Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทเรียนวิชาศิลปะ-ดนตรี 01

บทเรียนวิชาศิลปะ-ดนตรี 01

Published by jhonnee0800303436, 2021-03-27 18:52:43

Description: บทเรียนวิชาศิลปะ-ดนตรี 01 เรื่อง ดนตรีพิ้นบ้านภาคเหนือ

Keywords: ดนตรีพิ้นบ้านภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

คานา ดนตรีพ้ืนบา้ นเปน็ เสียงดนตรีท่ีถา่ ยทอดกันมาด้วยวาจาซ่ึงเรียนรู้ผ่านการฟังมากกว่าการอ่านและเป็น สงิ่ ท่พี ดู ต่อกันมาแบบปากต่อปากโดยไม่มีการจดบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรจึงเป็นลักษณะการสืบทอดทาง วฒั นธรรมของชาวบา้ นตง้ั แต่อดีตเร่อื ยมาจนถึงปัจจบุ ันซึ่งเป็นกิจกรรมการดนตรีเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด จากการทางานและช่วยสร้างสรรค์ความร่ืนเริงบันเทิงเป็นหมู่คณะและชาวบ้านในท้องถิ่นน้ันซึ่งจะทาให้เกิด ความรักสามัคคีกันในท้องถ่ินและปฏิบัติสืบทอดต่อมายังรุ่นลูกรุ่นหลาน จนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางพื้นบ้าน ของท้องถน่ิ น้นั ๆ สืบตอ่ ไป นายนุตพิ งษ์ จุ้ยมณี ผจู้ ดั ทา

วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ ศึกษาประวัตคิ วามเปน็ มาของดนตรพี นื้ บ้านภาคเหนือ 2. เพือ่ ปลูกฝังเอกลักษณท์ างดนตรพี ื้นบ้านภาคเหนือใหค้ นร่นุ ใหม่สืบทอดต่อไป 3. เพอ่ื ศึกษาลักษณะของดนตรพี ้นื บา้ นภาคเหนือ เนื้อหาสาระ ดนตรีพืน้ บา้ นภาคเหนอื มีพ้นื ทคี่ รอบคลุม ๙ จังหวัดโดยจะเรียกดินแดนแถบน้วี า่ “ล้านนา” โดยมจี งั หวดั เชยี งใหมเ่ ปน็ ศนู ยก์ ลางของภาค เคร่ืองดนตรีและวงดนตรี ลักษณะเดน่ ของดนตรีพืน้ บา้ นภาคเหนือ คอื • มกี ารนาเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี และเปา่ มาผสมวงกัน • สาเนยี งและทานองเพลงมคี วามพล้วิ ไหว อ่อนหวาน นุ่มนวล • ผสมผสานวฒั นธรรมชนเผา่ แวะวัฒนธรรมในคมุ้ และวงั จนกลายเป็นดนตรีพืน้ บ้านที่มีเอกลกั ษณ์ เฉพาะถน่ิ • วงดนตรีพ้นื บา้ นมอี ยหู่ ลายวงเชน่ วงสะลอื ซอซง้ึ วงสะลือ ซึงขล่ยุ วงกลองสะบัดชัย เปน็ ต้น • เคร่อื งดนตรีมีอยู่หลายชนิด เชน่ พณิ สะลือ ซงึ กลองปูเจ่ กลองสะบัดชัย ตะโล้ดโป๊ด เปน็ ตน้ องค์ประกอบของดนตรีและบทเพลง • จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรี วงดนตรี ท านองเพลงที่ปรากฏลลี าไพเราะ มีการประสานเสียง ระหว่างดนตรีและผู้ขบั ร้อง มีสสี ันและมคี วามแตกต่างกนั ไปตามแต่ละกลมุ่ วัฒนธรรมดนตรี บทเพลงทร่ี จู้ ักกัน ทัว่ ไป เช่นเพลงล่องน่าน เพลงสาวไหม เพลงแมห่ มา๊ ยค้อม เพลงตนี ตมุ้ เพลงซอพมา่ เปน็ ตน้ สาเนยี ง ภาษา และเนอ้ื รอ้ ง มสี าเนยี งทไี่ พเราะ อ่อนหวาน นุ่มนวล โปรง่ สบาย และเนบิ ช้า • มีการบรรเลงดนตรที ี่มีจังหวะตน่ื เตน้ คึกคกั เช่น การบรรเลง วงกลองแอว ประกอบการฟอ้ นเล็บ มี จงั หวะและทานองทนี่ ุ่มนวล การบรรเลงวงกลองสะบดั ชัยใหค้ วามร้สู ึกตน่ื เตน้ เร้าใจ เป็นต้น

ประเภทของวงดนตรพี ื้นเมอื งเหนือ วงสะล้อ-ซงึ ( วงสะล้อ ซอ ซึง ) เป็นวงที่มีเสียงจากเครื่องสายเป็นหลัก นิยมใช้เล่นกันตามท้องถิ่น ภาคเหนอื ท่วั ไป จานวนเครื่องดนตรที ีใ่ ชป้ ระสมวงไมแ่ นน่ อน แตจ่ ะมีสะลอ้ และซงึ เปน็ หลักเสมอ มีเครื่องดนตรี อน่ื ๆท่ี เข้ามาประกอบ เช่น ป่ีกอ้ ยหรอื ขลยุ่ กลองเต่งถ้ิง ฉ่ิง ฉาบ ใช้บรรเลงเพลงพน้ื บา้ นที่ไม่มีการขับร้อง เช่น เพลงปราสาทไหว เพลงลอ่ งแมป่ ิง เป็นตน้ และสามารถใชบ้ รรเลงเพลงสมัยใหม่กไ็ ด้ วงสะล้อ-ซงึ ( วงสะลอ้ ซอ ซึง )

วงปี่ชมุ ( ปี่จุม ) เปน็ วงดนตรีทีใ่ ชเ้ ล่นประกอบการแสดง“ซอ”ของภาคเหนอื มีป่เี ป็นชดุ ซ่งึ มี๓แบบคอื ป่ชี มุ ๓ปี่ชมุ ๔และปี่ชมุ ๕ ป่ชี ุม ๓ หมายถึง การใชป้ ่ี ๓ ขนาด เป่าประสานเสียงกนั ไดแ้ ก่ ป่แี ม่ ป่ีกลางและปี่ก้อย ปชี่ ุม ๔ หมายถึง การใช้ปี่ ๔ ขนาด เปา่ ประสานเสยี งกัน ไดแ้ ก่ ปแ่ี ม่ ปี่กลาง ป่กี ้อยและป่ีตัด(ป่เี ลก็ ) ปี่ชุม ๕ หมายถึง การใช้ปี่ ๕ ขนาด เป่าประสานเสียงกัน โดยเพม่ิ ปี่ขนาดเลก็ สุดเข้ามาอีกหนงึ่ เลา แต่โดยปกติไมค่ ่อยนยิ มกนั เพราะใชป้ ช่ี ุม๓หรอื ชมุ ๔ก็ได้เสียงประสานกนั ท่ไี พเราะอยู่แลว้ ต่ำแหนง่ กำรจดั วงแบบ ป่ีชมุ ๔ ป่ีกอ้ ย ปี่กลำง ชำ่ งซอหญิง ปี่เล็ก ชำ่ งซอชำย ปี่แม่ ซงึ

วงแหก่ ลองตึ่งโนง ( กลองแอว ) กลองตึง่ โนง โดยปกตจิ ะบรรเลงร่วมกบั กลองตะหลดปด ฉาบ และฆ้อง โดยตเี ปน็ เคร่ืองประกอบ จงั หวะ ซ่ึงในบางโอกาสทต่ี ้องการความอลงั การ กม็ ักใช้เคร่ืองเป่าที่มเี สียงดงั ประกอบดว้ ยน่ันคอื แน ซง่ึ มีสอง เลา ไดแ้ ก่ แนน้อย และแนหลวง บางครง้ั การประสมวงอาจจะมกี ารเพม่ิ เครอื่ งประกอบจังหวะ และชอื่ เรยี ก เปลี่ยนไปตามความนิยมของทอ้ งถ่นิ ดงั นี้ วงกลองต่ึงโนง ประกอบด้วย กลองต่ึงโนง กลองตะหลดปด ฆ้องโมง ฆ้องอยู สวา่ (ฉาบใหญ่) แนน้อย และแนหลวง วงกลองเปิ้งโมง ประกอบด้วย กลองต่ึงโนง กลองตะหลดปด ฆ้องโมงประมาณ ๓-๕ ใบ ฆ้องอยู (ฆ้อง หยุ่ ) สว่า แนนอ้ ย และแนหลวง วงต๊กเส้ง ประกอบดว้ ย กลองตง่ึ โนง กลองตะหลดปด ฆ้องโมง ฆ้องอยู แนนอ้ ย แนหลวง และฉง่ิ วงกลองอดื ประกอบด้วย กลองต่งึ โนง กลองตะหลดปด ฆ้องโมง ๓-๕ ลกู ฆ้องอูย แนน้อย แนหลวง พานหรือผ่าง (ฆอ้ งไมม่ ปี ่มุ ) และฉ่ิง

วงกลองสะบัดชัย บทบาทและหนา้ ทเ่ี ดิมของ กลองสะบัดชยั ในสมยั กอ่ นใชต้ ตี อนออกรบ ทานองท่ใี ชใ้ นการตี มี ๓ ทานอง คือ ชยั เภรี, ชัยดิถี และชนะมาร นอกจากการนัน้ กลองสะบดั ชัยยงั มหี นา้ ท่ตี ีเพ่ือความรน่ื เรงิ ในงาน ตา่ งๆ สาหรับ กษตั รยิ ห์ รือเจา้ เมอื ง ต่อมานามาตีใหช้ าวบ้านรับรู้พิธขี องศาสนา ในงานบุญ ต่างๆ จังหวะใน การตแี บบเดิมที่ตีอยกู่ ับทใี่ นหอกลองของวัดมลี กั ษณะตา่ ง ๆ กนั ตามโอกาสดงั นี้ ๑ ตเี รียกคน เช่นมีงานประชุมหรอื งานของสว่ นรวมทตี่ ้องชว่ ยกันทา ลักษณะน้ีจะตีเฉพาะกลองใหญ่ โดยเริ่มจังหวะชา้ และเรง่ เรว็ ขึน้ ๒ ตบี อกเหตฉุ ุกเฉนิ เช่นไฟไหม้ ไลข่ โมย จะตเี ฉพาะกลองใหญแ่ ละมีจังหวะเรง่ เรว็ ติด ๆ กัน ๓ตีบอกวันพระ วันโกน ลักษณะน้ีจะตีท้ังกลองใหญแ่ ละลูกตุบ(กลองใบเล็ก) มีฉาบและฆ้องประกอบ จังหวะดว้ ย จังหวะหรอื ทานองในการตที ่ีเรยี กว่า ' ระบา' มี ๓ ทานองคือ ๓.๑ ปูชา ( ออกเสียง-ปู๋จา) มจี งั หวะชา้ ใชฆ้ ้องโหมง่ และฆ้องหยุ่ ประกอบ ๓.๒ สะบัดชยั มจี งั หวะปานกลาง ใช้ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย และฆ้องเลก็ ประกอบ ๓.๓ ลอ่ งน่านมีจงั หวะเรว็ ใช้ฆ้องเล็กประกอบ

การประสมวงกลองมองเซิง กลองมองเซิง คอื กลองที่ขึงด้วยหนังทั้งสองหนา้ มีสายโยงเร่งเสยี ง รูปรา่ งคล้ายตะโพนมอญ ไม่มีขาตัง้ แต่มี สายรอ้ ยสาหรบั คล้องคอเวลาตี เฉพาะคาว่า “ มองเซิง” เป็นภาษาไทใหญ่โดยที่ คาวา่ “ มอง” แปลว่า “ ฆ้อง” สว่ น“ เซิง” แปลว่า “ ชุด” กลองมองเซิงจึงหมายถงึ กลองที่ใชฆ้ อ้ ง เปน็ ชดุ เพราะวงกลองมองเซิงจะ เนน้ เสยี งฆอ้ งเป็นหลักใหญ่ การประสมวงกลองมองเซิง ใชก้ ลองมองเซิง ๑ ลูก ฉาบขนาดใหญ่ ๑ คู่ ฆอ้ งขนาดใหญแ่ ละเล็ก ลดหล่นั ลงไปประมาณ ๕-๙ ใบ ขณะบรรเลงกลองมองเซิงจะตรี บั กบั ฉาบ โดยลักษณะอาการ ลอ้ ทางเสียง แบบหลอกล่อกนั ไป ในขณะที่มีเสยี งฆอ้ งเป็นตัวกากบั จงั หวะซ่งึ มีบางแห่งเพ่มิ ฉ่ิงตกี ากับจังหวะไปพรอ้ มๆกบั ฆอ้ งด้วย

วงกลองปเู จ่ ประกอบด้วยกลองปเู จ่ ฉาบใหญ่และฆอ้ งชดุ ซง่ึ มีขนาดตา่ งๆ กนั ๓ ใบ มเี สียงไลร่ ะดับกนั วง กลองปเู จ่ เป็นวงดนตรีแบบของชาวไทใหญ่ นิยมใช้บรรเลงประกอบ การแห่ครัวทาน ประกอบการฟ้อนดาบ ฟอ้ นโต ถ้าเป็นการบรรเลงโดยท่ีไม่ได้ใช้ประกอบ การแสดงอะไร มกั มลี ลี าการตโี ดยใชท้ ้ังศอก เข่า และเทา้ พร้อมกบั แสดงทา่ ทางหยอกล้อ ระหว่างผทู้ ี่ตฉี าบกบั กลอง วงกลองเตง่ ถ้ิง ( ปา้ ดก๊อง ) หรือมีช่ือเรยี กอีกหลายชอ่ื ว่า วงพาทย์ วงพาทย์ค้อง (อ่าน “ ป้าดก๊อง ” ) หรือ วงแห่ (ศพ) เป็นตน้ สามารถ เปรียบไดก้ ับ “ วงปีพ่ าทย์มอญ ” แบบของภาคกลางน่ันเอง เครอ่ื งดนตรีประกอบดว้ ย พาทยเ์ อก (ระนาด ไม้เอก) พาทย์ทุ้ม ( ระนาดไม้ทมุ้ ) พาทย์เหลก็ (ระนาดเหล็ก) พาทยค์ ้อง (ฆ้องวง) กลองเตง่ ถ้ิง ( ตะโพนมอญ) หรอื กลองโปง่ ป้ง กลองตดั (กลองขนาดเล็ก) แนหลวง แนน้อย ฉ่งิ สว่า (ฉาบ) และกรบั นยิ มบรรเลงในการชก มวย งานศพ งานทรงเจา้ และในงานฟ้อนผีมด-ผเี มง วงกลองเตง่ ถิ้งชาวลาปางเรียกวงปี่พาทย์พื้นบา้ นของตน วา่ วงพาทย์บางครง้ั เรียกวา่ วงกลองท่ึงทงั อันเป็นการเรยี กตามเคร่ืองดนตรคี ือกลองท่ึงทังหรอื ตะโพนมอญซ่งึ เปน็ เคร่อื งชิน้ เดน่ ในวงท่ีใหเ้ สียงกระหึม่ กังวานไดย้ ินในระยะไกล

สรปุ ดนตรเี ป็นเครอ่ื งมือส่อื สารและสอ่ื ความหมายอย่างดยี ่งิ ประเภทหนึง่ รองลงมาจากภาษา ทุกท้องถิน่ ท่วั โลกจงึ มีดนตรแี ละภาษาเป็นของตนเอง หากเราได้มีโอกาสศึกษาอยา่ งถ่องแท้ จะทราบได้ว่า ทง้ั ภาษาและ ดนตรมี แี หล่งกานิดจากท่ีเดยี วกนั เมอ่ื แพรห่ ลายกว้างขวางออกไปมากยง่ิ ขน้ึ จงึ เร่ิมเกดิ ความแตกต่างเป็น ดนตรเี ฉพาะถนิ่ หรือภาษาถ่ิน ดนตรีพ้ืนถิน่ ภาคเหนือก็เป็นอีกวัฒนธรรมทสี่ ืบทอดกนั มาอยา่ งยาวนาน จนไดเ้ กิดเปน็ วงดนตรี ภาคเหนอื มากมาย วงสะล้อ-ซงึ วงปีช่ ุม วงแหก่ ลองต่ึงโนง วงกลองสะบัดชยั การประสมวงกลองมองเซิง วงกลองปูเจ่ วงกลองเตง่ ถิ้ง ซ่ึงวงดนตรีเหล่านเ้ี กิดจากการขัดเกลาของวิถวี ิชวี ิต เปน็ ส่งิ ควรคา่ แก่การเรยี นรู้ และอนุรักษ์ไวต้ อ่ ไป วงดนตรพี ื้นเมืองและนกั ดนตรีพื้นเมืองแต่ละท้องถ่ินนัน้ นิยมบรรเลงกนั ตามทอ้ งถิน่ และยดึ เป็น “อาชพี รอง”ยงั คงเล่นดนตรีแบบดง่ั เดมิ ทานองเพลง ระเบียบวินัย และวิธกี ารเล่น จึงไม่ตรงตามหลกั สากล จดุ บกพร่องเหลา่ นถี้ ือเปน็ เอกลักษณ์ท้องถ่ินทีน่ ่าศกึ ษา

ท่มี าของเนือ้ หา - shorturl.asia/QU36O - shorturl.asia/gHKko เนอื้ หา - shorturl.asia/fNJQP - http://sarosung.blogspot.com/2016/07/ รปู ภาพ - shorturl.asia/WCgfx - shorturl.asia/7HdKF - shorturl.asia/C15VY - shorturl.asia/C15VY

ผูจ้ ัดทา นายนตุ ิพงษ์ จุ้ยมณี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศิลปะ – ดนตรี ปจั จุบันเป้นครูผู้สอนอยทู่ ่ี โรงเรียนหวัวเฉียว จังหวดั อุตรดิตถ์ ตดิ ต่อ/สอบถาม 0800571655


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook