเดิมท่ี ตัวรับสัญญาณ นอกจากน้ี Spread Spectrum ยังรองรับการใช้งานท่ีความเร็ว 11 Mbps บนย่านความ 2.4 GHz และมีคุณสมบัติในการป้องกันไม่ให้สัญญาณระหว่างผู้ใช้งานรบกวน กันเอง เครือข่ายไร้สายจะช่วยอานวยความสะดวกและความคล่องตัวในการใช้งาน เครือข่าย ไม่ว่าจะอยทู่ ไ่ี หนภายในบรเิ วณพืน้ ที่ของเครือข่ายก็สามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ ง เต็มท่ีเช่นเดียวกับเครือข่ายปกติ ซึ่งการติดต่อด้วยเครือข่ายไร้สายน้ีสามารถเชื่อมต่อแบบ Peer-to- peer กไ็ ด้ โดยใชอ้ ปุ กรณ์ WLAN (Wireless LAN) ดังแสดงตวั อยา่ งในภาพท่ี 3.6 ภาพที่ 3.6 การเชอื่ มต่อเครือขา่ ย LAN แบบไร้สาย ทมี่ า https://sites.google.com/site/brrcngiphone/kar-suxsar-khx-mul-laea-kherux- khay/kherux-khay-laen-ri-say-wireless-lan 81

3.12 อปุ กรณ์เครอื ขา่ ย (Network Devices) ในหัวข้อที่ผ่านมาได้กล่าวถึง LAN และ WAN ไปแล้ว ซ่ึงการจะเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้ กลายเป็น LAN หรือ WAN ได้นั้นจะต้องอาศัยสง่ิ ที่เรียกว่า \"อุปกรณเ์ ครือขา่ ย (Network Device)\" มี ดว้ ยกันทั้งหมด 6 ชนิด ไดแ้ ก่ 3.12.1 อปุ กรณท์ วนสัญญาณ (Repeater) อุปกรณ์ทวนสัญญาณทางานใน Layer ท่ี 1 ของ OSI Model เปน็ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Regenerate) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่ส่งมา จากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอ่ืน เหตุที่ต้องใช้ Repeater เน่ืองจากว่าการส่ง สัญญาณไปในตัวกลางที่เป็นสายสัญญาณนั้น เม่ือระยะทางมากข้ึนแรงดันของสัญญาณจะลดลงเร่ือย ๆ จึงไม่สามารถส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆ ได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทาให้สามารถส่ง สญั ญาณไปได้ไกลขนึ้ โดยท่สี ญั ญาณไม่สญู หาย ภาพที่ 3.7 การเชอื่ มต่อ repeater เข้ากบั เครือขา่ ย ทีม่ า http://bc425.212cafe.com/archive/2007-12-14/network-devices/ http://www.computer.kku.ac.th/tip10.htm จากภาพที่ 3.7 จะเห็นว่าเครอื่ งคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 (Segment หมายถึง ส่วนย่อย ๆ ของเครือข่าย LAN) เช่ือมตอ่ อยู่กับคอมพิวเตอร์ใน Segment 2 แต่ทั้งสองเคร่ืองนี้มีระยะห่างกันมาก จงึ ต้องใช้ Repeater เพอ่ื ทวนสัญญาณท่ีส่งไปมาระหวา่ งกนั 3.12.2 ฮับ (Hub) ฮับ ทางานใน Layer ท่ี 1 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ตัวกลางท่ีใช้เช่ือมต่อ ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย LAN (เพ่ิมจานวนคอมพิวเตอร์ในวง LAN) โดยมีหน้าที่ในการ ทวนสัญญาณเหมือน Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนน้ันออกไปยังคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ เชอื่ มตอ่ อยูก่ บั ฮบั ด้วย 82

ภาพท่ี 3.8 การเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอร์เข้ากับเครือขา่ ยโดยใชฮ้ บั (Hub) ทมี่ า http://bc425.212cafe.com/archive/2007-12-14/network-devices/ http://www.computer.kku.ac.th/tip10.htm จากภาพท่ี 3.8 เป็นการใช้ Hub ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งท่ี Hub จะมี \"พอร์ต (Port)\"ใช้สาหรบั เปน็ ชอ่ งทางในการเชื่อมต่อระหวา่ ง Hub กบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ เครือข่ายตัวอ่ืน ๆ หากเครื่องคอมพิวเตอร์ใน Segment 1 ต้องการส่งข้อมูลหากันภายใน Segment จะต้องส่งผ่าน Hub แล้ว Hub จะทวนสัญญาณและส่งต่อข้อมูลนั้นออกไปท่ีเครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เคร่ืองที่เชื่อมต่ออยู่กับ Hub ทาให้ข้อมูลน้ันถูกส่งไปใน Segment 2 ด้วย แต่ไม่มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ปลายทางอยู่ใน Segment 2 นี้อยู่แล้ว จึงเป็นการทาให้ความหนาแน่นของข้อมูลในเครือข่ายสูงเกิน ความจาเปน็ ซ่ึงเปน็ ขอ้ เสยี ของ Hub 3.12.3 บริดจ์ (Bridge) บริดจ์ ทางานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเช่ือมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้าด้วยกัน โดย Segment เหล่าน้ันจะต้องเป็น เครือข่ายที่ใช้ Data Link Protocol ตัวเดียวกัน และ Network Protocol ตัวเดียวกัน เช่น ต่อ Token Ring LAN (LAN ที่ใช้ Topology แบบริง และใช้โปรโตคอล Token Ring) 2 Segment เข้า ด้วยกัน หรือ ต่อ Ethernet LAN (LAN ท่ีใช้ Topology แบบบัส และใช้โปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เข้าด้วยกัน เป็นต้น Bridge มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะส่งต่อได้ โดยการตรวจสอบว่า ข้อมูลท่ีส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด หากเคร่ือง ปลายทางอยู่ภายใน Segment เดียวกนั กบั เครือ่ งส่ง กจ็ ะส่งข้อมูลนั้นไปใน Segment เดยี วกนั เทา่ น้ัน ไม่ส่งไป Segment อนื่ แต่หากว่าขอ้ มูลมปี ลายทางอยู่ที่ Segment อ่ืน ก็จะส่งข้อมูลไปใน Segment 83

ที่มีเคร่ืองปลายทางอยูเ่ ท่านน้ั ทาให้สามารถจัดการกับความหนาแน่นของข้อมูลได้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น (ภาพท่ี 3.9) ภาพท่ี 3.9 การเช่ือมต่อระหวา่ งเครอื ข่ายดว้ ยบรดิ จ์ ทมี่ า http://bc425.212cafe.com/archive/2007-12-14/network-devices/ http://www.computer.kku.ac.th/tip10.htm 3.12.4 เราเตอร์ (Router) เราเตอร์ ทางานใน Layer ที่ 3 ของ OSI Model เป็นอุปกรณท์ ใี่ ช้เชอื่ มต่อครอื ข่าย 2 เครือข่ายหรือมากกว่าเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการเช่ือม LAN เข้ากับ LAN หรือเช่ือม WAN เข้ากับ WAN หรอื แม้แต่เชือ่ ม LAN เข้ากับ WAN ก็ตาม โดยทเ่ี ครือข่ายน้ันจะต้องใช้ Network Protocol ตัว เดียวกัน แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกันได้ (ต่อ Ethernet LAN เข้ากับ Token Ring LAN ได้) Router สามารถกรองข้อมูลได้เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่าตรงที่สามารถหา เส้นทางในการสง่ แพค็ เกต็ ขอ้ มลู ไปยังเคร่ืองปลายทางได้สนั้ ท่ีสดุ b 3.12.5 สวติ ช์ (Switch) สวิตช์ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ Layer-2 Switch และ Layer-3 Switch ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 3.12.5.1 Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridge ท่ีมี Interface ในการเช่ือมต่อกับ Segment มากขึ้น ทาให้สามารถแบ่งเครือข่าย LAN ออกเป็น Segment ย่อย ๆ เพ่ือประโยชน์ในการบริหารจัดการเครือข่ายได้ดีย่ิงขึ้น และประสิทธิภาพในการ ทางานของ L2 Switch ก็สงู กว่า Bridge ทาใหใ้ นปจั จุบนั นยิ มใชง้ าน L2 Switch แทน Bridge 3.12.5.2 Layer-3 Switch หรือ L3 Switch ก็คือ Router ท่ีได้รับการปรับปรุงให้ มีประสทิ ธิภาพสูงข้นึ แตม่ ีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจดั การกับเครอื ข่ายท่ีมี Segment มาก ๆ ได้ดกี ว่า Router 84

3.12.6 เกตเวย์ (Gateway) เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีเชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าเครือข่าย น้ันจะใช้โปรโตคอลตัวใดก็ตาม เนื่องจากว่า Gateway สามารถแปลงรูปแบบแพ็คเก็ตของโปรโตคอล หนึ่งไปเป็นรูปแบบของอีกโปรโตคอลหนึ่ง เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในเครือข่ายได้ เช่น แปลง รูปแบบแพ็คเก็ตของ TCP/IP ไปเป็น Apple Talk เป็นต้น ทาให้สามารถเช่ือมต่อกับเครือข่ายอ่ืน ๆ ได้อย่างไม่มีข้อจากัด แต่ในปัจจุบันนี้ได้รวมการทางานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทาให้ Router สามารถทางานเป็น Gateway ไดจ้ งึ ไม่จาเปน็ ต้องซื้ออปุ กรณต์ ัวนีอ้ ีกแลว้ บทสรปุ การสอ่ื สารข้อมลู (Data Communications)กระบวนการถา่ ยโอนหรือแปลงเปลย่ี นขอ้ มลู กัน ระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็น ตัวกลางในการส่งข้อมูลเพ่ือให้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันการส่ือสารข้อมูลประกอบไป ด้วยผู้ส่งข้อมูลท่ีมีหน้าท่ีส่งข้อมูลผ่านสื่อนาข้อมูลไปให้ผู้รับข้อมูล โดยใช้โปรโตคอล หรือเรียกว่า ข้อกาหนดท่ีใช้ร่วมกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ การใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีอุปกรณ์สาหรับเช่ือมต่อคือ โมเด็ม เนื่องจากคอมพิวเตอร์รับ-ส่งสัญญาณ แบบดิจิทัล ในขณะที่สายโทรศัพท์เป็นสัญญาณแบบแอนะล็อก โมเด็มจึงมีหน้าที่แปลงสัญญาณ ดิจิทัลที่ออกจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อกและส่งผ่านสายโทรศัพท์ได้ ในทาง กลับกันโมเด็มก็ต้องทาหนา้ ท่ีแปลงสัญญาณที่เปน็ รปู แบบแอนะล็อกใหเ้ ป็นสัญญาณดิจิทัลไดด้ ว้ ย ทิศทางในการรับและส่งข้อมูลมี 3 รูปแบบ คือ 1) การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว 2) การส่งขอ้ มูลแบบสองทิศทางสลบั กัน และ 3) การส่งข้อมูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน โดยมีตวั กลางที่ ใช้เป็นสื่อนาการส่ือสาร 2 ประเภทคือ 1) ส่ือนาข้มูลแบบมีสาย ได้แก่ สายคู่บิดเกียว สายโคแอก เชียล และสายใยแก้วนาแสง และ 2) ส่ือนาข้อมูลแบบไร้สาย ได้แก่ แสงอินฟราเรด สัญญาณ วิทยุ ไมโครเวฟภาคพื้นดนิ และสัญญาณดาวเทียม สว่ นประกอบของการสื่อสารขอ้ มูลโดยทว่ั ไป การสอื่ สารขอ้ มูลมสี ่วนประกอบที่สาคัญดังน้ี 1. ผ้สู ง่ ขอ้ มลู (Sender) คือ สง่ิ ที่ทาหน้าทส่ี ่งขอ้ มูล ไปยงั จดุ หมายทต่ี อ้ งการ 2. ผรู้ บั ขอ้ มลู (Receiver) คือ สงิ่ ท่ที าหนา้ ท่รี บั ข้อมูลท่ถี ูกส่งมาให้ 85

3. ข้อมูล (Data) คือ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องส่งไปยังปลายทาง อาจเป็นข้อมูลภาพ วีดีโอ หรือส่ือ ประสม ข้อมูลท่ีส่งไปจะถูกส่งเข้ารหัส และผ่านสายส่งข้อมูลไปยังปลายทาง ครั้งเม่ือปลายทางได้รับ ข้อมลู แล้วกจ็ ะดาเนนิ การถอดรหัสข่าวสารกลบั ยงั รปู แบบเดิม 4. สื่อกลางนาข้อมูล (Medium) คือ สื่อกลางเปรียบเสมือนถนนลาเลียงข้อมูลไปยัง ปลายทาง ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งแบบสายและแบไร้สาย มสี าย เช่น สายสญั ญาณตา่ งๆ สายโคแอคเชียล สายค่บู ดิ เกลยี ว สายใยแก้ว แบบไรส้ ายเชน่ คลนื่ วทิ ยุ คล่นื อนิ ฟราเรด 5. โปรโตคอล (Protocol) คอื กฏหรือวิธีที่ถกู กาหนดขึน้ เพื่อการสื่อสารข้อมูลซึ่งผู้สง่ ข้อมูล จะตอ้ งส่งขอ้ มูลในรปู แบบตามวิธีการส่อื สารทีต่ กลงไว้กบั ผู้รบั ลักษณะของโครงสร้างที่ใช้ใน การส่ือสารบนเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์มีหลายรูปแบบ ซ่งึ แต่ละรปู แบบจะมขี อ้ ดีและขอ้ เสยี ตา่ งกัน เช่น โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส และโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน จะมีข้อดีคือใช้ สายสัญญาณน้อยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ข้อเสียคือถ้าเครื่องใดเคร่ืองหน่ึงเสียก็จะส่งผลต่อการ สื่อสารด้วยถ้าต้องการใช้งานได้ตามปกติต้องตัดเคร่ืองที่ชารุดออกจากระบบไป ส่วนโครงสร้าง เครือขา่ ยแบบดาว มีข้อดีคอื ถ้าตอ้ งการต่อเชือ่ มเคร่ืองใหม่ก็ทางา่ ยโดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบหรือ หากมีเคร่ืองเสียก็ยังทางานต่อได้ ข้อเสียจะอยู่ที่หัวใจของโครงสร้างนั่นคือ ฮับ เพราะถ้าหากฮับไม่ ทางานก็จะทาให้ทุกเคร่ืองไม่สามารถทางานต่อได้นั้นเอง โครงสร้างอีกลักษณะหนึ่งท่ีมีข้อดีเด่นชัดก็ คือ โครงสร้างแบบเมส คอื สามารถส่งข้อมูลได้อย่างอิสระ ทาให้ส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว แต่ข้อเสีย คือค่าใช้จ่ายสูงมาก และโครงสร้างแบบสุดท้ายคือ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบผสม เป็น การผสมรวมระหว่างโครงสร้างท้ังหมด ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมในแต่ละสภาพการณ์และ ส่งิ แวดล้อมเพอ่ื ให้ได้เครอื ขา่ ยท่ีมปี ระสิทธภิ าพสูงสุดในการสือ่ สาร คาถามทา้ ยหน่วยเรยี น คาถามท้ายบท ตอนท่ี 1 พจิ ารณาข้อความตอ่ ไปนี้วา่ ถูกหรือผิด 1. เครอื ข่ายแบบบสั (bus topology) เป็นรูปแบบเครือขา่ ยที่มีโครงสร้างซบั ซ้อน 2. สถานเี ครือข่ายจะเชอื่ มตอ่ เขา้ กับสายสอื่ สารหลายสายเพ่ือใช้ในการจดั ส่งข้อมูล 3. เครือข่ายแบบวงแหวน (ring topology) เป็นรูปแบบเครือข่ายที่มีการเช่ือมต่อแต่ละ สถานีเข้าด้วยกนั แบบวงแหวน สญั ญาณข้อมลู จะสง่ อยู่ในวงแหวนไปในทศิ ทางเดยี วกัน 86

4. มาตรฐานการเชื่อมต่อเครือข่ายและโพรโทคอลที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ GPRS , CDMA , AMPS และ Bluetooth ซงึ่ สว่ นมากจะทางานร่วมกนั ในการส่ือสารข้อมลู ระบบ เครือขา่ ย 5. ทีพีซี/ไอพี (TCP/IP) เป็นโพรโทคอลที่ใชใ้ นการส่ือสารในระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีการ ระบุผู้รับ - ผู้ส่งในเครือข่าย และจัดการแบ่งเครือข่ายข้อมูลเป็นชิ้นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า แพ็กเกจส่งผา่ นไปในอนิ เทอรเ์ น็ต 6. ไวไฟ (WI-FI) ใช้คลื่นวิทยุความถ่ี 2.4 GHz เป็นส่ือกลางในการติดต่อสื่อสาร ซ่ึงเป็น เทคโนโลยเี ครอื ข่ายแบบไรส้ าย ตามมาตรฐาน IEEE 802.11 7. โมเด็ม (modem) เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่แปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิทัล เพอื่ ใหข้ อ้ มลู สามารถสง่ ผา่ นสายเคเบิลได้ ตอนท่ี 2 จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ระบบเครือขา่ ยคอื อะไร 2. การส่อื สารข้อมูลและเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรม์ ปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร 3. องคป์ ระกอบพื้นฐานของระบบการส่อื สารข้อมลู มีอะไรบ้าง 4. สญั ญาณท่ใี ชใ้ นระบบการสื่อสารแบง่ ออกเป็นกีป่ ระเภท อะไรบา้ ง 5. การถ่ายโอนขอ้ มลู แบบขนาดมวี ิธกี ารอย่างไร 6. รูปแบบการรับ - ส่งขอ้ มลู มอี ะไรบ้างใหอ้ ธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่าง 7. การสง่ สัญญาณขอ้ มูลผ่านสายไฟเบอร์ออปติกมีขอ้ แตกตา่ งจากสายชนิดอืน่ อย่างไร 8. เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์แบง่ ออกเปน็ กีป่ ระเภท อธบิ ายพร้อมยกตวั อย่าง ตอนท่ี 3 จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องทสี่ ุด 1. ข้อใดเป็นหนา้ ท่ขี องเราเตอร์ ก. เชื่อมโยงในเครอื ขา่ ย ข. มาตรฐานในการส่งข้อมูล ค. ปลอ่ ยสญั ญาณไวไฟ ง. ปรับโปโตคอลทแี่ ตกตา่ งกนั ใหส้ ือ่ สารกันได้ 2. ฮับท่ใี ช้งานอย่ภู ายใตม้ าตรฐานการรบั สง่ แบบใด ก. แบบอีเทอรเ์ น็ต หรือ IEEE802.1 ข. แบบอเี ทอร์เนต็ หรอื IEEE802.2 87

ค. แบบอเี ทอร์เน็ต หรอื IEEE802.3 ง. แบบอเี ทอร์เน็ต หรอื IEEE802.4 3. ข้อใดบอกความหมายของโปโตคอลได้ถกู ต้องท่ีสดุ ก. คอมพิวเตอร์หรอื อุปกรณเ์ ครอื ขา่ ย ข. การตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างเครือขา่ ย ค. ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์สองตัวใน ง. ข้อตกลงในการส่ือสารระหว่างอุปกรณ์ต่างๆใน เครอื ขา่ ย เครือขา่ ย 4. โปรโตคอลใดใช้เป็นหลกั ฐานข้อมลู แปลงโดเมนเนมไปเป็นตัวเลข IP ก. UDP ข. DNS ค. DHCP ง. WINS 5. ไอพีแอดเดรส เปรียบเสมือนสิ่งใดของบ้าน ก. เสาบา้ น ข. รวั้ บา้ น ค. หลังคาบา้ น ง. ที่อยู่ของบา้ น 6. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกบั Client/Server ก. สถาปัตยกรรมซอปตแ์ วร์ ข. ซอฟแวร์ในการติดต่อไปยงั ผ้ใู ห้บรกิ าร Server ค. การทีม่ ีเคร่อื งผ้ใู ช้บรกิ าร (Server) และผ้ใู หบ้ ริการ (Client) เชื่อมต่อกันอยู่ ง. การทม่ี เี ครอ่ื งผูใ้ ช้บรกิ าร (Server) และผูใ้ ช้บรกิ าร (Client) เชอ่ื มตอ่ กันอยู่ 7. ตัวกลางในการนาข้อมูลแบบมีสายท่ีทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอลเม่ือ ข้อมลู ถกู ส่งมายงั ผรู้ บั และแปลงสัญญาณดิจิตอลให้เปน็ อนาล็อก คือ ก. เราเตอร์ (Router) ข. เครอ่ื งทวนสัญญาณ (Repeater) ค. การ์ดเครือขา่ ย หรือการด์ LAN ง. โมเด็ม (Modem) 8. ข้อใดคือความหมายของ ไอพแี อดเดรส ก. ตัวเลขหลกั 4 ชดุ ทีค่ ่นั ดว้ ยจดุ ข. การกาหนดเลขหมายของอปุ กรณท์ กุ ชิ้นในเครือขา่ ย ค. การกาหนดเลขหมายของอปุ กรณท์ กุ ชนิ้ ในเครือข่ายด้วยตวั เลขหลกั 4 ชุด ง. .การกาหนดเลขหมายของอุปกรณท์ กุ ชน้ิ ในเครอื ข่ายดว้ ยตัวเลขหลกั 4 ชุดทคี่ ัน่ ด้วยจดุ 9. เหตใุ ดจึงจาเปน็ ต้องมีการกาหนดเลขหมายของอปุ กรณ์ทุกชิ้นในเครือข่าย ก. เพอ่ื เกิดการสง่ ขอ้ มูลได้อย่างถกู ต้องแมน่ ยา ข. เพือ่ เกดิ การส่งข้อมลู ได้อย่างถกู ต้องแม่นยา ค. เพื่อเกดิ การอา้ งองิ โดยไมช่ า้ กนั จะไดส้ ง่ ข้อมลู ได้อย่างรวดเร็ว ง. เพื่อเกิดการอา้ งองิ โดยไม่ชา้ กนั จะไดส้ ง่ ขอ้ มลู ได้อยา่ งถูกต้องแม่นยา 88

10. Client/Server แบบใดที่ผู้ให้บริการจะบริการฐานข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่อยู่บน Server การเชอื่ มโยงแบบหลายจดุ ก. Stand- alone Client/Server ข. Department Client/Server ค. Enterprise Client/Server ง. Enterprise/ Stand-alone Client/Server เอกสารอ้างอิง กิตติ ภักดีวัฒนะกุล .2546.คัมภีร์ระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : เคที่พี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. 608 หนา้ ณาตยา ฉาบนาค. 2005. ระบบสารสนเทศเพือ่ การส่ือสาร. กรุงเทพ: เอส.พ.ี ซี.บคุ๊ ส์, บจก. 322 หน้า. นรรัตน์ วัฒนมงคล. 2561 . การสอื่ สารข้อมลู และ เครอื ข่าย. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . 379 หนา้ http://bc425.212cafe.com/archive/2007-12-14/network-devices/ http://www.computer.kku.ac.th/tip10.htm http://csmju.jowave.com/cs100_v2/lesson4-4.html 89


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook