Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual Report 2020

Description: รายงานประจำปี 2020

Keywords: รายงานประจำปี 2020

Search

Read the Text Version

2020 ANNUAL REPORT รายงานประจำป‚ 2563 สำนกั พฒั นาระบบและรับรองมาตรฐานสินคา ปศุสัตว Bureau of Livestock Standards and Certification



รายงานประจำำ�ปีี 2563 ANNUAL REPORT 2020 สำ�ำ นัักพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ Bureau of Livestock Standards and Certification

คำำ�นำำ� PREFACE สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ไ์ ด้ส้ ร้า้ งความมั่น� ใจในการบริโิ ภคสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ แก่่ประชาชนทั้�้งในไทยและต่่างประเทศมาโดยตลอด ด้้วยการดำ�ำ เนิินการควบคุุม รัับรอง ตรวจสอบ และ ติดิ ตามฟาร์์มเลี้ย้� งสััตว์์ โรงฆ่่าสัตั ว์์ โรงงานส่่งออกสินิ ค้า้ ปศุุสัตั ว์์ และโรงงานที่่�ผลิิตสิินค้้าที่่�เกี่�ยวข้อ้ ง ส่ง่ เสริมิ ให้้เกิิดมาตรฐานทางด้้านสิ่่�งแวดล้้อม การควบคุุมโรคระบาด สนัับสนุุนการวิิจััย และพััฒนา พร้้อมทั้�้งให้้ คำำ�ปรึึกษา และถ่่ายทอดเทคโนโลยีีให้้แก่่ผู้�้ประกอบการ รวมถึึงประสานความร่่วมมืือกัับต่่างประเทศ เพื่่�อให้้เกิิดการพััฒนาและยอมรัับในระดัับสากล การจััดทำ�ำ หนัังสืือรายงานประจำ�ำ ปีี 2563 จึึงได้้นำำ�เสนอ ผลการดำ�ำ เนินิ งานที่่ผ� ่า่ นมาตลอดทั้ง้� ปีี 2563 ซึ่ง�่ แสดงให้เ้ ห็น็ ว่า่ การดำำ�เนินิ งานของเราทำ�ำ ให้ส้ ินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ไ์ ทย ได้ร้ ับั ความเชื่�อมั่�น ด้ว้ ยมาตรฐานและคุุณภาพอย่่างต่่อเนื่่อ� งและยั่ง� ยืนื หวัังเป็็นอย่่างยิ่�งว่่าหนัังสืือรายงานประจำำ�ปีี 2563 ของสำ�ำ นัักพััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐาน สิินค้้าปศุุสััตว์์เล่่มนี้้� จัักเป็็นประโยชน์์ในการศึึกษาและอ้้างอิิงแก่่ท่่านผู้�้ อ่่าน และขอขอบพระคุุณเจ้้าหน้้าที่่� ทั้�้งภาครััฐ และเอกชนทุุกท่า่ นที่่ใ� ห้ค้ วามร่ว่ มมืือและสนัับสนุนุ จนทำ�ำ ให้้หนังั สืือเล่ม่ นี้้�ประสบผลสำำ�เร็็จด้้วยดีี

สารบััญ CONTENTS 1. คณะผู้บ้� ริิหาร 5 2. วิิสัยั ทััศน์์ พันั ธกิจิ ยุทุ ธศาสตร์ ์ 6 3. โครงสร้้างการบริิหารงาน 7 4. อััตรากำ�ำ ลััง – งบประมาณปีี 2563 8 5. บทความวิิชาการ 9 • การสูญู เสียี อาหาร (food loss) 10 • แนวทางการจััดทำ�ำ ระบบ GMP & HACCP 12 6. กิจิ กรรม/โครงการสำ�ำ คััญปีงี บประมาณ 2563 13 • การตรวจรัับรองการปฏิิบัตั ิทิ างการเกษตรที่่�ดีีด้า้ นปศุสุ ัตั ว์์ (GAP) 15 • สััตวแพทย์์ผู้ค้� วบคุมุ ฟาร์ม์ เลี้�ย้ งสัตั ว์ ์ 17 • การรับั รองการปฏิิบัตั ิทิ างการเกษตรที่่ด� ีสี ำ�ำ หรับั ฟาร์ม์ จิ้ง� หรีดี 18 • การรัับรองการปฏิิบัตั ิทิ างการเพาะเลี้�้ยงสัตั ว์ท์ ี่่�ดีีสำำ�หรัับคอกสุุนััข คอกแมว 19 • การรับั รองการปฏิิบัตั ิทิ ี่่ด� ีีสำ�ำ หรับั ปางช้้าง 20 • ระบบคอมพาร์ท์ เมนต์ส์ ััตว์ป์ ีีกปลอดโรคไข้ห้ วััดนก 22 • ปศุสุ ััตว์อ์ ินิ ทรีีย์์ (organic livestock) 23 • โครงการฟาร์์มรัักษ์ส์ิ่�งแวดล้อ้ ม 24 • การควบคุมุ โรงฆ่่าสััตว์์ภายในประเทศ 29 • การรับั รองมาตรฐานการผลิติ ของโรงฆ่่าสััตว์แ์ ละโรงงานผลิิตผลิติ ภัณั ฑ์์ปศุสุ ัตั ว์์เพื่อ่� การส่่งออก 32 • การรัับรองการผลิติ โรงงานผลิิตผลิิตภัณั ฑ์อ์ าหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งเพื่่�อการส่ง่ ออก 36 • การตรวจสอบโรงฆ่่าสัตั ว์แ์ ละโรงงานแปรรููปเพื่่อ� การส่ง่ ออกและการดำำ�เนิินงาน 38 • การตรวจสอบโรงงานผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์์อาหารสัตั ว์์เลี้�ย้ งเพื่อ่� การส่ง่ ออก (Pet food) 43 • การตรวจสอบและเฝ้้าระวังั สารตกค้า้ ง พ.ศ. 2563 (Residue Monitoring Plan) 49 • โครงการพััฒนาและส่่งเสริิมอุุตสาหกรรมฮาลาลด้า้ นปศุสุ ััตว์ ์ 52 • การปฏิบิ ัตั ิิที่่�ดีสี ำ�ำ หรับั ศูนู ย์์รวบรวมไข่่ 54 • การรัับรองการปฏิิบััติทิ ี่่�ดีี (GMP) สำ�ำ หรัับศููนย์ร์ วบรวมน้ำำ�� นมดิิบ 55 • โครงการไข่่สดปลอดภัยั ใส่่ใจผู้้�บริิโภค (ไข่่ OK) 58 • โครงการเนื้้อ� สััตว์ป์ ลอดภััย ใส่่ใจผู้�้บริโิ ภค (ปศุุสััตว์์ OK) 60 • การรัับรองสินิ ค้้าปศุสุ ััตว์์ (Q mark) • โครงการรัักษาเสถียี รภาพราคาไข่่ไก่ป่ ีี 2563

สารบััญ CONTENTS 7. การพััฒนาองค์ก์ ร • การประสานความร่ว่ มมืือระหว่่างประเทศ 61 • การอบรมสััมมนา 62 • งานวิชิ าการประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2563 67 8. สถิติ ิทิ ี่เ่� กี่�ย่ วข้้อง • สถิติ ิเิ ปรีียบเทีียบจากจำำ�นวนฟาร์์มมาตรฐานทั่่�วประเทศ ปีี 2554-2563 68 • สถิติ ิเิ ปรียี บเทียี บจำำ�นวนสถานประกอบการที่่�ได้้รับั รองปศุสุ ัตั ว์อ์ ินิ ทรียี ์ ์ ปีี 2559-2563 69 • สถิติ ิิเปรีียบเทียี บจำำ�นวนโรงฆ่่าสััตว์ภ์ ายในประเทศ ปีี 2559 - 2563 70 • สถิติ ิเิ ปรียี บเทียี บจำำ�นวนสถานประกอบการที่่�ได้้รับั รอง Q mark เพื่�อ่ การจำ�ำ หน่า่ ยในประเทศ ปีี 2558 - 2563 72 • สถิติ ิเิ ปรีียบเทียี บจำ�ำ นวนสถานประกอบการเพื่�่อการส่ง่ ออก ปีี 2559 – 2563 73 • สถิติ ิกิ ารรับั รองโรงงานผลิิตอาหารสัตั ว์เ์ ลี้�้ยงเพื่�่อการส่่งออกอยู่�ในการควบคุมุ ของสพส. ตั้้�งแต่ป่ ีี 2560 – 2563 74 • ปริมิ าณและมูลู ค่่าการส่ง่ ออกเนื้้�อสััตว์แ์ ละผลิติ ภััณฑ์เ์ นื้้�อสััตว์แ์ ปรรูปู รายประเทศ ปีี 2559 – 2563 75 • ปริมิ าณและมูลู ค่า่ การส่ง่ ออกเนื้้�อสััตว์แ์ ละผลิติ ภััณฑ์เ์ นื้้�อสัตั ว์แ์ ปรรููป รายเดืือน ปีี 2563 78 • ปริิมาณและมูลู ค่่าการส่ง่ ออกเนื้้�อสััตว์แ์ ละผลิิตภััณฑ์์เนื้้�อสััตว์์แปรรููป ปีี 2563 79 • ปริมิ าณและมูลู ค่่าการส่่งออกสิินค้้าปศุุสััตว์์แปรรูปู กลุ่�มอาหาร Non – Frozen ปีี 2559 – 2563 81 • ปริิมาณและมูลู ค่า่ การส่่งออกสินิ ค้า้ ปศุุสัตั ว์แ์ ปรรููปกลุ่�มอาหาร Non – Frozen ปีี 2563 82 • ปริมิ าณและมูลู ค่่าการส่่งออกอาหารสััตว์์เลี้�้ยง (Pet Food) ปีี 2563 84 • สถิติ ิกิ ารส่่งออกสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์ฮ์ าลาล (GCC) ปีี 2559 – 2563 85

รายงานประจำำ�ปีี 2563 5 คณะผู้้�บริิหาร นายโสภัชั ย์์ ชวาลกุลุ ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นักั พััฒนาระบบ และรัับรองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุุสัตั ว์์ นางธนิิดา หรินิ ทรานนท์์ นางสาวคชาภรณ์์ เต็็มยอด ผู้้�เชี่่�ยวชาญด้้านมาตรฐานการปศุสุ ัตั ว์ร์ ะหว่า่ งประเทศ ผู้�้เชี่ย่� วชาญด้้านพัฒั นาระบบและรับั รองคุุณภาพเนื้อ้� สัตั ว์์ และผลิติ ภัณั ฑ์์สัตั ว์์ นายอนุชุ า มุุมอ่่อน นายอภิินันั ท์์ คงนุรุ ััตน์์ นายพััฒน์พ์ งษ์์ โลหะอนุกุ ููล นายอุดุ ม จัันทร์์ประไพภัทั ร ผู้อ�้ ำำ�นวยการ ผู้อ้� ำำ�นวยการ ผู้้�อำ�ำ นวยการ ผู้อ้� ำำ�นวยการ กลุ่ �มตรวจสอบมาตรฐาน กลุ่�มรัับรองด้้านการปศุุสัตั ว์์ กลุ่�มควบคุมุ โรงฆ่า่ สััตว์ภ์ ายในประเทศ กลุ่ �มมาตรฐานด้้านการปศุุสััตว์์ ด้้านการปศุสุ ััตว์์ นายมารุุต เชีียงเถีียร นายมารุุต เชียี งเถีียร นายโอฬาร กิจิ ปรีีดาบริสิ ุุทธิ์์� นางสาวธนวรรณ หอมกระจาย ผู้อ�้ ำำ�นวยการ ผู้้�อำำ�นวยการ ผู้้�อำ�ำ นวยการ หััวหน้้าฝ่่าย กลุ่�มพัฒั นาสินิ ค้้าปศุสุ ััตว์์ฮาลาล กลุ่�มบริิหารจัดั การข้้อมููล กลุ่�มมาตรฐานสิ่ง� แวดล้้อมด้้านการปศุสุ ััตว์์ ฝ่า่ ยบริิหารทั่่ว� ไป ด้้านมาตรฐานการปศุสุ ััตว์์ หมายเหตุุ ข้อ้ มููล ณ วัันที่่� 1 มกราคม 2564 สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

6 Annual Report 2020 วิิสััยทััศน์์ พัันธกิจิ ยุทุ ธศาสตร์์ วิสิ ัยั ทัศั น์์ สำำ�นักั พััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุสุ ััตว์เ์ ป็น็ องค์ก์ รชั้�นนำำ�ในการตรวจสอบและรัับรอง สินิ ค้้าปศุุสัตั ว์อ์ ย่า่ งมีีธรรมาภิิบาลที่่ไ� ด้้รับั ความเชื่อ� มั่�นจากผู้บ�้ ริโิ ภคในระดับั สากล พันั ธกิิจ 1. ดำำ�เนิินการตามกฎหมายสำ�ำ หรัับการปศุุสัตั ว์แ์ ละข้้อตกลงอื่�นๆ ที่่�เกี่�ยวข้อ้ ง 2. ศึึกษา ค้น้ คว้า้ วิิจัยั เพื่่อ� พัฒั นาและกำำ�หนดมาตรฐานการผลิิตสินิ ค้า้ ปศุุสััตว์์ ฟาร์์มปศุสุ ััตว์์ โรงฆ่า่ สัตั ว์์ สิ่ง� แวดล้อ้ มปศุุสัตั ว์แ์ ละกระบวนการอื่�นๆ ที่่�เกี่ย� วข้อ้ ง  3. พััฒนาระบบประกัันคุุณภาพ รับั รองตรวจสอบคุุณภาพสินิ ค้้า ระบบการผลิติ ปศุสุ ััตว์์ และสิ่�งแวดล้อ้ ม ปศุสุ ัตั ว์ใ์ ห้้เป็น็ ไปตามมาตรฐานที่่ก� ำ�ำ หนด 4. ประสานงานประเทศคู่่�ค้า้ เกี่ย� วกับั กฎระเบีียบการนำำ�เข้า้ ส่่งออกสิินค้้าปศุุสัตั ว์ ์ 5. วิเิ คราะห์์ความเสี่�ยงและระบบเตืือนภัยั ด้า้ นความปลอดภัยั และสุขุ อนามััยสินิ ค้า้ ปศุุสััตว์์ทั้้ง� ระบบ 6. ให้้คำ�ำ ปรึกึ ษา แนะนำำ� และถ่่ายทอดเทคโนโลยีีการพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุสุ ัตั ว์์ ยุทุ ธศาสตร์์ สำำ�นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุุสััตว์เ์ ป็็นองค์์กรชั้�นนำำ�ในการตรวจสอบ และรัับรองสิินค้า้ ปศุุสััตว์อ์ ย่่างมีีธรรมาภิบิ าลที่่�ได้้รีีบความเชื่อ� มั่น� จากผู้บ�้ ริิโภคในระดัับสากล ประสิทิ ธิผิ ล สินิ ค้้าปศุสุ ัตั ว์ม์ ีีคุุณภาพ ได้้มาตรฐาน ปลอดภัยั เพีียงพอ และแข่่งขันั ได้้ คุณุ ภาพ การบริิการ การปฏิบิ ััติกิ าร มีีคุุณภาพ ประสิทิ ธิภิ าพ มาตรฐาน โปร่่งใส เป็น็ ธรรม ระบบการผลิติ สินิ ค้้าปศุุสััตว์์ที่่� ระบบการรับั รองมาตรฐานสินิ ค้้า ระบบการควบคุุม กำ�ำ กัับและตรวจสอบ ได้ม้ าตรฐานเป็น็ มิิตรกัับสิ่�งแวดล้้อม ปศุุสัตั ว์์ที่่�มีีประสิิทธิภิ าพ สินิ ค้้าปศุสุ ัตั ว์์ที่่�มีีประสิิทธิิภาพ การพััฒนา เทคโนโลยีี นวััตกรรม บุุคลากรมีีขีีดสมรรถนะสููง องค์ก์ าร ด้า้ นมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ และมีีธรรมาภิิบาล ระบบให้้บริิการอิเิ ล็ก็ ทรอนิิกส์์ ที่่ม� ีีประสิิทธิภิ าพ ทัันสมััย องค์์ความรู้ด�้ ้้านมาตรฐาน สิินค้้าปศุสุ ัตั ว์์ Bureau of Livestock Standards and Certification

สพส. ประกอบด้้วย 7 กลุ่�ม 1 ฝ่า่ ย ซึ่่ง� แต่ล่ ะกลุ่�ม/ฝ่า่ ย มีภี ารกิิจ ดัังนี้้� สำำ�นัักพััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุุสัตั ว์์ ฝ่่ายบริหิ ารทั่่ว� ไป กลุ่ �มมาตรฐาน กลุ่ �มรัับรอง กลุ่ �มตรวจสอบ กลุ่ �มมาตรฐาน กลุ่�มควบคุุมโรงฆ่า่ สัตั ว์์ กลุ่�มพัฒั นาสินิ ค้้า กลุ่�มบริหิ ารจัดั การข้อ้ มููล ด้้านการปศุสุ ัตั ว์์ ด้า้ นการปศุุสััตว์์ มาตรฐาน สิ่ง� แวดล้อ้ ม ภายในประเทศ ปศุุสััตว์์ฮาลาล ด้า้ นมาตรฐาน ด้้านการปศุสุ ัตั ว์์ การปศุสุ ัตั ว์์ ด้้านการปศุสุ ััตว์์ สำำ�นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์ 1. ดำ�ำ เนิินการเกี่�ยวกับั 1. ดำำ�เนินิ การเกี่�ยวกัับ 1. ศึกึ ษา ค้้นคว้้า วิเิ คราะห์์ 1. ศึึกษา ค้น้ คว้า้ วิเิ คราะห์์ 1. ศึึกษา ค้้นคว้้า วิิเคราะห์์ 1. ศึึกษา ค้น้ คว้้า วิิเคราะห์์ 1. ศึึกษา ค้้นคว้า้ วิิเคราะห์์ 1. ศึกึ ษา ค้้นคว้้า วิิเคราะห์์ งานสารบรรณและ งานสารบรรณและงาน วิจิ ัยั และพััฒนาระบบ วิิจัยั และพััฒนาระบบ วิิจัยั และพััฒนาด้า้ น วิิจััยและพััฒนาระบบ วิิจััยและพััฒนาระบบ วิิจัยั และพััฒนาระบบ งานธุุรการทั่่ว� ไป ธุุรการทั่่ว� ไป การรัับรองด้า้ น การตรวจสอบมาตรฐาน มาตรฐานสิ่่�งแวดล้้อม และมาตรฐานโรงฆ่า่ มาตรฐานการผลิติ เฝ้้าระวัังและข้้อมููล การผลิิตปศุสุ ััตว์์ ด้า้ นการผลิิตสินิ ค้้า การปศุสุ ัตั ว์์ สััตว์์ และกระบวนการ สินิ ค้้าปศุสุ ััตว์์และ สารสนเทศ 2. ดำำ�เนินิ การเกี่�ยวกัับ 2. ดำ�ำ เนินิ การเกี่ย� วกัับ ปศุสุ ัตั ว์์ ฆ่า่ สััตว์์ให้ไ้ ด้้สิินค้า้ กระบวนการอื่น� ๆ ด้้านมาตรฐานสิินค้้า งานด้า้ นการเงิิน งานด้้านการเงิิน 2. ดำำ�เนิินการระบบ 2. ดำ�ำ เนิินการเกี่ย� วกัับ ที่่�มีีคุณุ ภาพ ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งให้้เป็็นไป ปศุสุ ััตว์์ การบััญชีี วััสดุุ ครุุภััณฑ์์ การบััญชีี วััสดุุ ครุภุ ัณั ฑ์์ ประกันั คุุณภาพ 2. ดำ�ำ เนินิ การตรวจสอบ การกำ�ำ กัับดููแลสิ่ง� ความปลอดภััย ตามหลักั ฮาลาล การบริหิ าร งานบุุคคล การบริหิ าร งานบุุคคล เพื่่�อกำ�ำ กับั ดููแลโรงงาน กำำ�กัับ ดููแล ติดิ ตามให้้ แวดล้อ้ ม ตามมาตรฐานสากล 2. เป็น็ ศููนย์ข์ ้อ้ มููลระบบ และการติิดต่่อ และการติิดต่อ่ ผลิิตสิินค้้าปศุุสััตว์์ ผู้ป้� ระกอบการผลิติ ด้า้ นการปศุุสััตว์์ 2. ดำ�ำ เนิินการให้้คำำ�ปรึกึ ษา รับั รองและกำ�ำ กับั ประสานงาน ประสานงาน ฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ และ ผู้�เ้ ลี้ย�้ งสััตว์ ์ ผู้�้ ส่่งออก ตามมาตรฐานและ 2. ควบคุุม กำำ�กัับ ดููแล แนะนำ�ำ พิจิ ารณาข้้อหา คุณุ ภาพสิินค้า้ ปศุสุ ััตว์์ ผลิติ ภัณั ฑ์์ที่่เ� กี่ย� วข้้อง สินิ ค้้าปศุุสัตั ว์ ์ ดำำ�เนิิน กฎหมายที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง โรงฆ่า่ สัตั ว์แ์ ละ รืือเกี่ �ยวกัับตามกฎหรือื ทั้้�งภายในประเทศ และ 3. ดำ�ำ เนินิ การเกี่ย� วกัับ 3. ดำำ�เนินิ การเกี่�ยวกับั ให้้เป็น็ มาตรฐาน การ ให้เ้ ป็น็ ไปตาม การฆ่่าสััตว์์ ระเบีียบที่่เ� กี่�ยวข้้อง ต่่างประเทศ การจัดั ทำ�ำ แผนงาน การจัดั ทำ�ำ แผนงาน มาตรฐาน และกฎหมาย 3. ให้ค้ ำำ�ปรึกึ ษา แนะนำำ� ตามกฎหมายว่า่ ด้ว้ ย กับั การรัับรองและ งบประมาณ และเร่่งรัดั งบประมาณ และเร่่งรัดั 3. จัดั ทำำ� Risk Analysis ที่่ก� ำ�ำ หนด และถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีี การควบคุุมการฆ่า่ และ มาตรฐานฮาลาล 3. ดำ�ำ เนิินการเฝ้้าระวังั ติดิ ตาม ประเมิินผล ติิดตาม ประเมินิ ผล สินิ ค้า้ ปศุุสััตว์์ ด้้านสิ่่ง� แวดล้อ้ ม จำำ�หน่่ายเนื้้�อสัตั ว์์ จััดทำำ�ระบบเตือื นภัยั การปฏิบิ ัตั ิงิ าน การปฏิบิ ัตั ิิงาน ผลิติ ภัณั ฑ์ท์ ี่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั 3. ดำ�ำ เนิินการออกใบ การปศุุสััตว์์ รวมถึึงกฎหมายอื่ �นที่่� 3. ส่่งเสริิม สนับั สนุุน ในด้้านความปลอดภัยั ของสำำ�นััก ของสำ�ำ นััก การผลิติ และการส่่งออก รับั รองสุขุ อนามััย เกี่ �ยวข้้อง ตรวจสอบเพื่่�อการ และสุุขอนามัยั ของ สินิ ค้้าปศุุสััตว์์ (Health Certificate) รับั รอง ฮาลาลในสิินค้า้ สินิ ค้้าปศุุสัตั ว์์ และ สำำ�หรัับสินิ ค้้าปศุสุ ััตว์์ 3. ให้ค้ ำ�ำ ปรึกึ ษา แนะนำำ� ปศุสุ ััตว์์ และผลิิตภััณฑ์์ ผลิิตภัณั ฑ์์ที่่เ� กี่�ยวข้้อง รายงานประจำำ�ปีี 2563 4. ให้ค้ ำำ�ปรึึกษา แนะนำำ� เพื่่�อการส่ง่ ออกตามที่่�ได้้ และถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีี แปรรููปร่ว่ มกัับองค์ก์ ร และถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีี รัับมอบหมาย ด้า้ นโรงฆ่า่ สัตั ว์์ รวมถึึง ศาสนาอิิสลาม 4. ดำ�ำ เนิินการในระบบ ด้า้ นการรัับรอง ตามกฎหมาย กระบวนการต่า่ ง ๆ สอบย้อ้ น เพื่่�อทวน การผลิติ ปศุสุ ัตั ว์์ ที่่�เกี่ �ยวข้้อง 4. ให้ค้ ำ�ำ ปรึกึ ษา แนะนำ�ำ สอบผลการควบคุมุ 4. ให้ค้ ำำ�ปรึกึ ษา แนะนำ�ำ พิจิ ารณาข้้อหารืือ คุุณภาพสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์์ และถ่า่ ยทอดเทคโนโลยีี เกี่�ยวกัับ กฎ ระเบีียบ และผลิิตภััณฑ์์ที่่� เกี่ย� วกัับการตรวจสอบ ข้อ้ บังั คับั หรือื ข้้อปฏิิบัตั ิิ เกี่ย� วข้อ้ ง มาตรฐาน ด้้านฮาลาล 7

8 Annual Report 2020 อัตั รากำ�ำ ลังั เจ้้าหน้้าที่่� สพส. จำำ�นวน 392 คน ดังั ต่อ่ ไปนี้้� ลููกจ้า้ งประจำำ� 1 คน ข้้าราชการ 69 คน พนง. ราชการ 297 คน ข้า้ ราชการ จำ�ำ นวน 69 คน อััตรากำำ�ลัังเจ้้าหน้้าที่่� สพส. จำ�ำ แนกเป็น็ ชาย จำำ�นวน 29 คน ข้อ้ มููล ณ วันั ที่่� 1 ธ.ค. 61 หญิงิ จำ�ำ นวน 40 คน ตำ�ำ แหน่ง่ ว่า่ ง 7 คน (นายสัตั วแพทย์ ์ ว่า่ ง 2 คน สัตั วแพทย์์ 5 คน) พนัักงานราชการ จำ�ำ นวน 297 คน ลููกจ้า้ งประจำ�ำ จำ�ำ นวน 1 คน จำ�ำ แนกเป็น็ ชาย จำ�ำ นวน 49 คน หญิงิ จำ�ำ นวน 248 คน จำ�ำ แนกเป็น็ ชาย จำ�ำ นวน 1 คน งบประมาณ งบประมาณประจำำ�ปีี พ.ศ. 2563 รวมทั้้�งสิ้น� 300,271,800 บาท กิิจกรรมตรวจสอบรับั รองคุุณภาพสินิ ค้้าปศุุสััตว์์ 109,131,900 บาท กิจิ กรรมพัฒั นาและส่ง่ เสริิมอุุตสาหกรรมฮาลาลด้า้ นปศุสุ ัตั ว์ ์ 12,068,500 บาท กิิจกรรมการวิิจัยั และพััฒนาการปศุสุ ััตว์ ์ 913,200 บาท โครงการเฝ้า้ ระวังั ลุ่�มน้ำ�ำ� วิิกฤติิ 8,709,500 บาท โครงการพััฒนาเทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่ �อสาร 1,954,700 บาท กิิจกรรมบุุคลากรภาครัฐั 167,494,000 บาท แยกตามหน่ว่ ยงาน สำำ�นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ 133,255,300 บาท หน่ว่ ยงานอื่่น� ส่ว่ นกลาง ส่ว่ นภููมิิภาค 164,016,500 บาท Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 9 บทความทางวิชิ าการ การสูญู เสีียอาหาร (Food loss) องค์์การสหประชาชาติิได้้คำำ�นึึงถึึงการพััฒนาอย่่างยั่�งยืืน ครอบคุุลมถึึงการผลิิตและการบริิโภคอย่่างยั่�งยืืน และ ความมั่ �นคงทางอาหาร และให้้นิิยามของการสููญเสีียอาหารไว้้ว่่า เป็็นการลดลงของมวลอาหารที่่�สามารถบริิโภคได้้ ตลอดห่่วงโซ่่อุุปทานอาหารเพื่่�อการบริิโภคของมนุุษย์์ โดยเป็็นการสููญเสีียในขั้้�นตอนการผลิิต ขั้้�นตอนหลัังการเก็็บเกี่�ยว และขั้�นตอนการแปรรููป เช่่น การสููญเสีียขณะใช้้เครื่่�องจัักรเก็็บเกี่�ยว การสููญเสีียขณะขนส่่ง หรืือการสููญเสีีย ในกระบวนการปอกเปลือื ก การหั่่�น และการต้้มไม่ถ่ ููกต้อ้ ง ซึ่ง่� เป็็นขั้้น� ตอนก่อ่ นได้ผ้ ลิติ ภััณฑ์ส์ ุดุ ท้้ายเพื่่อ� การบริิโภค การสููญเสียี อาหารจากสััตว์์ และผลิติ ภััณฑ์จ์ ากสััตว์์ การผลิิต การสููญสีียอาหารเกิิดจากการที่่�สััตว์์ตายในระหว่่างขยายพัันธุ์์� อาการป่่วยของสััตว์์ การเก็็บและ การรัักษา การสููญเสีียเกิิดจากการตายระหว่่างการขนส่่งเพื่่�อนำ�ำ ไปฆ่่าที่่�โรงฆ่่าสััตว์์ กระบวนการผลิิต การสููญเสีียเกิิดจาก การตกแต่่งเนื้้�อสััตว์์ ระหว่่างโรงฆ่่าสััตว์์และอุุตสาหกรรมการผลิิต การ กระจายสิินค้้า ประกอบด้้วยการสููญเสีีย และเศษ อาหารทิ้้�งในระบบตลาด ประเทศไทยกับั การแก้ป้ ัญั หาด้้านการสููญเสียี อาหาร ภาครััฐและเอกชนได้้ตระหนัักถึึงปััญหาการสููญเสีียอาหาร ได้้มีีการจััดตั้้�งคณะอนุุกรรมการด้้าน การลดการสููญเสีีย อาหาร ภายใต้้คณะกรรมการขัับเคลื่่�อนด้้านความมั่�นคงอาหารตลอดห่่วงโซ่่ ซึ่�่งคณะอุุนกรรมการดัังกล่่าวมีีหน้้าที่่� ศึึกษา วิิเคราะห์์ รวบรวมและติิดตามการพััฒนาแนวทางการลดการสููญเสีียอาหารตั้�งแต่่ การผลิิต การเก็็บเกี่�ยว การแปรรููปขั้�นต้้น รวมถึึงการบริิหารจััดการของเสีียในฟาร์์ม เพื่่�อจััดทำำ�ข้้อเสนอแนวทาง ลดการสููญเสีียอาหาร และ จัดั ทำ�ำ เส้น้ ฐานจำ�ำ แนกมาตรการลดความสููญเสีียโดยตลอดห่ว่ งโซ่ค่ ุณุ ค่า่ และรายงานผลตามเป้า้ หมายการพัฒั นาที่่ย�ั่ง� ยืนื ข้อ้ ที่่� 12.3.1 ประกอบด้ว้ ยสินิ ค้า้ เกษตร ประเภท ธัญั พืชื พืชื หัวั ผักั และผลไม้้ เนื้้อ� สัตั ว์์ ปลาและอาหารทะเล ซึ่ง่� ได้ร้ ับั การสนับั สนุนุ งบประมาณวิจิ ัยั จากสำำ�นักั งานพัฒั นาการวิจิ ัยั การเกษตร โดยมีีเป้า้ ประสงค์เ์ พื่่อ� ศึกึ ษาผลกระทบ และมาตรฐานการวัดั ผลการ สููญเสีียอาหารระดัับประเทศอย่่างจริิงจััง รวมทั้้�งการประเมิินการสููญเสีียอาหารในระดัับประเทศ ซึ่�่งเป็็นไปตามดััชนีีความ สููญเสีียอาหารระดัับชาติิ (National Food loss Index) ตามมาตรฐานสากล อ้้างอิิงวิธิ ีีการตามแนวทางเชิงิ ปฏิิบัตั ิขิ อง FAO โครงการวิิจัยั การประเมินิ ความสููญเสีียอาหารผลิติ ภัณั ฑ์์ไก่่เนื้้อ� และไข่่ไก่่ เพื่่�อหามาตรการลดความสููญเสีีย โดยตลอดห่ว่ งโซ่่คุุณค่า่ และรายงานผลตามเป้า้ หมายการพััฒนาอย่่างยั่�งยืนื เรีียบเรีียงโดย สัตั วแพทย์์หญิิงธนิิดา หรินิ ทรานนท์์ การสููญเสีียอาหาร (Food loss) ผู้�เ้ ชี่่�ยวชาญด้้านมาตรฐานการปศุุสััตว์ร์ ะหว่า่ งประเทศ สำ�ำ นักั พััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุุสััตว์์ สำำ�นักั พัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

10 Annual Report 2020 แนวทางการจัดั ทำำ�ระบบ GMP และ HACCP ฉบัับใหม่่ของ CODEX มกษ 9023 – 2564 การจััดทำำ�ระบบ HACCP โดยการแปลเอกสารโคเด็ก็ ซ์์ General Principle of Food Hygiene : Good Hygiene Practices : (GHP) and the Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) System (CXC 1-2020) หลักั การของการจัดั ทำ�ำ เอกสาร CXC 1-2020 จะเน้น้ ให้ผ้ ู้ป�้ ระกอบการอาหารทั้ง�้ รายเล็ก็ กลาง และใหญ่น่ ำ�ำ ระบบไปใช้ต้ ามความเหมาะสมตลอดห่ว่ งโซ่ก่ ารผลิติ โดยการสนับั สนุนุ ด้า้ นเทคนิคิ และ กฎระเบีียบจากหน่่วยงานที่่ม� ีีอำำ�นาจหน้า้ ที่่ � หรือื ผู้้�เชี่�ยวชาญจากภายนอก โดยมีีการให้ค้ วามสำ�ำ คัญั กัับ การควบคุมุ การปนเปื้อ้� นของสารก่อ่ ภููมิแิ พ้้ การให้ข้ ้อ้ มููลด้า้ นความปลอดภัยั อาหารต่อ่ ผู้บ�้ ริโิ ภค การแสดงรายละเอีียดวิธิ ีีการ ทำ�ำ งานที่่ช� ัดั เจนโดยมีีการยกตััวอย่า่ งประกอบ และเน้้นให้ผ้ ู้้�ประกอบการมีีความรับั ผิดิ ชอบต่อ่ ความปลอดภััยอาหาร การจัดั ทำำ�ระบบ Good Hygienic Practice (GHP) จะมีีการพิจิ ารณาขั้้น� ตอนบางขั้�นตอนว่า่ เป็น็ GHP ที่่ต� ้้องให้้ความ ใส่ใ่ จเป็น็ พิเิ ศษเพื่่อ� ควบคุมุ ความปลอดภัยั อาหาร หากการใช้้ GHP ที่่ต� ้อ้ งการความใส่ใ่ จเป็น็ พิเิ ศษเพีียงอย่า่ งเดีียว ไม่ส่ ามารถ ควบคุมุ ความปลอดภัยั อาหารได้้ อาจต้อ้ งใช้้จุดุ CCP ในการควบคุมุ ควบคู่�ไปด้ว้ ย โดย GHP ที่่ต� ้อ้ งการความใส่ใ่ จเป็น็ พิเิ ศษนี้้� จะต้อ้ งมีีการเฝ้า้ ระวังั การแก้ไ้ ขกรณีีเกิดิ การเบี่่ย� งเบนไปจากที่่ก� ำ�ำ หนด มีีการทวนสอบ และมีีระบบเอกสารตามความจำำ�เป็น็ สำำ�หรัับเอกสาร HACCP ไม่่มีีรายละเอีียดที่่�เปลี่�ยนแปลงไปมากนักั โดยที่่�ประชุมุ Codex ยัังไม่ม่ ีีข้อ้ สรุุปถึึงรายละเอีียดของ แผนผัังการตััดสิินใจ (Decision Tree) การนำำ�ระบบ HACCP ไปใช้้เพื่อ�่ ควบคุุมเชื้�อ้ ซัลั โมเนลล่า่ ในปััจจุุบัันระบบ HACCP เป็็นระบบที่่�ได้้รัับการยอมรัับจากทั่่�วโลกว่่าเป็็นระบบที่่�ดีีที่่�สุุดในการควบคุุมและป้้องกััน อัันตรายที่่�จะเกิิดขึ้้�นในกระบวนการผลิิตอาหาร นอกจาหนี้้� ระบบ HACCP ยัังเป็็นเงื่�อนไขในการค้้าที่่�ผู้้�ประกอบการจะ ต้้องได้้รัับการรัับรองระบบ HACCP จากหน่่วยงานที่่�เกี่ �ยวข้้องเพื่่�อให้้มั่่�นใจว่่าสามารถควบคุุมความปลอดภััยในการผลิิต อาหารได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ทั้้�งนี้้� ตามระเบีียบกรมปศุุสััตว์์ผู้้�ประกอบการที่่�ประสงค์์จะส่่งออกเนื้้�อสััตว์์ปีีกแช่่เย็็นจนแข็็ง ไปสหภาพยุุโรปต้้องได้้รัับการรัับรองระบบ HACCP จากกรมปศุุสััตว์์ ตามระเบีียบ กรมปศุุสัตั ว์์ว่่าด้้วยการขอรับั และออกใบรัับรองระบบหลักั เกณฑ์์และวิธิ ีีการที่่ด� ีี ในการผลิิตอาหาร (Good Manufacturing Practice; GMP) และ HACCP ในสถานประกอบการเพื่่อ� การส่ง่ ออก พ.ศ.2562 โดย Regulation (EC) No 854/2004 Article 4 ของ สหภาพยุุโรปกำำ�หนดให้้เจ้้าหน้้าที่่�กรมปศุุสััตว์์ ในฐานะหน่่วยงานที่่�มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ต้้องทำำ�การตรวจ ประเมิินระบบ HACCP ของผู้้ป� ระกอบการที่่จ� ะส่่งออก ไปสหภาพยุุโรปอย่า่ งมีีประสิทิ ธิิภาพและสม่ำ��ำ เสมอ เพื่่�อความปลอดภัับของผู้�้บริิโภค Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 11 การวิเิ คราะห์อ์ ัันตรายและกำ�ำ หนดมาตรการควบคุมุ เชื้อ� แซลโมเนลลาเพื่่อ� ประกอบการพิจิ ารณาจัดั ทำ�ำ ระบบ HACCP ในขั้้น� ตอนการผลิติ เนื้้อ� สัตั ว์ป์ ีกี แช่เ่ ย็น็ แข็ง็ เพื่่อ� ส่ง่ ออกไปสหภาพยุโุ รปอย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ ผู้ป้� ระกอบการต้อ้ งให้ค้ วามสำ�ำ คัญั ในขั้้น� ตอนการผลิิตในโรงฆ่่าสัตั ว์ ์ ดัังนี้�้ 1. สััตว์์ปีกี ที่่�จะเข้้าโรงฆ่่า 2. การรับั สัตั ว์์ปีีกมีีชีีวิิตและแขวนสััตว์ป์ ีกี 3. การทำำ�ให้ส้ ลบและการเอาเลืือดออก 4. การลวกและการถอนขน 5. การล้้วงเครื่่อ� งใน 6. การล้้างภายในและภายนอกซาก 7. การลดอุุณหภููมิิซาก 8. การตััดแต่่งและการถอดกระดููก นอกจากมาตรการควบคุุมเชื้อ� ซััลโมเนลล่า่ ใน 8 ขั้้�นตอนนี้แ้� ล้ว้ ผู้้ป� ระกอบการจะต้้องทำ�ำ การระบุสุ ถานะ คััดแยก และ จััดเก็บ็ สิินค้า้ ที่่�ชัดั เจนเพื่่อ� การตรวจสอบย้อ้ นกลับั ที่่ม� ีีประสิทิ ธิภิ าพด้ว้ ย ปััจจััยที่่ม� ีีผลต่อ่ การเกิดิ เชื้้อ� ซััลโมเนลล่่าในฟาร์์มไก่่เนื้้�อเพื่�อ่ การส่่งออก เชื้อ� ซัลั โมเนลล่า่ เป็็นเชื้อ� แบคทีีเรีียที่่�พบได้้ในฟาร์ม์ เลี้ย้� งไก่่เนื้้อ� ซึ่่ง� ในระบบการเลี้้�ยงไก่่เนื้้อ� เพื่่�อการส่่งออก โดยเฉพาะ การส่ง่ ออกไปสหภาพยุโุ รปมีีการควบคุมุ ไม่ใ่ ห้เ้ กิดิ การปนเปื้อ้� นของเชื้อ� ซัลั โมเนลล่า่ เพื่่อ� ให้เ้ ป็น็ ไปตามมาตรฐานของประเทศ คู่�ค้า้ และเป็็นไปตามโปรแกรมควบคุมุ และป้อ้ งกัันเชื้�อซััลโมเนลลล่่าในสััตว์์ปีกี ของกรมปศุสุ ััตว์์ จากการศึกึ ษาหาปัจั จัยั ที่่ม� ีีผลต่อ่ การปนเปื้อ้� นของเชื้อ� ซัลั โมเนลล่า่ ในฟาร์ม์ ไก่เ่ นื้้อ� เพื่่อ� การส่ง่ ออกพบว่า่ แหล่ง่ ของการ ปนเปื้อ�้ นของเชื้อ� ซัลั โมเนลล่า่ ในฟาร์ม์ สัตั ว์ป์ ีกี มากตามลำ�ำ ดับั คือื วัสั ดุปุ ููนอนในช่ว่ งการเลี้ย้� ง สัตั ว์พ์ าหะนำ�ำ เชื้อ� ช่ว่ งก่อ่ นนำำ�ลููกไก่่ เข้้าเลี้้�ยง สัตั ว์พ์ าหะนำ�ำ เชื้�อในช่่วงการเลี้้ย� ง การทำำ�ความสะอาดและฆ่า่ เชื้อ� ที่่�มีีประสิิทธิิภาพมีีความจำำ�เป็น็ ในการควบคุมุ การ ปนเปื้้�อนของเชื้�อซััลโมเนลล่่าในฟาร์์มเลี้้�ยงสััตว์์ปีีก โดยควรให้้ความสำำ�คััญกัับการทำำ�ความสะอาดและฆ่่าเชื้�อโรงเรืือน วััสดุุ ปููรอง และบริเิ วณทางเข้า้ โรงงาน รวมถึงึ การควบคุมุ สัตั ว์พ์ าหะนำำ�เชื้อ� ที่่ม� ีีประสิทิ ธิภิ าพจะทำำ�ให้ส้ ามารถควบคุมุ การปนเปื้อ้� น ของเชื้ �อซััลโมเนลล่่าในฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ปีีกให้้เป็็นไปตามแนวทางและเป้้าหมายที่่�ระบุุไว้้ในโปรแกรมการควบคุุมและป้้องกััน เชื้อ� ซัลั โมเนลล่่าในสััตว์ป์ ีกี ของกรมปศุสุ ััตว์์ เรีียบเรีียงโดย สััตวแพทย์์หญิงิ คชาภรณ์์ เต็็มยอด ผู้้�เชี่่�ยวชาญด้้านพัฒั นาระบบและ รัับรองคุุณภาพเนื้อ้� สัตั ว์แ์ ละผลิิตภัณั ฑ์์สััตว์์ สำ�ำ นัักพัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสินิ ค้้าปศุสุ ััตว์์ กรมปศุุสัตั ว์์ สำำ�นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

12 Annual Report 2020 กิจิ กรรม/โครงการสำ�ำ คัญั ปีีงบประมาณ 2563 การตรวจรับั รองการปฏิิบัตั ิทิ างการเกษตรที่่�ดีดี ้้านปศุุสัตั ว์์ (Good Agricultural Practice, GAP) ตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ด้้านความปลอดภััยทางอาหาร เพื่่�อให้้ประชาชนผู้�้บริิโภคภายในประเทศ ได้บ้ ริโิ ภคอาหารที่่ม� ีีคุุณภาพปลอดภััย ปราศจากสารตกค้า้ งและการปนเปื้้�อนจากเชื้�อโรคต่า่ งๆ โดยให้ม้ ีีการกำ�ำ กัับดููแลและ การควบคุุมการผลิิตของผลิิตภััณฑ์์อาหารทุุกขั้ �นตอน ตั้้�งแต่่ฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ ปััจจุุบัันการดำำ�เนิินการรัับรองฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ มาตรฐาน ดำ�ำ เนินิ การตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ และตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานสินิ ค้า้ เกษตรและ อาหารแห่่งชาติิ โดยกรมปศุสุ ัตั ว์เ์ ป็น็ หน่ว่ ยงานให้้การรับั รองมาตรฐานฟาร์ม์ รวมทั้้ง� สิ้น� 22 ชนิิดสััตว์์ ได้้แก่่ โคนม โคเนื้้อ� สุุกร แกะเนื้้อ� แพะเน�อ� แพะนม ไก่่เนื้้อ� ไก่ไ่ ข่่ ไก่่พัันธุ์์� เป็ด็ ไข่่ เป็ด็ พันั ธุ์์� เป็็ดเนื้้�อ ห่า่ น สถานที่่�ฟักั ไข่ส่ ัตั ว์ป์ ีกี นกกระทา นกเขา ชวาเสีียง ผึ้้�ง กวาง ไก่่พื้้น� เมืืองแบบเลี้ย�้ งปล่่อยอิิสระ จิ้้�งหรีีด ควายเนื้้�อ และสุุนัขั ตารางที่่� 1 ชนิิดสัตั ว์์ จำำ�นวนฟาร์ม์ และจำำ�นวนสัตั ว์์ (GAP) ลำ�ำ ด�บ ชนิิดฟาร์์ม จำ�ำ นวนฟาร์์มมาตรฐาน จำ�ำ นวน หน่่วยนัับ 1 สุกุ ร 4,547 9,931,562 ตัวั 2 โคเนื้้อ� 148 20,221 ตัวั 3 โคนม 6,945 280,891 ตััว 4 แพะเนื้้�อ 87 7,525 ตัวั 5 แพะนม 15 596 ตัวั 6 แกะเนื้้อ� 11 1,580 ตััว 7 กวาง 1 400 ตัวั 8 ไก่พ่ ัันธุ์์� 254 29,671,668 ตััว 9 ไก่เ่ นื้้อ� 7,259 44,5146,244 ตััว 10 ไก่่ไข่่ 1,552 76,377,892 ตััว 11 ไก่พ่ ื้้�นเมือื งเลี้ย�้ งปล่่อยอิสิ ระ 1 100 ตัวั 12 เป็็ดพัันธุ์์� 53 877,282 ตัวั 13 เป็็ดเนื้้�อ 245 11,730,816 ตััว 14 เป็ด็ ไข่่ 22 560,800 ตััว 15 ห่่าน 1 10,000 ตััว 16 นกกระทา 22 2,789,450 ตัวั 17 สถานที่่�ฟักั ไข่ส่ ัตั ว์์ปีกี 102 42,595,664 ตัวั /สัปั ดาห์์ 18 จิ้ง� หรีีด 35 18,080 กิโิ ลกรัมั /รอบ 19 ผึ้ง� 742 180,032 รังั 20 นกเขาชวาเสีียง 0 0 ตัวั จำำ�นวนฟาร์์มทั้้ง� หมด 22,042 620,200,803 ที่่�มา : สำำ�นัักงานปศุุสััตว์์จังั หวััด ทุกุ จัังหวััด ข้้อมููล ณ วันั ที่่� 30 กันั ยายน 2563 Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 13 สััตวแพทย์์ผู้�้ควบคุุมฟาร์ม์ เลี้้�ยงสััตว์์ สัตั วแพทย์ผ์ ู้้�ควบคุมุ ฟาร์ม์ เลี้ย้� งสัตั ว์เ์ ป็น็ ผู้�้มีบทบาทสำำ�คัญั ในอุตุ สาหกรรมการเลี้ย้� งสัตั ว์์ โดยเป็น็ ผู้�้ที่ม� ีีหน้า้ ที่่ก� ำ�ำ กับั ดููแล ด้้านสุุขภาพสััตว์์และสุุขอนามััยในฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ โดยเฉพาะฟาร์์มที่่�จะได้้รัับการรัับรองการปฏิิบััติิทางการเกษตรที่่�ดีีด้้าน ปศุสุ ัตั ว์น์ ั้้น� จำำ�เป็น็ ต้อ้ งมีีสัตั วแพทย์ผ์ ู้�้ ควบคุมุ ฟาร์ม์ เลี้ย�้ งสัตั ว์ ์ ปัจั จุบุ ันั สัตั วแพทย์ผ์ ู้�้ ควบคุมุ ฟาร์ม์ เลี้ย้� งสัตั ว์ม์ ีีทั้ง�้ หมด 7 ประเภท ตารางที่่� 2 สรุปุ จำำ�นวนสััตวแพทย์ผ์ ู้้�ควบคุมุ ฟาร์์มเลี้้�ยงสัตั ว์์แยกตามประเภท ประจำำ�ปีี 2563 ลำำ�ดับั ประเภท จำ�ำ นวนคน 1 สตั วแพทยผ์ คู้ วบคมุ ฟาร์มแพะเนอื้ แกะเนอ้ื 439 2 สตั วแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มโคเนือ้ 619 3 สตั วแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มโคนม 1,034 4 สัตวแพทย์ผ้คู วบคุมฟารม์ แพะนม 289 5 สัตวแพทยผ์ ู้ควบคมุ ฟาร์มผึ้ง 301 6 สัตวแพทยผ์ ู้ควบคุมฟารม์ สัตว์ปกี 2,027 7 สัตวแพทย์ผคู้ วบคมุ ฟารม์ สกุ ร 2,335 รวมทั้้ง� หมด 7,044 ที่ม�่ า : กลุ่�มรับั รองด้า้ นการปศุสุ ัตั ว์์ สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ ์ ข้้อมููล ณ วันั ที่่� 30 กันั ยายน 2563 หน้า้ ที่่�และความรับั ผิิดชอบของสััตวแพทย์ผ์ ู้ค้� วบคุมุ ฟาร์์ม 1. จััดทำ�ำ แผนการป้้องกัันด้้านสุุขภาพสััตว์์ ซึ่�่งประกอบด้้วย การป้้องกัันโรค โปรแกรมการใช้ว้ ััคซีีน การควบคุุมปาราสิติ ระบบความปลอดภัยั ทางชีีวภาพ การอบรม ผู้�้ปฏิบิ ััติิงานด้า้ นสุุขภาพสััตว์์ และต้้องมีีการทบทวนแผนเป็็นประจำ�ำ อย่า่ งน้้อยปีีละหนึ่่�ง ครั้้�ง และลงชื่�อกำ�ำ กัับโดยสัตั วแพทย์ผ์ ู้้�ควบคุุมฟาร์ม์ เลี้ย้� งสััตว์์ 2. ตรวจวิินิจิ ฉััยโรค ผ่่าตััด ทำ�ำ คลอดสััตว์์ รวมถึงึ การชันั สููตรวินิ ิิจฉัยั โรค อย่่างถููก ต้้องเหมาะสม เป็น็ ไปตามหลักั วิิชาการ และสวัสั ดิภิ าพสััตว์์ 3. ควบคุุมการสั่ง� ยาผสมในอาหารสัตั ว์์ การใช้้ การเก็บ็ รัักษา และการบ่่งชี้อ�้ าหาร สััตว์์ผสมยา เพื่่�อการใช้้ที่่�ถููกต้้องและป้้องกัันการปนเปื้�้อนข้้าม ตามกฎหมายว่่าด้้วยการ ควบคุมุ คุุณภาพอาหารสัตั ว์์ 4. ควบคุุมการใช้้ยาภายในฟาร์์มให้้เป็็นไปอย่่างถููกต้้อง ทั้้�งชนิิด ขนาด ปริิมาณ ของยาที่่ใ� ช้้ และควบคุุมระยะเวลาหยุดุ ยาไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ ระยะเวลาที่่�กำ�ำ หนดไว้้ในฉลาก หรืือ เอกสารกำ�ำ กัับยาสัตั ว์์ตามที่่�ได้้ขึ้�นทะเบีียนไว้้ และปฏิิบัตั ิติ ามกฎหมายเกี่�ยวกับั ยาสััตว์แ์ ละ วััตถุุอัันตรายด้้านการปศุุสััตว์์ 5. ควบคุมุ และจำำ�กัดั การใช้ย้ าเท่า่ ที่่จ� ำำ�เป็น็ เพื่่อ� หลีีกเลี่ย� งอันั ตรายจากยาสัตั ว์ต์ กค้า้ ง ผลกระทบต่อ่ สิ่ง� แวดล้้อม และการดื้อ� ยาของจุุลชีีพ สำำ�นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

14 Annual Report 2020 6. จัดั ทำ�ำ ใบสั่ง� ใช้ย้ า เพื่่อ� ให้ท้ ราบถึงึ วัตั ถุปุ ระสงค์ก์ ารใช้ย้ า รวมถึงึ รายละเอีียดของยาที่่ใ� ช้้ เช่น่ ชื่่อ� ทางการค้า้ เลขทะเบีียน ตัวั ยาออกฤทธิ์์ � ขนาดการใช้้ ระยะเวลาการใช้้ ระยะหยุดุ ยา เป็น็ ต้น้ โดยใบสั่ง� ใช้ย้ าต้อ้ งมีีอายุไุ ม่เ่ กินิ 60 วันั นับั แต่ว่ ันั ที่่ล� งนาม ในกรณีีต้้องการผสมยาต้้านแบคทีีเรีียลงในอาหารสััตว์์ ในฟาร์์มสุุกรตั้�งแต่่ 500 ตััวขึ้้�นไป หรืือฟาร์์มสััตว์์ปีีกให้้เนื้้�อ ตั้�งแต่่ 5,000 ตััวขึ้้�นไป หรืือสััตว์์ปีีกให้้ไข่่ตั้�งแต่่ 1,000 ตััวขึ้้�นไป สััตวแพทย์์ผู้้�ควบคุุมฟาร์์มเลี้้�ยงสััตว์์ต้้องจััดทำำ�ใบสั่�งใช้้ยา (ใบ ส.ย.1) พร้อ้ มลงลายมืือชื่อ� ให้้สถานที่่�ผลิติ อาหารสัตั ว์์ เพื่่�อผสมอาหารสััตว์์ผสมยา 7. จััดทำำ�บันั ทึกึ การใช้้ยา เพื่่�อให้ท้ ราบถึงึ สถานะการใช้ย้ า และการบ่ง่ ชี้ต้� ัวั สััตว์์ เช่น่ ระบุวุ ัันที่่�รัักษา หมายเลขสัตั ว์์ จำ�ำ นวนยาที่่ใ� ช้้ วัันสิ้้�นสุดุ การรัักษา วัันหยุดุ ยา ชื่่อ� ของผู้ใ�้ ช้ย้ า เป็็นต้น้ 8. กรณีีที่่�มีีการใช้้อุุปกรณ์์ทางการแพทย์ท์ ี่่�อาจติิดอยู่�ในตััวสััตว์์ ต้้องมีีขั้้�นตอนการปฏิบิ ััติิงานในการควบคุุมอัันตราย มิิให้ต้ กค้้างในตััวสัตั ว์์ เช่น่ วิิธีีปฏิิบัตั ิงิ านการควบคุมุ เข็ม็ ที่่�หักั ที่่�จะยังั คงค้า้ งอยู่�ในตัวั สัตั ว์์ 9. ตรวจสุุขภาพสััตว์์ก่่อนส่่งโรงฆ่่าสััตว์์ ในกรณีีที่่�ส่่งโรงฆ่่าสััตว์์เพื่่�อการส่่งออก ต้้องลงลายมืือชื่�อในแบบสพส.001 (รายงานการตรวจไก่่/เป็็ดที่่�ฟาร์์ม) และแบบ สพส.001สุกุ ร (รายงานการตรวจสุุกรที่่ฟ� าร์ม์ ) 10. จัดั ทำำ�แผนการสุ่�มตััวอย่า่ งเพื่่อ� ตรวจสอบสภาวะโรคในฟาร์ม์ เลี้้ย� งสัตั ว์์ และโรคสััตว์ส์ ู่่�คน 11. มีีระบบการเฝ้้าระวังั โรค และในกรณีีเกิดิ โรคระบาดสัตั ว์ใ์ ห้ป้ ฏิบิ ัตั ิิตามกฎหมายว่า่ ด้้วยโรคระบาดสัตั ว์์ 12. รัับผิิดชอบในกรณีีมีีการตกค้้างของสารต้้านจุุลชีีพ และสารเคมีีในผลผลิิตจากฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ที่่�เกิิดจากความ บกพร่่องในหน้้าที่่ข� องสััตวแพทย์ผ์ ู้�้ ควบคุุมฟาร์์มเลี้ย้� งสััตว์์ 13. ควบคุมุ ไม่่ให้้มีีการใช้้ฮอร์์โมนเร่ง่ การเจริิญเติบิ โต (Hormonal growth promoter) ในฟาร์์มเลี้ย้� งสััตว์์ 14. ควบคุุม กำ�ำ กัับ ดููแล การจัดั การสวััสดิภิ าพสััตว์์ภายในฟาร์์ม รวมทั้�ง้ ให้้ความรู้�แ้ ก่ผ่ ู้�ป้ ฏิิบัตั ิิงาน 15. วางแผนการจัดั การด้า้ นการผสมพันั ธุ์์�สัตั ว์์ เพื่่อ� ให้เ้ กิดิ ความคุ้�มค่า่ และมีีความเหมาะสม 16. วางแผนการจัดั การด้้านโภชนาการ เพื่่�อให้ฟ้ าร์์มได้ผ้ ลผลิิตที่่�ดีี และขายได้้ราคา 17. ควบคุมุ วิิธีีการทำ�ำ ลายซากสัตั ว์ข์ องฟาร์์มให้้เป็็นไปอย่่างถููกต้อ้ ง 18. มีีกำ�ำ หนดการปฏิบิ ัตั ิหิ น้า้ ที่่� ณ ฟาร์ม์ เลี้ย�้ งสัตั ว์์ ตามระยะเวลาที่่เ� หมาะสม 19. กรณีีมีีการตรวจประเมิินฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ สััตวแพทย์์ผู้้�ควบคุุมฟาร์์ม เลี้�้ยงสััตว์์ต้้องอยู่�เป็็นผู้้�ให้้ข้้อมููลด้้านสุุขภาพสััตว์์แก่่คณะผู้้�ตรวจประเมิิน และ ในกรณีีที่่ม� ีีการเก็บ็ ตัวั อย่า่ งตรวจตามแผนการเก็บ็ ตัวั อย่า่ งสารตกค้า้ งของกรมปศุสุ ัตั ว์์ สัตั วแพทย์ผ์ ู้้�ควบคุมุ ฟาร์ม์ เลี้ย�้ งสัตั ว์ต์ ้อ้ งอยู่�ในขณะที่่ม� ีีการเก็บ็ ตัวั อย่า่ ง หรือื มอบอำำ�นาจให้้ ผู้้�เกี่ย� วข้้องแต่ต่ ้้องอยู่�ภายใต้ค้ วามรัับผิิดชอบของสััตวแพทย์ผ์ ู้้�ควบคุมุ ฟาร์์มเลี้้�ยงสัตั ว์์ 20. กรณีีมีีการรัับการตรวจประเมิินจากต่่างประเทศ สััตวแพทย์์ผู้�้ ควบคุุมฟาร์์มเลี้�้ยงสััตว์์ ต้้องให้้ความร่่วมมืือและอยู่�เป็น็ ผู้�้ให้้ข้้อมููลด้า้ นสุุขภาพสัตั ว์์และสวัสั ดิิภาพสััตว์แ์ ก่ค่ ณะผู้้�ตรวจประเมินิ 21. ปฏิบิ ััติิหน้า้ ที่่�สอดคล้อ้ งตามหลัักเกณฑ์ก์ ารปฏิิบัตั ิิทางการเกษตรที่่�ดีีด้้านปศุสุ ัตั ว์์ 22. ให้ป้ ฏิบิ ััติติ ามกฎหมายว่า่ ด้้วยวิชิ าชีีพการสัตั วแพทย์์ กฎหมายว่า่ ด้ว้ ยโรคระบาดสัตั ว์์ กฎหมายว่า่ ด้้วยการควบคุมุ คุุณภาพอาหารสัตั ว์์ กฎหมายเกี่ย� วกัับยาสััตว์แ์ ละวััตถุอุ ัันตรายด้า้ นการปศุสุ ััตว์์ และกฎหมายอื่น� ที่่�เกี่ย� วข้อ้ ง Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 15 การรัับรองการปฏิบิ ัตั ิทิ างการเกษตรที่่ด� ีีสำ�ำ หรัับฟาร์์มจิ้้ง� หรีีด ปััจจุุบัันทั่่�วโลกให้้ความสนใจแมลงเป็็นอาหาร และองค์์การอาหารและเกษตรแห่่งสหประชาชาติิ หรืือ เอฟเอโอ (Food and Agriculture Organization of the United Nations ; FAO) ได้ส้ ่ง่ เสริมิ ให้ป้ ระชาชน หัันมาบริิโภคแมลงหลายชนิิด รวมทั้้�งจิ้�งหรีีดซึ่�่งเป็็น เเมลงที่่�บริิโภคได้้ถืือเป็็นความหวัังสำ�ำ คััญต่่อการพััฒนา ความมั่น� คงทางอาหารของโลก เนื่่อ� งจากเป็น็ เเหล่ง่ โปรตีีน ทางเลือื กใหม่ท่ี่่ม� ีีราคาถููกและสามารถหาได้ง้ ่า่ ยในท้อ้ งถิ่น� รััฐบาลไทยจึึงได้้เล็็งเห็็นว่่าประเทศไทยมีีศัักยภาพและมีีความชำำ�นาญ ในการเพาะเลี้ย�้ งเเมลงในเชิงิ พาณิชิ ย์์ เช่น่ จิ้้ง� หรีีด ตั๊๊ก� เเตน หนอนไหม และเเมงดานา เเละได้ม้ ีีการส่ง่ เสริมิ ให้เ้ กษตรกรเลี้ย�้ งจิ้ง� หรีีด เนื่่อ� งจากเป็น็ เเมลงที่่เ� ลี้ย้� งง่า่ ย ใช้พ้ ื้้น� ที่่� และน้ำ��ำ น้้อยในการเลี้�้ยง รวมทั้้�งไม่่ต้้องใช้้เทคโนโลยีีและต้้นทุุนในการเลี้�้ยงที่่�สููง จึึงเหมาะสมกัับพื้้�นที่่�เเห้้งเเล้้งหรืือพื้้�นที่่�ชนบท ทำำ�ให้้เป็็นการเพิ่่�มรายได้้ให้้เเก่่ เกษตรกรในช่ว่ งหลังั การทำ�ำ นาหรือื ในช่ว่ งเเห้้งเเล้ง้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย ส�ำนักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและ อาหารแหง่ ชาติ (มกอช.) จงึ ไดร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ งจดั ท�ำมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับฟาร์มจิ้งหรีด (มกษ.8202- 2560) เปน็ มาตรฐานทั่วไป เพอื่ สรา้ งความเชอ่ื ม่ั นของผบู้ รโิ ภคตอ่ ความปลอดภยั ของผลิตผลจากจ้ิงหรีดโดยมีกรมปศุสัตว์เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการตรวจ รับรองตามมาตรฐานฟาร์มจิง้ หรีด (มกษ.8202-2560) สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

16 Annual Report 2020 เปา้ หมายการด�ำเนินงาน อบรมเกษตรกรผเู้ ลย้ี งจง้ิ หรีดที่มีความสนใจในการเขา้ สูฟ่ ารม์ มาตรฐาน และด�ำเนนิ การตรวจประเมนิ เพอื่ ใหก้ ารรบั รอง มาตรฐานฟาร์มตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับฟาร์มจ้ิงหรีด (มกษ.8202-2560) หรือ GAP และให้การรับรอง สถานประกอบการผลติ ผลติ ภณั ฑจ์ ง้ิ หรีดแปรรปู เพอื่ การสง่ ออกใหม้ จี �ำนวนที่เพมิ่ ขึ้น รองรบั การสง่ ออกไปตลาดตา่ งประเทศ ผลการดำำ�เนินิ งาน ปัจั จุุบัันมีีฟาร์์มจิ้�งหรีีดได้ร้ ัับรอง GAP มีีจำ�ำ นวน 41 แห่่ง และสถาน ประกอบการผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์จ์ิ้ง� หรีีดแปรรููปเพื่่อ� การส่ง่ ออกได้ร้ ับั การรับั รอง เพื่่�อการส่ง่ ออก 1 แห่่ง (ข้้อมููล ณ วันั ที่่� 30 กันั ยายน 2563) ประโยชน์ท์ ี่่�ได้จ้ ากการรัับรองฟาร์ม์ จิ้้�งหรีดี เกษตรกรมีีทางเลืือกในการประกอบอาชีีพ เนื่่�องจากใช้้พื้้�นที่่�น้้อย รวมถึึงเป็็นอาชีีพเสริิม รวมถึึงเป็็นการส่่งเสริิมให้้ เกษตรกร และผู้้ป� ระกอบการเตรีียมความพร้้อมในการผลิิตเพื่่อ� การส่่งออก เนื่่�องจากต่่างประเทศเริ่�มให้ค้ วามสนใจมากขึ้�น และมีีแนวโน้ม้ ที่่�จะมีีการบริโิ ภคผลิิตภัณั ฑ์จ์ ากแมลงมากยิ่�งขึ้�น เช่น่ สหภาพยุโุ รป ปัญั หาและอุุปสรรค • เกษตรกรส่่วนใหญ่่เป็น็ ระดัับครััวเรือื น ขาดเงินิ ทุุนในการปรับั ปรุุงและพัฒั นาฟาร์์มเข้า้ สู่่�ฟาร์์มมาตรฐาน (GAP) • เกษตรกรส่่วนใหญ่ข่ าดความรู้้�ด้า้ นการตลาดและช่่องทางการขาย • สถานประกอบการผลิติ ผลิิตภััณฑ์แ์ ปรรููปจิ้ง� หรีีดมีีน้้อย ทำำ�ให้้มีีการรัับซื้อ� จิ้�งหรีีดจากเกษตรกรน้อ้ ย • แหล่่งข้้อมููลด้า้ นการเพาะเลี้้ย� งจิ้�งหรีีดยังั มีีการเผยแพร่่ไม่ม่ ากพอ Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 17 การรับรองการปฏบิ ัตทิ างการเพาะเล้ยี งสัตว์ทีด่ ี สำ�ำ หรับั คอกสุุนััข คอกแมว นายกรััฐมนตรีีให้้ความสำ�ำ คััญในการเลี้้�ยงสุุนััขและแมวเชิิงพาณิิชย์์ ให้้ได้้มาตรฐาน เป็็นไปตามสวััสดิิภาพสััตว์์ กรมปศุุสััตว์์ จึึงเตรีียมเปิิดขอบข่่ายการรัับรองมาตรฐานการปฏิิบััติิทางการเพาะเลี้้�ยงสััตว์์ที่่�ดีีสำำ�หรัับคอกสุุนััข คอกแมว เชิิงพาณิิชย์์ เพื่่�อป้้องกัันไม่่ให้้เกิิดการทารุุณกรรมสััตว์์ และให้้สุุนััขมีีสวััสดิิภาพในการเลี้�้ยงที่่�ดีี สุุขภาพแข็็งแรงสมบููรณ์์ มีีสุุขอนามััยที่่ด� ีี ปลอดจากโรคระบาด เนื่่�องจากประเทศไทยมีีผู้�้ นิิยมเลี้้�ยงสุุนััขและแมวหลากหลายพัันธุ์์� ทำ�ำ ให้้มีีผู้�้ประกอบการคอกสุุนััข คอกแมว เพิ่่�มมากขึ้�น การจััดการเลี้�้ยงที่่�เหมาะสมจะส่่งผลดีีต่่อสุุขภาพสััตว์์ สวััสดิิภาพสััตว์์ และป้้องกัันการระบาดของโรคที่่�สำำ�คััญ รวมทั้�้งส่่งผลต่่อกิิจการเลี้�้ยงสุุนััขและแมวเชิิงพาณิิชย์์และสุุขภาพของคนในประเทศได้้ นอกจากนี้้�ยัังส่่งเสริิมให้้ ผู้้�ประกอบการที่่�เพาะพัันธุ์์�สุุนััขและแมวเชิิงพาณิิชย์์ในประเทศไทย ยกระดัับมาตรฐานในการเพาะเลี้้�ยงสุุนััขที่่�ดีี มีีรายละเอีียดและวิิธีีการปฏิิบััติิที่่�สามารถปฏิิบััติิได้้จริิงและเป็็นไปตามหลัักการจััดการเพาะเลี้�้ยงสััตว์์ที่่�ดีีให้้ได้้ลููกสุุนััขและ แมวที่่�มีีสุุขภาพแข็็งแรงสมบููรณ์์ มีีสุุขอนามััยที่่�ดีี และมีีการจััดการเลี้�้ยงตามหลัักสวััสดิิภาพสััตว์์ ลดปััญหาการทารุุณกรรม สััตว์์และการระบาดของโรคที่่ม� าจากสถานที่่�เพาะพันั ธุ์์�สุุนัขั อีีกด้ว้ ย โดยปีี 2563 มีีคอกสุุนััขที่่�ได้ร้ ับั รองมาตรฐานการปฏิบิ ัตั ิทิ างการเพาะเลี้�้ยงสััตว์ท์ ี่่�ดีีสำ�ำ หรัับคอกสุนุ ัขั จำ�ำ นวน 1 ราย สำำ�นักั พััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

18 Annual Report 2020 การรับั รองการปฏิบิ ััติทิ ี่่ด� ีีสำ�ำ หรัับปางช้า้ ง ปััจจุุบัันช้้างมีีบทบาทด้้านการท่่องเที่่�ยวของประเทศไทย และสร้้างรายได้้ที่่�สำำ�คััญของประเทศ ทั้้�งในส่่วนเศรษฐกิิจ ภาพลัักษณ์์ และอัตั ลัักษณ์ข์ องการท่่องเที่่�ยวของประเทศ อย่า่ งไรก็็ตาม พบว่่าปางช้า้ งบางส่ว่ นยังั ขาดความรู้�้ ความเข้้าใจใน เรื่อ� งการปฏิิบััติิที่่�ดีีในการจััดการเลี้้�ยงช้า้ งที่่�ถููกต้อ้ งและเหมาะสม ไม่่ได้้คำำ�นึึงถึึงเรื่�องสุุขภาพช้า้ งและหลัักสวัสั ดิิภาพสััตว์ ์ ส่ง่ ผลให้้เกิิดปััญหาต่อ่ สุขุ ภาพช้้าง การทารุุณกรรมช้้าง ปััญหาช้า้ งทำ�ำ ร้า้ ยนัักท่่องเที่่�ยว รวมทั้ง้� เกิดิ ปััญหาต่่อสิ่ง� แวดล้้อมจากมููล ช้้างและขยะมููลฝอยที่่�เกิดิ ขึ้้น� โดยสำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองด้า้ นการปศุสุ ัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์ไ์ ด้เ้ ตรีียมความพร้อ้ มในการรับั รองมาตรฐานการปฏิบิ ัตั ิิ ที่่ด� ีีปางช้า้ ง ที่่ส� ำ�ำ นักั งานมาตรฐานสินิ ค้า้ เกษตรและอาหารแห่ง่ ชาติิ (มกอช.) ได้จ้ ัดั ทำ�ำ มาตรฐานขึ้้น� โดยมาตรฐานนี้ม้� ีีขอบข่า่ ย กำ�ำ หนดการปฏิิบััติิที่่ด� ีีสำำ�หรับั ปางช้้าง ที่่ม� ีีการประกอบกิิจการเลี้ย้� งหรืือรวบรวมช้า้ ง เพื่่อ� การท่อ่ งเที่่�ยว การแสดง หรืือการ ประกอบกิจิ การอื่น� ที่่แ� สวงหาผลประโยชน์จ์ ากช้า้ ง ไม่ว่ ่า่ จะมีีการเรีียกเก็บ็ ค่า่ ดููหรือื ค่า่ บริกิ ารในทางตรงหรือื ทางอ้อ้ มหรือื ไม่่ ก็ต็ าม ซึ่�่งข้อ้ กำำ�หนดครอบคลุมุ องค์ป์ ระกอบปางช้้าง การจัดั การปางช้า้ ง บุคุ ลากร สุขุ ภาพช้า้ งสวัสั ดิภิ าพช้า้ ง สิ่่�งแวดล้้อม การจััดการด้้านความปลอดภััย และการบัันทึึกข้้อมููล ทั้ง�้ นี้�้ มาตรฐานฉบัับนี้ไ้� ม่ค่ รอบคลุุมการเลี้ย�้ งช้า้ งในครััวเรืือน โดยไม่่มีี การประกอบกิิจการเกี่ย� วกัับช้้างเพื่่อ� การท่อ่ งเที่่ย� วหรืือการแสดง การเลี้ย�้ งช้า้ งไว้้ใช้ง้ าน และศููนย์์อนุรุ ักั ษ์ช์ ้า้ ง ที่่�เป็น็ กิจิ การ ที่่ไ� ม่แ่ สวงหากำ�ำ ไร Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 19 ระบบคอมพาร์ท์ เมนต์ส์ ัตั ว์์ปีีกปลอดโรคไข้้หวััดนก จากการที่่�ประเทศไทยเกิดิ การระบาดของโรคไข้้หวััดนกเมื่อ� ปีี 2547 ส่ง่ ผลกระทบรุุนแรงต่่อระบบอุุตสาหกรรมสััตว์์ ปีกี ของประเทศไทย ทำำ�ให้้ประเทศคู่่�ค้้าระงับั การนำ�ำ เข้า้ สินิ ค้า้ เนื้้อ� สััตว์์ปีีกของประเทศไทย เกิดิ ความชะงักั ในระบบการผลิิต ของอุตุ สาหกรรมที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั การผลิติ สัตั ว์ป์ ีกี ทุกุ ชนิดิ กรมปศุสุ ัตั ว์ใ์ นฐานะเป็น็ หน่ว่ ยงานหลักั ที่่ร� ับั ผิดิ ชอบด้า้ นสุขุ ภาพสัตั ว์์ และการผลิติ สัตั ว์์ของประเทศ จึงึ ได้้นำ�ำ หลัักการการจัดั ทำ�ำ คอมพาร์ท์ เมนต์ข์ ององค์์กรสุขุ ภาพสััตว์์ระหว่า่ งประเทศ (World Organization for Animal Health หรืือ OIE) มาปรับั ใช้้ และได้้ออกประกาศกรมปศุสุ ััตว์์ เรื่�อง ระบบคอมพาร์ท์ เมนต์ใ์ น อุุตสาหกรรมสัตั ว์์ปีกี ไทย พ.ศ. 2549 โดยรัับรองเฉพาะฟาร์์มสััตว์ป์ ีกี เนื้้อ� (ไก่่เนื้้อ� และเป็ด็ เนื้้�อ) เท่่านั้้น� จนถึงึ ปีี 2560 กรม ปศุสุ ััตว์ไ์ ด้้ศึกึ ษาเส้้นทางนำ�ำ เข้า้ ของเชื้อ� ไข้้หวัดั นกในฟาร์ม์ สัตั ว์ป์ ีีกและสถานที่่�ฟักั ไข่่สััตว์์ปีีก เพื่่อ� ใช้้วิิธีีการประเมินิ ความเสี่�ยง ตามและสร้้างมาตรการลดความเสี่�ยงตามหลัักการของ HACCP ประกอบการจัดั ทำ�ำ ระบบคอมพาร์ท์ เมนต์ส์ ััตว์ป์ ีกี ปลอดโรค ไข้้หวััดนก ตามแนวทางขององค์ก์ ารโรคระบาดสััตว์์ระหว่่างประเทศ (OIE) และได้้มีีประกาศกรมปศุสุ ััตว์์ เรื่�อง การรับั รอง ระบบคอมพาร์์ทเมนต์์ปลอดโรคไข้้หวัดั นก พ.ศ. 2560 เพื่่อ� ปรัับปรุงุ ระบบการรับั รองฯ ให้ม้ ีีประสิทิ ธิิภาพมากขึ้น� อีีกด้้วย จำำ�นวนสถานประกอบการคอมพาร์์ทเมนต์์ที่่ไ� ด้ร้ ัับรองในปััจจุบุ ััน ประเภทสถานประกอบการ จ�ำนวนสถานประกอบการ (แห่ง) จำำ�นวนสััตว์์ปีีกต่อ่ รุ่่�น (ตัวั ) เป็ดเนื้อ 8 1,010,000 เปด็ พนั ธุ์ 7 269,400 ไก่เน้อื 203 68,043,786 ไกพ่ ันธุ์ 31 3,819,580 โรงฟกั 9 6,133,900 รวม 258 79,276,666 สำ�ำ นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

20 Annual Report 2020 ปศุุสัตั ว์์อินิ ทรียี ์์ (Organic Livestock) ปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์เป็็นอีีกทางเลืือกหนึ่่�งของผู้�้บริิโภคที่่�ห่่วงใยสุุขภาพ โดยปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์เป็็นวิิถีีการผลิิตภายใต้้ ระบบการจััดการการผลิิตด้้านการเกษตรแบบองค์์รวมที่่�เกื้ �อหนุุนต่่อระบบนิิเวศรวมถึึงความหลากหลาย ทางชีีวภาพ โดยเน้้นการใช้้วััสดุุธรรมชาติิ หลีีกเลี่�ยงการใช้้วััตถุุดิิบจากการสัังเคราะห์์ ขณะเดีียวกัันการทำ�ำ ปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์ยัังมีีข้้อจำำ�กััด ในการผลิิตซึ่ง�่ ยังั ไม่ส่ ามารถผลิติ ในลักั ษณะขนาดใหญ่่ได้้ ทำำ�ให้ส้ ิินค้า้ อินิ ทรีีย์์มีีราคาสููง ดังั นั้้น� เพื่่�อขยายโอกาสทางการตลาด ให้้กัับผู้้�ประกอบการ การพััฒนามาตรฐานการผลิิตตามหลัักเกษตรอิินทรีีย์์ให้้เป็็นที่่�เชื่�อถืือในระดัับสากลและสามารถ ตรวจสอบได้้ จะช่ว่ ยสร้้างความมั่�นใจให้้ผู้บ�้ ริิโภคในการเลือื กซื้�อผลิิตภััณฑ์์ มาตรฐานสิินค้้าเกษตร ที่่�เกี่�ยวข้้องกัับเกษตรอิินทรีีย์์ โดย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ภายใต้้พระราชบััญญััติิ มาตรฐานสิินค้า้ เกษตร พ.ศ. 2551 ประกอบด้ว้ ย • เล่่ม 1 - 2552 : การผลิิต แปรรููป แสดงฉลาก และจำำ�หน่า่ ยผลิิตผลและผลิิตภัณั ฑ์์เกษตรอินิ ทรีีย์์ • แนวปฏิิบััติิในการใช้้มาตรฐานสินิ ค้า้ เกษตร เล่่ม 1 (G) - 2557 การผลิิต แปรรููป แสดงฉลาก และจำำ�หน่า่ ยผลิิตผล และผลิิตภัณั ฑ์์เกษตรอิินทรีีย์์ • เล่ม่ 2 - 2561 : ปศุสุ ััตว์อ์ ิินทรีีย์์ • เล่่ม 6 - 2556 : ผึ้้�งอิินทรีีย์์ สรุปุ ขั้�นตอนการขอรับั รองปศุุสัตั ว์์อินิ ทรียี ์์ 1. เกษตรกรหรืือผู้�้ประกอบการต้้องปรัับปรุุงฟาร์์มตาม ข้อ้ กำ�ำ หนดการผลิติ ปศุสุ ัตั ว์อ์ ิินทรีีย์์ โดยขอคำำ�แนะนำำ� จากเจ้า้ หน้า้ ที่่�ปศุุสััตว์จ์ ังั หวััด 2. เกษตรกรหรืือผู้�้ประกอบการยื่ �นแบบฟอร์์มการขอ รัับรองที่่ส� ำ�ำ นักั งานปศุุสัตั ว์จ์ ังั หวััดและปศุสุ ััตว์์อำำ�เภอ 3. กรมปศุสุ ััตว์จ์ ะจััดส่่งเจ้้าหน้า้ ที่่�เข้า้ ไปตรวจประเมินิ ฟาร์์ม 4. เกษตรกรหรืือผู้้�ประกอบการสามารถดำำ�เนิินการผลิิตครบถ้้วนเป็็นไปตามข้้อกำ�ำ หนดมาตรฐานปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์ กรมปศุุสัตั ว์์จะพิจิ ารณาให้้การรัับรอง เป็น็ เวลา 3 ปีี ในปีงี บประมาณ 2563 มีีฟาร์ม์ /สถานประกอบการ ตามเป้้าหมายโครงการปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์ จำำ�นวน 80 แห่่ง และได้ด้ ำำ�เนินิ การตรวจประเมินิ ตามแบบฟอร์ม์ และเอกสาร ประกอบการปฏิิบััติิงานที่่�สำำ�นัักพััฒนาระบบและรัับรอง มาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ััตว์ไ์ ด้้กำำ�หนด จำ�ำ นวน 134 แห่ง่ โดยมีี ฟาร์์มที่่�ได้้รัับการรัับรองปศุุสััตว์์อิินทรีีย์์ (รายใหม่่) จำ�ำ นวน 65 แห่่ง Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 21 ผลงานการรับั รองของกรมปศุสุ ัตั ว์์ในปัจั จุบุ ันั ให้ก้ ารรับั รองปศุสุ ัตั ว์อ์ ินิ ทรียี ์จ์ ำ�ำ นวนรวม 169 แห่ง่ ภายใต้้ ตราสััญลัักษณ์์ DLD ORGANIC มีีรายละเอีียด ดัังนี้้� ขอบข่่าย จ�ำนวน (แห่ง) จัังหวัดั ที่�่ได้้รัับรอง ระบบการผลิติ โคนมและน้ำ�ำ�นมดิบิ อินิ ทรีีย์์ 11 สระบุุรีี (8 ฟาร์์ม) นครราชสีีมา (3 ฟาร์ม์ ) ระบบการผลิติ ผลิติ ภััณฑ์น์ ้ำำ��นมพาสเจอไรส์อ์ ินิ ทรีีย์์ 3 นครราชสีีมา (2 โรงงาน) สระบุรุ ีี (1 โรงงาน) ระบบการผลิิตไก่่พื้้�นเมือื งอิินทรีีย์์ 3 อำ�ำ นาจเจริิญ (1 ฟาร์์ม) นครศรีีธรรมราช (1 ฟาร์ม์ ) เชีียงราย (1 ฟาร์์ม) ระบบการผลิติ ไก่่เนื้้�ออิินทรีีย์์ 2 เชีียงใหม่่ (1 ฟาร์์ม) นครปฐม (1 ฟาร์ม์ ) ระบบการผลิติ สุุกรอินิ ทรีีย์์ 6 เชีียงราย (6 ฟาร์์ม) ระบบการผลิิต ผลิิตภัณั ฑ์์เนื้้�อสุกุ รอิินทรีีย์์ 1 เชีียงราย (1 ฟาร์์ม) ระบบการผลิิต ผลิิตภััณฑ์์แปรรููปเนื้้�อสุุกรอิินทรีีย์์ 1 เชีียงราย (1 ฟาร์์ม) เชีียงราย (51 ฟาร์์ม) สุรุ ินิ ทร์์ (8 ฟาร์์ม) อำ�ำ นาจเจริิญ (1 ฟาร์ม์ ) ระยอง (1 ฟาร์ม์ ) อุุทัยั ธานีี (1 ฟาร์ม์ ) นครปฐม (2 ฟาร์์ม) จันั ทบุุรีี ระบบการผลิิตไก่ไ่ ข่่และไข่ไ่ ก่อ่ ินิ ทรีีย์์ 94 (1 ฟาร์ม์ ) เชีียงใหม่่ (5 ฟาร์์ม) ร้้อยเอ็ด็ (1 ฟาร์ม์ ) ยโสธร (6 ฟาร์์ม) ฉะเชิิงเทรา (11 ฟาร์์ม) อุบุ ลราชธานีี (5 ฟาร์ม์ ) นครนายก (1 ฟาร์์ม) ระบบการผลิติ เป็็ดไข่่และไข่เ่ ป็ด็ อินิ ทรีีย์์ 1 นครปฐม (1 ฟาร์ม์ ) ระบบการผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์์ปศุสุ ััตว์์อิินทรีีย์์ 1 สมุทุ รปราการ (1 โรงงาน) ระบบการผลิิต ผลิติ ภััณฑ์์ปศุสุ ััตว์์อินิ ทรีีย์์ 3 เชีียงราย (2 โรงงาน) (ศููนย์์รวบรวมไข่่ไก่่อิินทรีีย์์) ฉะเชิงิ เทรา (1 โรงงาน) ระบบการผลิิตวััตถุุดิบิ อาหารสััตว์์อิินทรีีย์์ (ปลาป่น่ ) 2 ระนอง (2 โรงงาน) ระบบการผลิิตพืชื อาหารสััตว์อ์ ิินทรีีย์์ 41 สกลนคร (1 แห่่ง) สระแก้ว้ (1 แห่่ง) เชีียงราย (38 แห่ง่ ) สกลนคร (1 แห่่ง) รวม 169 20 จังั หวัดั ที่่�มา : สำำ�นักั พััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์ ์ ข้้อมููล ณ วันั ที่่� 30 กันั ยายน 2563 สำำ�นักั พััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

22 Annual Report 2020 โครงการฟาร์์มรักั ษ์ส์ ิ่่ง� แวดล้้อม ปััจจุุบัันการเลี้้�ยงปศุุสััตว์์ นั้้�นก่่อปััญหาด้้านมลภาวะต่่อสิ่�งแวดล้้อม โดยเฉพาะฟาร์์มสุุกร เป็็นอีีกหนึ่่�งสาเหตุุ ในการก่่อให้้เกิิดผลกระทบดัังกล่่าว เช่่นกลิ่�น มููลสุุกร และน้ำำ�� ทิ้้�งจากการชำำ�ระล้้างสุุกรและโรงเรืือนลงสู่�แม่่น้ำ��ำ ลำ�ำ คลอง สาธารณะ ดังั นั้้�นจึงึ ได้ม้ ีีการจัดั ให้ม้ ีีโครงการ ฟาร์ม์ รักั ษ์ส์ิ่ง� แวดล้อ้ ม ในฟาร์ม์ สุกุ ร ซึ่ง�่ โครงการนี้ม้� ีีวัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่่อ� การพัฒั นา และกระตุ้้�นจิิตสำ�ำ นึึกของเกษตรกรในการจััดการฟาร์์มให้้ได้้มาตรฐานเพื่่�อลดปััญหาด้้านกลิ่�น และน้ำำ�� เน่่าเสีียซึ่�่งอาจให้้เกิิด ความเดือื ดร้อ้ นแก่ป่ ระชาชนในบริเิ วณใกล้เ้ คีียง จึงึ ควรเสริมิ สร้า้ งความรู้�้ ความเข้า้ ใจในการจัดั การด้า้ นสิ่่ง� แวดล้อ้ มในฟาร์ม์ สุกุ ร เนื่่�องด้้วยสถานการณ์์โรคระบาดไวรััสโคโรน่่า (โควิิด-19) ดำำ�เนิินการตรวจประเมิินฟาร์์มรัักษ์์สิ่�งแวดล้้อมผ่่านวิิดิิโอ คอนเฟอเรนต์์ ผลการดำ�ำ เนิินงานปีีงบประมาณ 2563 มีีฟาร์์มสุุกรเข้้าร่่วมโครงการและผ่่านการตรวจประเมิินฯ จากสำำ�นัักงานปศุุสััตว์เ์ ขต 1 – 9 และสำำ�นัักพััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ จำำ�นวน 113 ฟาร์์ม ดัังนี้้� เขต จำำ�นวนฟาร์์มที่เ�่ ข้า้ ร่่วมโครงการฟาร์์มรักั ษ์ส์ิ่�งแวดล้้อม (ฟาร์์ม) 18 2 15 3 18 4 19 5 13 6 14 7 11 89 96 รวม 113 Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 23 การควบคุุมโรงฆ่า่ สััตว์์ภายในประเทศ ตามที่่พ� ระราชบัญั ญัตั ิคิ วบคุมุ การฆ่า่ สัตั ว์เ์ พื่่อ� การจำ�ำ หน่า่ ยเนื้้อ� สัตั ว์ ์ พ.ศ. 2559 มีีผลบังั คับั ใช้เ้ มื่อ� วันั ที่่� 25 พฤศจิกิ ายน 2559 โดยมีีสาระสำำ�คััญในเรื่อ� งหลัักเกณฑ์ใ์ นการพิจิ ารณาอนุุญาตให้ป้ ระกอบกิิจการฆ่า่ สัตั ว์ใ์ ห้้มีีเอกภาพมากยิ่�งขึ้�น รวมถึึง ระบบการควบคุมุ การตรวจสอบสุขุ อนามัยั ในกระบวนการขนส่ง่ เนื้้อ� สัตั ว์แ์ ละการตรวจสอบย้อ้ นกลับั ดังั นั้้น� เพื่่อ� ให้ก้ ารบังั คับั ใช้้กฎหมายมีีเอกภาพและสร้้างระบบการควบคุุมตรวจสอบคุุณภาพในกระบวนการฆ่่าสััตว์์และการขนส่่งเนื้้�อสััตว์์เพื่่�อการ จำ�ำ หน่่ายให้้ได้้มาตรฐานยิ่่�งขึ้�นและเพื่่�อสร้้างความปลอดภััยด้้านอาหาร อัันเป็็นการคุ้�มครองผู้�้บริิโภคให้้ได้้บริิโภคเนื้้�อสััตว์์ ที่่�ถููกสุุขอนามัยั 10 แห่ง่ กรมปศุุสััตว์์ในฐานะหน่่วยงานหลัักของประเทศที่่�มีีหน้้าที่่� 603 แห่ง่ ในการควบคุุมมาตรฐานและคุุณภาพสิินค้้าปศุุสััตว์์และกฎหมาย ที่่เ� กี่ย� วข้อ้ งกับั ปศุสุ ัตั ว์โ์ ดยกำำ�กับั ดููแลตั้ง� แต่ข่ั้น� ตอนการผลิติ ระดับั ฟาร์ม์ 1,575 แห่ง่ โรงฆ่า่ สัตั ว์จ์ นถึงึ ผู้บ�้ ริโิ ภค (From Farm to Table) ตามมาตรการอาหาร 475 แห่่ง ปลอดภัยั ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ในปัจั จุบุ ันั มีีโรงฆ่า่ สัตั ว์ท์ ี่่ไ� ด้้ รัับการรัับใบอนุุญาตประกอบกิิจการฆ่่าสััตว์์ถููกต้้องตามกฎหมายและ สัตั ว์์ปีกี โค-กระบืือ สุุกร แพะ-แกะ ดำำ�เนินิ การทั้้ง� สิ้�น จำ�ำ นวน 2,663 แห่ง่ ผลการดำำ�เนินิ งานด้้านการบัังคับั ใช้ก้ ฎหมาย ในปีีงบประมาณ 2563 1. ผลการดำ�ำ เนินิ การตรวจประเมินิ โรงฆ่า่ สัตั ว์์ที่่�ได้้รัับใบอนุุญาตฯ (กฆ.1) ตามกฎกระทรวงกำ�ำ หนดหลัักเกณฑ์ ์ วิธิ ีีการ และเงื่�อนไขในการตั้ง� โรงฆ่่าสัตั ว์์ โรงพักั สััตว์์ และการฆ่า่ สัตั ว์์ พ.ศ. 2555 โดยทำำ�การตรวจประเมินิ โรงฆ่า่ สััตว์ป์ ีีละ 2 ครั้้ง� ซึ่ง�่ หากพบผู้�ป้ ระกอบการโรงฆ่่าสััตว์ท์ ี่่ไ� ม่ป่ ฏิิบัตั ิิตามกฎกระทรวง จะถููกดำ�ำ เนินิ การตามกฎหมาย ได้้แก่่ การแจ้ง้ เตืือน การพักั ใช้้ใบอนุุญาต และเพิิกถอนใบอนุญุ าต ช่่วงที่่� 1 เดืือนตุลุ าคม 2562 – เดืือนมีีนาคม 2563 ช่ว่ งที่่� 2 เดืือนเมษายน 2563 – เดืือนกันั ยายน 2563 • ตรวจประเมิิน 2,486 แห่่ง • ตรวจประเมินิ 2,553 แห่่ง • แจ้้งเตืือน 383 แห่ง่ • แจ้ง้ เตืือน 308 แห่ง่ • พักั ใช้้ 1 แห่่ง • พัักใช้ ้ 2 แห่ง่ • เพิกิ ถอน 1 แห่่ง • เพิกิ ถอน 1 แห่ง่ 2. ผลการดำ�ำ เนิินการบังั คัับใช้้กฎหมายตามพระราชบัญั ญัตั ิคิ วบคุมุ การฆ่า่ สัตั ว์์และการจำำ�หน่า่ ยเนื้้�อสัตั ว์์ พ.ศ. 2559 สามารถจัับกุุมผู้ก�้ ระทำำ�ความผิดิ รวมทั้ง�้ สิ้น� 158 คดีี สำ�ำ นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

24 Annual Report 2020 การรัับรองมาตรฐานการผลิิตของโรงฆ่า่ สััตว์์และโรงงานผลิิต ผลิิตภััณฑ์ป์ ศุุสัตั ว์เ์ พื่�่อการส่ง่ ออก กรมปศุสุ ัตั ว์ไ์ ด้ท้ ำ�ำ หน้า้ ที่่ใ� นการควบคุมุ การผลิติ สินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ท์ ั้ง�้ วงจรการผลิติ ให้ไ้ ด้ม้ าตรฐานและเป็น็ ไปตามหลักั ความ ปลอดภัยั ทางอาหารอย่า่ งต่อ่ เนื่่อ� ง ซึ่ง�่ ปัจั จุบุ ันั อุตุ สาหกรรมการเลี้ย้� งสัตั ว์แ์ ละการส่ง่ ออกสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ม์ ีีการขยายตัวั เพิ่่ม� มาก ขึ้น� ส่ง่ ผลให้ผ้ ู้ป้� ระกอบการมีีความตื่น� ตัวั และมีีแนวโน้ม้ ที่่จ� ะขอรับั รองระบบการปฏิบิ ัตั ิใิ นการผลิติ อาหารที่่ด� ีีของโรงงานผลิติ ผลิิตภััณฑ์์ปศุุสััตว์์เพื่่�อการส่่งออกเพิ่่�มมากขึ้�นตามมา โดยกลุ่�มรัับรองด้้านการปศุุสััตว์์ เป็็นหน่่วยงานที่่�ดำ�ำ เนิินการด้้านการ รัับรองระบบ การจััดการสุุขลัักษณะที่่ด� ีีในสถานประกอบการ (GMP) และระบบการวิิเคราะห์์อัันตรายและจุุดวิิกฤตที่่�ต้้อง ควบคุุม (HACCP) จึึงดำำ�เนินิ การเพื่่อ� สนับั สนุนุ การส่ง่ ออก ดังั ต่่อไปนี้้� 1. ดำ�ำ เนินิ การตรวจรัับรองโรงงานผลิติ ผลิิตภัณั ฑ์์ปศุุสััตว์เ์ พื่่�อการส่่งออก ฝ่่ายรัับรองโรงงานผลิิตผลิิตภััณฑ์์ปศุุสััตว์์เพื่่�อการส่่งออก กลุ่�มรัับรองด้้านการปศุุสััตว์์ ได้้ดำำ�เนิินการตรวจรัับรอง โรงงานอย่่างต่อ่ เนื่่�อง โดยจากข้้อมููล ณ วัันที่่� 30 กัันยายน 2563 พบว่่าจำำ�นวนโรงงานผลิิตผลิติ ภัณั ฑ์์ปศุสุ ััตว์์เพื่่�อการส่ง่ ออก มีีจำำ�นวนทั้้�งสิ้�น 301 โรงงาน ชนดิ โรงงาน จ�ำนวนโรงงาน โรงงานแปรรูปเนื้อสตั ว์ (เนอื้ ไก่, เนือ้ เป็ด, เนอ้ื โค, เนื้อสกุ ร, เนือ้ จิง้ หรีด) 84 โรงงานฆา่ สัตว์(ไก่, เปด็ , โค, แพะ, สกุ ร) 52 โรงงานผลิตผลติ ภณั ฑน์ ม 45 หอ้ งเกบ็ สินค้าและห้องเยน็ เกบ็ สินค้าเพ่อื การสง่ ออก 24 โรงงานตัดแต่ง 13 โรงงานผลิตผลติ ภณั ฑไ์ ข่ 15 โรงงานผลติ ผลติ ภัณฑ์จากผ้งึ 16 โรงงานแปรรูปเนือ้ สัตว์บรรจุภาชนะปิดสนทิ 20 โรงงานผลติ ผลติ ภัณฑร์ ังนก 13 ศูนยร์ วบรวมและคัดไข่เพ่ือการสง่ ออก 15 โรงงานผลิตบะหม่กี ่ึงส�ำเร็จรปู 3 โรงงานผลติ เจลาติน 1 301 รวม ตารางแสดงจำ�ำ นวนโรงงานผลิิตผลิติ ภััณฑ์ป์ ศุุสัตั ว์์เพื่่�อการส่่งออก แต่่ละประเภทที่่ไ� ด้้รับั การรัับรอง GMP Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 25 โรงงานที่่�ได้้รัับการรัับรองเพื่่อ� การส่่งออกจากกรมปศุสุ ััตว์์ โรงฆ่่าสััตว์์ (52) 17% โรงงานแปรรููปผลิิตภััณฑ์์ จากสััตว์์ (89) 30% อื่่�น ๆ (43) 14% โรงงานแปรรููป เนื้้อ� สัตั ว์์ (104) 35% โรงงานตััดแต่ง่ เนื้้�อสััตว์์ (13) 4% แผนภููมิิจำ�ำ นวนโรงงานที่่�ได้้รับั การรัับรองในการผลิิตผลิิตภััณฑ์จ์ ากสัตั ว์์เพื่่�อการส่่งออกจากกรมปศุสุ ััตว์์ โรงฆ่า่ สััตว์์ แผนภููมิิแสดงจำำ�นวนโรงงานได้ร้ ัับรองขอบข่า่ ยโรงงานฆ่่าสััตว์์เพื่่�อการส่ง่ ออก สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

26 Annual Report 2020 โรงงานตััดแต่ง่ เนื้้อ� สััตว์์ แผนภููมิิแสดงจำำ�นวนโรงงานได้ร้ ับั รองขอบข่า่ ยโรงตัดั แต่ง่ เนื้้อ� สััตว์์เพื่่�อการส่่งออก โรงแปรรููปเนื้้อ� สัตั ว์์ แผนภููมิิแสดงจำ�ำ นวนโรงงานได้ร้ ัับรองขอบข่า่ ยโรงแปรรููปเนื้้�อสััตว์เ์ พื่่อ� การส่่งออก โรงงานแปรรููปผลิิตภััณฑ์จ์ ากสัตั ว์์ แผนภููมิิแสดงจำ�ำ นวนโรงงานได้ร้ ัับรองขอบข่า่ ยโรงงานแปรรููปผลิิตภััณฑ์จ์ ากสััตว์์เพื่อ�่ การส่ง่ ออก Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 27 หมายเหตุุ * ข้อ้ มููล ณ วันั ที่่� 31 กัันยายน 2563 **แต่ล่ ะโรงงานสามารถได้้รับั การรัับรองมากกว่า่ 1 ขอบข่่าย ซึ่่ง� ในปีงี บประมาณ 2563 ได้ด้ ำ�ำ เนิินการตรวจรับั รองโรงงานผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์์ปศุสุ ััตว์์เพื่่อ� การส่ง่ ออกดังั ต่่อไปนี้้� กิิจกรรม ระบบ รวม GMP HACCP ตรวจรับั รองโรงงานใหม่่ 45 12 57 ตรวจติดิ ตาม 203 121 324 ตรวจต่่ออายุุ 63 51 114 *ใน 1 โรงงาน อาจรับั รองเฉพาะระบบ GMP หรืือทั้้�งระบบ GMP และระบบ HACCP ตารางแสดงผลการดำ�ำ เนิินงานตรวจรัับรองโรงงานผลิิตผลิติ ภััณฑ์ป์ ศุุสัตั ว์์เพื่่�อการส่่งออกตามมาตรฐาน GMP และ HACCP ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2563 ตารางแสดงผลการรับั รองโรงงานเพื่่�อการส่ง่ ออกตามมาตรฐาน GMP และ HACCP (โรงงานใหม่)่ โดยจำ�ำ แนกตามประเภทของโรงงาน ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2563 มาตรฐานการตรวจ GMP HACCP ห้อ้ งเย็็นเก็บ็ สินิ ค้้า 3- โรงงานผลิติ ผลิิตภัณั ฑ์์นม 61 โรงงานแปรรููปผลิิตภััณฑ์์ไข่่ 22 โรงงานแปรรููปเนื้้อ� สัตั ว์์ 64 โรงฆ่่าสัตั ว์์เพื่่อ� การส่่งออก 42 โรงงานผลิติ ผลิิตภััณฑ์ร์ ังั นก 1- โรงงานแปรรููปเนื้้อ� จิ้�งหรีีด 1- ศููนย์์รวบรวมไข่่ 8- 31 9 รวม ตารางแสดงผลการรับั รองโรงงานเพื่่�อการส่ง่ ออกตามมาตรฐาน GMP และ HACCP (โรงงานใหม่)่ โดยจำ�ำ แนกตามประเภทของโรงงาน ประจำ�ำ ปีีงบประมาณ 2563 สำ�ำ นัักพััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

2. ประเทศไทยมีีผู้้�ประกอบการธุุรกิิจเกี่่�ยวกัับการส่่งออกเนื้้�อสััตว์์และผลิิตภััณฑ์์จากปศุุสััตว์์เป็็นจำำ�นวนมาก และมีีแนวโน้้มที่่�จะเพิ่่�ม จำำ�นวนขึ้้�นอย่่างต่่อเนื่�่องตั้้�งแต่่ปีีพ.ศ. 2559 ถึึง พ.ศ. 2563 ดัังนี้้� จำ�ำ นวนโรงงานที่่�ได้ร้ ับั รอง GMP เพื่�อ่ การส่่งออกจากกรมปศุสุ ััตว์์ ตั้้ง� แต่ป่ ีี 2559 ถึงึ ปีี 2563 ตารางแสดงจำ�ำ นวนโรงงานที่่�ได้้รับั รอง GMP เพื่�่อการส่่งออกจากกรมปศุสุ ัตั ว์ต์ ั้้�งแต่่ ปีีพ.ศ. 2559 ถึงึ พ.ศ. 2563 28 Annual Report 2020 Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 29 การรัับรองการผลิิตโรงงานผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์อ์ าหารสััตว์์เลี้้�ยงเพื่�่อการส่ง่ ออก ขั้�นตอนการดำ�ำ เนิินงานการรับั รองระบบ GMP และระบบ HACCP โรงงานผลิิตอาหารสัตั ว์เ์ ลี้้�ยงเพื่อ่� การส่่งออก (กรณีีรัับรองโรงงานใหม่/่ ต่่ออายุุ) กรณีีรัับรองโรงงานใหม่่ กรณีีรัับรองต่่ออายุุ 1. ผู้้ป� ระกอบการผลิติ อาหารสััตว์์เลี้�ย้ งยื่�นคำำ�ขอ และ 1. ผู้้�ประกอบการผลิิตอาหารสััตว์์เลี้�ย้ งยื่�นคำ�ำ ขอ และ เอกสารหลักั ฐาน ณ กรมปศุุสัตั ว์์ หรืือส่ง่ ทางไปรษณีีย์์ เอกสารหลัักฐาน ณ กรมปศุสุ ัตั ว์์ หรือื ส่ง่ ทางไปรษณีีย์์ (คำ�ำ ขอแบบ รป.1 สำ�ำ หรับั GMP และ รป.2 สำ�ำ หรัับ HACCP) (ทั้ง�้ นี้ใ้� ห้้ยื่น� คำ�ำ ขอก่่อนใบรับั รองฯ เดิมิ หมดอายุไุ ม่่น้อ้ ยกว่่า 30 วััน) (คำ�ำ ขอแบบ ร.ป.1-1 สำ�ำ หรับั GMP และ ร.ป. 2-1 สำ�ำ หรับั HACCP) 2. เจ้้าหน้้าที่่ฝ� ่า่ ยรับั รองฯ รัับคำำ�ขอ ตรวจสอบเอกสารหลักั ฐาน และขอเอกสารเพิ่่�มเติิมผ่า่ นทาง e-mail 3. คณะผู้ต�้ รวจประเมิินฯ ดำำ�เนินิ การตรวจประเมินิ สถานที่่�ผลิิตอาหารสัตั ว์์เลี้้ย� ง ภายใน 45 วันั • แจ้้งผลการตรวจประเมิินให้้ผู้�้ยื่น� คำำ�ขอทราบ • กรณีีรัับรองโรงงานใหม่่ แก้้ไขข้อ้ บกพร่อ่ งภายใน 6 เดือื น กรณีีรัับรองต่่ออายุุ ดำำ�เนินิ การแก้้ไขข้อ้ บกพร่อ่ งภายใน 60 วััน • กรณีีรับั รองโรงงานใหม่ ่ จัดั ทำ�ำ รายงานแก้ไ้ ขข้อ้ บกพร่อ่ งมายังั คณะผู้ต�้ รวจประเมินิ ฯ ทราบ พร้อ้ มทั้ง้� ดำ�ำ เนินิ การตรวจ สถานที่่ผ� ลิติ อาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งเพื่่อ� ปิดิ ข้อ้ บกพร่อ่ งดังั กล่า่ ว กรณีีรับั รองต่อ่ อายุ ุ จัดั ทำ�ำ รายงานแก้ไ้ ขข้อ้ บกพร่อ่ งมายังั สัตั วแพทย์ป์ ระจำ�ำ โรงงานทราบ พร้อ้ มทั้ง้� ดำ�ำ เนินิ การตรวจสถานที่่ผ� ลิติ อาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งเพื่่อ� ปิดิ ข้อ้ บกพร่อ่ งดังั กล่า่ ว 4. คณะผู้ต�้ รวจประเมินิ ฯ นำ�ำ เสนอรายงานผลการตรวจ และการแก้ไ้ ขข้อ้ บกพร่อ่ งให้ค้ ณะกรรมการทบทวนฯ พิจิ ารณา 5. คณะกรรมการทบทวนฯ ดำำ�เนินิ การประชุุม 5. คณะกรรมการทบทวนฯ ดำำ�เนินิ การประชุุม เพื่่�อพิิจารณาและเสนอความเห็็นต่อ่ อธิบิ ดีีหรืือ เพื่่�อพิิจารณาและเสนอความเห็น็ ต่่ออธิบิ ดีีหรือื ผู้้�ซึ่่ง� อธิบิ ดีีมอบหมาย หากมีีมติิเห็น็ ชอบ ผู้ซ้� ึ่ง่� อธิบิ ดีีมอบหมาย หากมีีมติเิ ห็็นชอบ ให้ท้ ำำ�การออกใบรับั รองฯ ภายใน 45 วันั ให้้ทำำ�การออกใบรับั รองฯ (ฉบัับต่อ่ อายุุ) ภายใน 45 วััน ทั้้�งนี้�้ การพิจิ ารณาอนุญุ าตหรืือไม่อ่ นุญุ าตให้ต้ ่อ่ อายุุ ใบรัับรองฯ ต้อ้ งกระทำำ�ให้้เสร็็จภายใน 30 วันั นัับตั้�งแต่่ วัันที่่ไ� ด้้รับั คำ�ำ ขอ ซึ่�่งมีีรายละเอีียดถููกต้อ้ งและครบถ้ว้ น หมายเหตุุ กรณีีตรวจติดิ ตาม ให้้ดำ�ำ เนิินการตรวจติดิ ตามปีีละ 1 ครั้้�ง และหากมีีข้้อบกพร่อ่ ง ให้้ผู้ป้� ระกอบการอาหารสััตว์์ แก้้ไขข้้อบกพร่่องให้เ้ สร็จ็ ภายใน 60 วันั นับั จากวัันที่่ท� ราบผลการตรวจประเมินิ สำำ�นัักพััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

30 Annual Report 2020 ตารางแสดง สถิิติิการรัับรองโรงงานผลิติ อาหารสัตั ว์์เลี้้ย� งเพื่่�อการส่ง่ ออกปีี 2560-2563 ปีงี บประมาณ จำ�ำ นวนโรงงานอาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย� งที่่�ได้้รัับการรัับรอง (โรงงาน) 2560 56 2561 62 2562 69 2563 76 รููปแสดง สถิติ ิิการรับั รองโรงงานผลิติ อาหารสัตั ว์เ์ ลี้้�ยงเพื่�่อการส่่งออกปีี 2560-2563 Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 31 ตารางแสดง การแบ่่งประเภทการรัับรองโรงงานผลิิตอาหารสัตั ว์เ์ ลี้้�ยงเพื่อ�่ การส่ง่ ออกปีี 2563 ประเภทโรงงาน จำ�ำ นวนโรงงาน Canned 33 Tablet 16 Pet snack 38 Dogchew 15 อื่ �นๆ 18 รููปแสดง การแบ่่งประเภทการรับั รองโรงงานผลิิตอาหารสััตว์เ์ ลี้้ย� งเพื่อ�่ การส่ง่ ออกปีี 2563 หมายเหตุุ 1 โรงงานอาจมีีการผลิิตผลิิตภััณฑ์์อาหารสััตว์์เลี้้ย� งมากกว่า่ 1 ชนิดิ สำ�ำ นักั พััฒนาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

32 Annual Report 2020 การตรวจสอบโรงฆ่่าสัตั ว์์และโรงงานแปรรููป เพื่่�อการส่่งออกและการดำ�ำ เนินิ งาน ความปลอดภััยของผลิิตภััณฑ์์อาหารจากสััตว์์สำำ�หรัับการบริิโภคทั้้�งภายในประเทศและการส่่งออกต่่างประเทศ เป็็นหนึ่่�งในความรัับผิิดชอบหลัักของสำำ�นัักพััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ (สพส.) กรมปศุุสััตว์์ ปััจจุุบััน ประเทศไทยประสบความสำำ�เร็็จในการส่่งออกผลิิตภััณฑ์์ปศุุสััตว์์สู่ �ตลาดโลก โดยได้้รัับการจััดอัันดัับให้้เป็็นประเทศที่่�มีี การส่่งออกผลิิตภััณฑ์์จากสััตว์์ปีีกมากเป็็นอัันดัับที่่� 4 ของโลก และยัังเป็็นประเทศชั้้�นนำำ�ในการผลิิตผลิิตภััณฑ์์นมของ กลุ่ �มอาเซีียน  กลุ่ �มตรวจสอบมาตรฐานด้้านการปศุุสััตว์์ มีีภารกิิจในการตรวจสอบและควบคุุมกระบวนการผลิิตของผลิิตภััณฑ์์ ปศุุสััตว์์เพื่่�อการส่่งออก ให้้เป็็นไปตามมาตรฐานสากลเช่่นหลัักการปฏิิบััติิที่่�ดีีในการผลิิตอาหาร (Good Manufacturing Practice:GMP) การวิิเคราะห์์อัันตรายและจุุดวิิกฤตที่่�ต้้องควบคุุม (HACCP) รวมถึึงกฎระเบีียบข้้อบัังคัับของกรมปศุุสััตว์์ และประเทศคู่่�ค้้า ภายใต้้ระบบตรวจสอบย้้อนกลัับเพื่่�อให้้สามารถติิดตามข้้อมููลของผลิิตภััณฑ์์ปศุุสััตว์์ไปยัังโรงงานผลิิต โรงฆ่่าสััตว์แ์ ละฟาร์์มได้้ สพส.จััดเจ้้าหน้้าที่่�สััตวแพทย์์และพนัักงานตรวจเนื้้�อสััตว์์ ไปปฏิิบััติิงานในการตรวจสอบและควบคุุมกระบวนการ ผลิติ ของผู้ป้� ระกอบการ ให้้เป็็นไปตามกฎระเบีียบข้อ้ บังั คับั ของกรมปศุุสััตว์์และประเทศคู่่�ค้้า ณ โรงงานฆ่า่ สััตว์แ์ ละโรงงาน ผลิติ ผลิติ ภัณั ฑ์์ปศุุสััตว์แ์ ช่่เย็น็ /แช่่แข็ง็ เพื่่�อการส่ง่ ออก (Frozen Product) รวมทั้�้งสิ้�น 192 โรงงาน เจ้า้ หน้า้ ที่่ป� ระจำำ�โรงงาน กลุ่�ม Frozen Product ทำ�ำ หน้้าที่่�ในการตรวจสอบกระบวนการผลิิต โดยทำำ�การตรวจสััตว์์ก่่อนฆ่่า ตรวจซากภายหลัังฆ่่า ควบคุมุ การตััดแต่่งไปจนถึงึ การบรรจุุหีีบห่่อและการเก็็บรัักษาคุุณภาพด้ว้ ยความเย็็น ตรวจสอบผลวิิเคราะห์ท์ างห้้องปฏิิบัตั ิิ การของผลิิตภััณฑ์์ให้้ได้้มาตรฐานตามข้้อกำ�ำ หนดของกรมปศุุสััตว์์และประเทศผู้�้ นำ�ำ เข้้า และออกหนัังสืือรัับรองการตรวจ เนื้้�อสััตว์์และผลิิตภััณฑ์์สััตว์์ส่่งออกต่่างประเทศ โดยผลิิตภััณฑ์์ปศุุสััตว์์กลุ่�ม Frozen Product ได้้แก่่ สิินค้้าเนื้้�อไก่่แปรรููป และเนื้้�อไก่่แช่่เย็็น/แช่่แข็็ง เนื้้�อเป็็ดแปรรููปและเนื้้�อเป็็ดแช่่เย็็นแช่่แข็็ง เนื้้�อสุุกรแปรรููปและเนื้้�อสุุกรแช่่เย็็นแช่่แข็็ง เนื้้�อสััตว์์ ผสมแปรรููป เนื้้อ� วััวแปรรููปและเนื้้�อวััวแช่เ่ ย็็นแช่แ่ ข็็ง สำ�ำ หรัับโรงงานผลิิตภัณั ฑ์์อาหารที่่�มาจากสััตว์ห์ รือื ไม่่ได้ม้ าจากสัตั ว์์ (Non-Frozen Product) จำ�ำ นวน 188 โรงงาน สััตวแพทย์์ประจำ�ำ โรงงานทำ�ำ หน้้าที่่�ตรวจสอบกระบวนการผลิิต โดยตรวจสอบวััตถุุดิิบที่่�ใช้้ในการผลิิต การบรรจุุหีีบห่่อ การเก็บ็ รักั ษาคุณุ ภาพ ไปจนถึงึ ผลวิเิ คราะห์ท์ างห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ ารของผลิติ ภัณั ฑ์์ ให้ไ้ ด้ม้ าตรฐานตามข้อ้ กำ�ำ หนดของกรมปศุสุ ัตั ว์์ และประเทศผู้้�นำ�ำ เข้า้ และออกหนังั สือื รับั รองการตรวจผลิติ ภัณั ฑ์ส์ ่ง่ ออกต่า่ งประเทศ โดยผลิติ ภัณั ฑ์ป์ ศุสุ ัตั ว์ก์ ลุ่�ม Non-Frozen Product ได้แ้ ก่ ่ นมและผลิติ ภัณั ฑ์น์ ม น้ำ��ำ ผึ้ง� และผลิติ ภัณั ฑ์น์ ้ำ�ำ� ผึ้ง� อาหารกระป๋อ๋ ง ไข่แ่ ละผลิติ ภัณั ฑ์ไ์ ข่่ บะหมี่่ก�ึ่ง� สำำ�เร็จ็ รููป รังั นก และซุปุ ไก่่สกััดบรรจุุขวด ไอศกรีีม เครื่่อ� งปรุุงรสแต่่งกลิ่�น อาหารแช่่แข็็งที่่�มีีนมหรือื ไข่่ผสม และอาหารอื่น� ๆ ที่่ต� ้้องการขอ หนังั สืือรัับรองสุุขอนามััยเพื่่อ� การส่่งออกจากกรมปศุุสััตว์์ Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 33 การดำ�ำ เนิินการในปีี 2563 1. การส่ง่ เสริิมการส่่งออกสิินค้้าปศุุสััตว์์กลุ่�ม Frozen product (ข้อ้ มููล ณ วันั ที่่� 31 ธันั วาคม 2563) 1.1 ปริมิ าณการออกหนังั สืือรัับรองสุขุ อนามััยเนื้้�อสัตั ว์์ (Health Certificate) จำำ�นวน 67,232 ฉบับั 1.2 ปริมิ าณการส่ง่ ออกผลิิตภััณฑ์ส์ ินิ ค้า้ ปศุุสััตว์์ น้ำ�ำ�หนััก 979,100 ตันั คิิดเป็น็ มููลค่า่ 115,633 ล้า้ นบาท มีีสััดส่่วนแยกตามชนิดิ สินิ ค้า้ คืือ สินิ ค้า้ เนื้้�อไก่่แปรรููป/เนื้้�อไก่่แช่เ่ ย็น็ แช่แ่ ข็็ง 95.06 % เนื้้อ� สุุกรแปรรููป/เนื้้�อสุุกรแช่่ เย็น็ แช่แ่ ข็ง็ 3.45 % เนื้้อ� เป็ด็ แปรรููป/เนื้้อ� เป็ด็ แช่เ่ ย็น็ แช่แ่ ข็ง็ 0.86 % เนื้้อ� สัตั ว์ผ์ สมแปรรููป 0.38 % และเนื้้อ� วัวั แปรรููป 0.24 % สัดั ส่่วนปริิมาณการส่ง่ ออกผลิิตภัณั ฑ์ส์ ิินค้้าปศุุสัตั ว์์ ปีี 2563 ผลิติ ภัณั ฑ์เ์ นื้้อ� สุุกร 3.45% ผลิติ ภััณฑ์เ์ นื้้�อวััว 0.24% ผลิิตภััณฑ์์ เนื้้อ� สัตั ว์์ผสม 0.38% ผลิิตภััณฑ์์เนื้้�อไก่่ อื่�น่ ๆ 1.48% 95.06% ผลิิตภััณฑ์เ์ นื้้�อเป็็ด 0.86% ชนิดิ สิินค้า้ ปศุุสััตว์ท์ ี่่�มีีปริิมาณการส่่งออกมากที่่�สุุด คืือ ผลิิตภััณฑ์จ์ ากเนื้้อ� ไก่่ ซึ่่ง� มีีปริิมาณการส่ง่ ออก 930,769 ตััน คิดิ เป็็นมููลค่า่ 108,274 ล้า้ นบาท โดยสินิ ค้้าในกลุ่�มนี้�แ้ บ่่งออกเป็น็ 2 ประเภท คืือ เนื้้�อไก่่แปรรููป และเนื้้อ� ไก่่แช่เ่ ย็็นแช่่แข็็ง ชนิิดสิินค้้าเนื้้�อไก่แ่ ปรรููป มีีปริมิ าณการส่่งออก 545,804 ตันั คิดิ เป็น็ มููลค่่า 75,585 ล้า้ นบาท โดยมีีประเทศผู้�้ นำำ�เข้้า ที่่�สำ�ำ คัญั หลััก ได้้แก่ ่ ญี่่ป� ุ่่�นและสหภาพยุโุ รป โดยมีีสััดส่ว่ นปริิมาณการส่ง่ ออก คืือ ญี่่�ปุ่่�น 53.05 % สหภาพยุุโรป 35.99 % และประเทศอื่่�นๆ (เกาหลีีใต้ ้ สิงิ คโปร์ ์ ฮ่อ่ งกง แคนาดา) 10.96 % สัดั ส่ว่ นปริมิ าณการส่ง่ ออกเนื้้อ� ไก่แ่ ปรรููป ปีี 2563 จำ�ำ แนกตามประเทศ อื่�่น ๆ 10.96% EU 35.99% ญี่่�ปุ่่�น 53.05% สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

34 Annual Report 2020 ชนิดิ สินิ ค้า้ เนื้้อ� ไก่แ่ ช่เ่ ย็น็ /แช่แ่ ข็ง็ มีีปริมิ าณการส่ง่ ออก 384,964 ตันั คิดิ เป็น็ มููลค่า่ 32,689 ล้า้ นบาท ซึ่ง�่ มีีประเทศผู้้�นำ�ำ เข้า้ ที่่ส� ำ�ำ คััญหลักั ได้แ้ ก่่ สหภาพยุุโรปและญี่่ป� ุ่่�น โดยมีีสัดั ส่ว่ นปริิมาณการส่่งออก คืือ ญี่่ป� ุ่่�น 37.21 % สหภาพยุุโรป 18.13 % และประเทศอื่่น� ๆ (มาเลเซีีย ฮ่อ่ งกงแอฟริิกาใต้เ้ กาหลีีใต้้ UAE) 44.65 % สััดส่ว่ นปริิมาณการส่่งออกเนื้้�อไก่่แช่่เย็น็ /แช่แ่ ข็็ง ปีี 2563 จำ�ำ แนกตามประเทศ EU 18.13% อื่่�น ๆ 44.65% ญี่่ป� ุ่่�น 37.21% 2. การส่ง่ เสริมิ การส่ง่ ออกสิินค้้าปศุุสััตว์ก์ ลุ่�ม Non-Frozen (ข้อ้ มููล ณ วัันที่่� 31 ธันั วาคม 2563) 2.1 ปริิมาณการออกหนัังสืือรับั รองสุขุ อนามััยเนื้้�อสััตว์์ (Health Certificate) จำ�ำ นวน 14,928 ฉบัับ 2.2 ปริิมาณการส่ง่ ออกผลิิตภัณั ฑ์ ์ น้ำำ�� หนััก 327,873 ตันั คิิดเป็น็ มููลค่่า 23,373 ล้า้ นบาท มีีสััดส่่วนแยกตามชนิิดสินิ ค้า้ คืือ นมและผลิติ ภััณฑ์น์ ม 81.90 % ผลิิตภััณฑ์์ในภาชนะบรรจุปุ ิดิ สนิทิ 6.13 % อาหาร อื่�น ๆ 5.95 % ไข่่และผลิติ ภััณฑ์์ 4.62 % น้ำำ��ผึ้ง� และผลิิตภััณฑ์์ 1.38 % รัังนกและผลิิตภััณฑ์์ 0.02 % สััดส่ว่ นปริมิ าณการส่่งออกสิินค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ก์ ลุ่�ม Non-frozen จำ�ำ แนกตามชนิดิ สินิ ค้้าปีี 2563 นมและผลิิตภััณฑ์์นม อาหารอื่�น่ ๆ 81.90% 5.95% ผลิิตภัณั ฑ์์ในภาชนะ บรรจุปุ ิดิ สนิทิ 6.13% รังั นกและผลิติ ภัณั ฑ์์ 0.02% ไข่่และผลิิตภััณฑ์์ 4.62% น้ำ��ำ ผึ้้ง� และผลิิตภัณั ฑ์์ 1.38% Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 35 นมและผลิติ ภัณั ฑ์น์ ม คือื สินิ ค้า้ หลักั ที่่ม� ีีการส่ง่ ออกสููงสุดุ โดยมีีปริมิ าณการส่ง่ ออกทั้ง�้ หมด 268,513 ตันั คิดิ เป็น็ มููลค่า่ 15,921 ล้า้ นบาท และมีีประเทศผู้้�นำำ�เข้า้ ที่่ส� ำำ�คัญั หลักั คืือ กลุ่�มประเทศเอเชีีย ได้้แก่ ่ สิงิ คโปร์ ์ ฟิลิ ิปิ ปิินส์์ เวีียดนาม มาเลเซีีย อินิ โดนีีเซีีย เมีียนมาร์์ กัมั พููชา และบรููไน สัดั ส่่วนปริมิ าณการส่ง่ ออกผลิิตภัณั ฑ์์นมไปยังั ประเทศต่า่ ง ๆ มีีดัังนี้้� กลุ่�มประเทศ AEC 61.12 % ฮ่่องกง 9.94 % ตุรุ กีี 5.48 % ไต้้หวันั 4.86 % กลุ่�มประเทศ GCC 2.19 % สหภาพยุโุ รป 0.38 % และอื่�น ๆ 16.04 % สัดั ส่่วนปริิมาณการส่่งออกนมและผลิติ ภัณั ฑ์์นมไปยัังประเทศต่่าง ๆ ปีี 2563 AEC Hong Kong 9.94% 61.12% Turkey 5.48% อื่่น� ๆ Taiwan 4.86% 16.04% GCC 2.19% EU 0.38% ปริมิ าณการส่่งออกนมและผลิิตภััณฑ์์นมไปยังั กลุ่�มประเทศ AEC ปีี 2563 Malaysia Indonesia 29.44% 7.57% Vietnam Myanmar 10.89% 4% Philippines Cambodia 7.89% 4.08% Brunei 0.008% Singapore 31.17% สำ�ำ นัักพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

36 Annual Report 2020 การตรวจสอบโรงงานผลิติ ผลิิตภัณั ฑ์อ์ าหารสัตั ว์เ์ ลี้้�ยง เพื่อ�่ การส่ง่ ออก (Pet Food) ประเทศไทยเป็น็ ผู้ผ้� ลิติ และส่ง่ ออกอาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งติดิ อันั ดับั 1 ใน 6 ของโลก และมีีแนวโน้ม้ การส่ง่ ออกมููลค่า่ เพิ่่ม� ขึ้น� ทุกุ ปีเี ฉลี่ย� ไม่ต่ ่ำ�ำ� กว่า่ ร้อ้ ยละ 4 โดยสิินค้า้ อาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งเพื่่อ� การส่ง่ ออกของไทยที่่ส� ร้้างมููลค่า่ การส่ง่ ออกสููงสุุด ได้แ้ ก่่ อาหาร สััตว์เ์ ลี้้ย� งในภาชนะบรรจุปุ ิิดสนิทิ มีีมููลค่า่ การส่ง่ ออก 32,800 ล้า้ นบาท รองลงมาเป็น็ อาหารเม็ด็ สำำ�หรัับสัตั ว์์เลี้ย�้ งทุุกชนิดิ มีี มููลค่า่ การส่ง่ ออก 7,990 ล้า้ นบาท อาหารว่า่ งสำำ�หรับั สัตั ว์เ์ ลี้ย้� ง มีีมููลค่า่ การส่ง่ ออก 3,172 ล้า้ นบาท อาหารสัตั ว์เ์ ลี้ย�้ งประเภท อาหารขบเคี้�ย้ ว มีีมููลค่า่ การส่ง่ ออก 742 ล้า้ นบาท และอาหารเสริมิ อื่�น ๆ มีีมููลค่า่ การส่่งออก 84 ล้า้ นบาท สหรัฐั อเมริิกาเป็็นตลาดส่่งออกหลักั ซึ่�ง่ มีีมููลค่่าการส่่งออก 13,938 ล้า้ นบาท รองลงมาเป็น็ ประเทศมาเลเซีีย มีีมููลค่า่ การส่ง่ ออก 3,570 ล้้านบาท และประเทศอื่่น� ๆ เช่่น กลุ่�มสหภาพยุุโรป อินิ โดนีีเซีีย ญี่่�ปุ่่�น ไต้้หวััน ฯลฯ สัดั ส่ว่ นปริมิ าณการส่ง่ ออกผลิติ ภัณั ฑ์์อาหารสััตว์เ์ ลี้้�ยง รายชนิิดสินิ ค้้าปีี 2563 อาหารสัตั ว์เ์ ลี้้ย� ง อาหารว่่าง ในภาชนะบรรจุปุ ิิดสนิิท 3.12% 52.34% อื่�น่ ๆ 0.32% อาหารเม็็ด ขนมขบเคี้้�ยว 43.35% 0.87% Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 37 สัดั ส่ว่ นปริิมาณการส่ง่ ออกผลิิตภััณฑ์์อาหารสััตว์เ์ ลี้้ย� ง รายประเทศปีี 2563 EU Indonesia 9.30% 8.31% Malaysia Japan 17.15% 7.04% Taiwan 6.39% Philippines 7.33% United States india 17.66% 4.08% China 2.40% Other 20.34% กลุ่�่มตรวจสอบมาตรฐานด้้านการปศุุสััตว์์ มีีหน้้าที่�่กำ�ำ กัับดููแลการตรวจสอบ กระบวนการผลิิตสิินค้้าอาหารสััตว์์เลี้�ยง ซึ่่�งครอบคลุุมอาหารสำ�ำ หรัับสััตว์์เลี้�ยงทุุก ประเภท เช่น่ สุุนัขั แมว สำ�ำ หรัับ เต่่า ตะพาบน้ำำ�� กระต่่าย ไก่่ ปลาน้ำำ��จืดื กินิ พืืช ปลา น้ำ��ำ จืดื กินิ เนื้้อ� และปลาทะเลกินิ เนื้้อ� เป็น็ ต้น้ ให้ส้ อดคล้อ้ งตามพระราชบัญั ญัตั ิคิ วบคุุม คุุณภาพอาหารสััตว์์ พ.ศ.2558 และข้้อกำ�ำ หนดของประเทศผู้้�นำ�ำ เข้้า รวมถึึงการ ออกหนัังสือื รับั รองสุุขอนามััย (Health certificate) หรืือหนัังสืือรับั รองการขายใน ประเทศ (Certificate of free sale) เพื่่อ� รับั รองสินิ ค้า้ ที่ส�่ ่่งออกไปยังั ต่่างประเทศ โดย ในปีี 2563 มีโี รงงานที่ไ่� ด้ร้ ัับการรัับรองจากกรมปศุุสััตว์์ และมีีเจ้้าหน้้าที่�่สัตั วแพทย์์ ประจำำ�โรงงานกำ�ำ กัับดููแล ตรวจสอบและควบคุุมกระบวนการผลิิตอาหารสััตว์์เลี้�ยง รวมถึงึ ให้ค้ ำำ�แนะนำำ�ในการผลิติ และส่่งออกสิินค้้าไปยัังต่่างประเทศ จำ�ำ นวน 81 แห่่ง สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

38 Annual Report 2020 การตรวจสอบและเฝ้้าระวังั สารตกค้้าง พ.ศ. 2563 (Residue Monitoring Plan) การตรวจสอบสารตกค้้างในสินิ ค้า้ ปศุุสัตั ว์ข์ องประเทศไทยโดยกรมปศุสุ ัตั ว์์ ได้้ดำำ�เนินิ การสอดคล้อ้ งตามระเบีียบของ สหภาพยุุโรป (Council Directive 96/23/EC) เป็็นประจำำ�ทุุกปีี โดยตัวั อย่่างที่่�เก็บ็ ตรวจวิิเคราะห์จ์ ะต้้องเป็น็ ตััวอย่า่ งที่่เ� ก็็บ โดยเจ้า้ หน้า้ ที่่ก� รมปศุสุ ัตั ว์์ รวมถึงึ จะต้อ้ งส่ง่ แผนการตรวจสอบในปีปี ัจั จุบุ ันั และผลการตรวจสอบในปีที ี่่ผ� ่า่ นมา ให้ท้ างสหภาพ ยุุโรปภายใน 31 มีีนาคม เพื่่�อให้้สหภาพยุุโรปตรวจสอบและให้้การรัับรองในทุกุ ๆ ปีี กรมปศุสุ ััตว์ใ์ นฐานะที่่�รัับผิดิ ชอบเรื่อ� ง การตรวจสอบและเฝ้้าระวังั สารตกค้้างในสิินค้า้ ปศุุสัตั ว์์ ได้เ้ ล็็งเห็น็ ถึึงความสำำ�คััญในด้า้ นการคุ้�มครองผู้�บ้ ริิโภค ตลอดจนการ เพิ่่ม� มููลค่า่ การส่ง่ ออก จึงึ ได้แ้ ต่ง่ ตั้ง� คณะกรรมการพิจิ ารณาแผนการตรวจสอบสารตกค้า้ ง โดยมีีรองอธิบิ ดีีกรมปศุสุ ัตั ว์ท์ ี่่ก� ำ�ำ กับั ดููแลด้้านมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์เป็็นประธาน เพื่่�อตรวจสอบสารตกค้้างในสิินค้้าปศุุสััตว์์ทั่่�วประเทศไทย ทั้้�งนี้้� ชนิิดสััตว์์ที่่� มีีการเฝ้า้ ระวัังสารตกค้้าง ได้้แก่่ ไก่เ่ นื้้�อ เป็ด็ เนื้้อ� สุุกร น้ำ��ำ ผึ้�ง ไข่ไ่ ก่่ ไข่น่ กกระทา และไข่่เป็ด็ โดยสถานที่่�เก็็บตัวั อย่า่ งมีีการ ครอบคลุุมทั้ง�้ ที่่ฟ� าร์์ม โรงฆ่่าสัตั ว์์ และศููนย์์รวบรวมไข่่ ซึ่ง่� แผนการดำำ�เนินิ งานนอกจากที่่�ได้เ้ ก็บ็ ตัวั อย่า่ ง เฝ้า้ ระวัังสารตกค้า้ ง ตามแผนของสหภาพยุุโรปแล้้ว ยัังได้้มีีการเก็็บตััวอย่่างเพิ่่�มเติิมเพื่่�อให้้มีีความครอบคลุุมการเฝ้้าระวัังสารตกค้้างที่่�เกี่ �ยวข้้อง กัับการผลิิตวัตั ถุุดิบิ ในการเลี้�ย้ งสัตั ว์์ และใช้เ้ ป็น็ ข้อ้ มููลในการอ้า้ งอิงิ ตลอดจนเป็็นการคุ้�มครองผู้�้บริโิ ภคภายในประเทศและ ส่ง่ เสริิมการส่ง่ ออกสินิ ค้้าปศุุสัตั ว์ข์ องประเทศไทยด้ว้ ย ชนิดิ สารตกค้า้ งที่่ม� ีีการการเฝ้า้ ระวัังในสินิ ค้า้ ปศุุสััตว์์ ได้้มีีการเฝ้้าระวังั สารตกค้า้ งตาม Council Directive 96/23/EC ซึ่ง่� มีีการกำำ�หนดชนิดิ ของสารตกค้า้ ง ไว้ใ้ น Annex 1 โดยสารตกค้้างแบ่่งออกเป็น็ 2 กลุ่�ม คือื 1. กลุ่�ม A ยาสัตั ว์ท์ ี่่�ห้้ามพบ (zero tolerance) แบ่่งเป็น็ 6 ประเภท ประกอบด้ว้ ย A 1 Stilbense A 2 Antithyroid agents A 3 Steroids A 4 Resorcylic acid lactones A 5 Beta agonists A 6 สารอื่�นๆ ที่่�มีีการกำำ�หนดไว้้ใน Annex 4 ของ Council Regulation 2377/90 เช่่น nitrofurans, chloramphenicol เป็น็ ต้น้ 2. กลุ่�ม B ยาสัตั ว์์และสารอื่น� ๆ ที่่ม� ีีการกำ�ำ หนดค่่า MRL (Maximum Residue Limit) โดย แบ่ง่ เป็น็ 3 ประเภท ประกอบด้ว้ ย B1 Antibacterial substances B2 Other veterinary drugs B3 Other substances and environmental contaminants Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 39 การกำำ�หนดจำำ�นวนตััวอย่า่ งเพื่อ�่ ใช้้ในการเฝ้้าระวังั สารตกค้า้ ง การคำ�ำ นวณจำ�ำ นวนตัวั อย่่างจะต้อ้ งใช้ข้ ้อ้ มููลการผลิติ สัตั ว์ท์ ั้ง�้ ปีี ในปีที ี่่ผ� ่า่ นมาของสำ�ำ นักั ส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาการปศุสุ ัตั ว์์ มาเป็น็ ฐานคำำ�นวณตััวอย่า่ ง ยกเว้น้ น้ำำ�� ผึ้�งใช้ข้ ้อ้ มููลกรมส่่งเสริมิ การเกษตร รายละเอีียดดังั นี้�้ 1. สัตั ว์ป์ ีกี (ไก่เ่ นื้้อ� เป็ด็ เนื้้อ� ) จำ�ำ นวนตัวั อย่า่ งที่่เ� ก็บ็ 1 ตัวั อย่า่ ง ต่่อ 200 ตัันของผลผลิิต และหากผลผลิิตมากกว่่า 5,000 ตััน จำำ�นวน ตััวอย่า่ งในแต่ล่ ะกลุ่�มย่อ่ ย ต้อ้ งไม่น่ ้อ้ ยกว่า่ 100 ตัวั อย่่าง 2. น�้ำผ้ึง จ�ำนวนตัวอย่างที่เก็บแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ จ�ำนวน ตวั อย่างที่เกบ็ 10 ตวั อยา่ ง ต่อ 300 ตนั ในผลผลติ 3,000 ตันแรก และ จ�ำนวนตัวอย่างที่เก็บ 1 ตัวอย่าง ต่อ 300 ตันในผลผลิตที่เพิ่มมาจาก 3,000 ตนั แรก 3. สุุกร จำ�ำ นวนตััวอย่่างที่่�เก็็บ 0.05 % ของจำ�ำ นวนสุุกร ที่่เ� ข้า้ โรงฆ่่าสัตั ว์์ 4. ไข่่ไก่่ จำ�ำ นวนตััวอย่า่ งที่่�เก็็บ 1 ตััวอย่า่ ง ต่่อ 1,000 ตัันของ ผลผลิิต ซึ่ง�่ จำำ�นวนที่่�เก็บ็ ขั้�นต่ำ��ำ 200 ตัวั อย่่างโดยตั้ง� แต่ป่ ีี 2560 เป็็นต้้นไป นอกจากการเก็็บตััวอย่่างที่่�ฟาร์์มไก่่ไข่่แล้้ว กรมปศุุสััตว์์ได้้มีีการกำำ�หนด ให้้มีีการเก็็บตััวอย่่างที่่�ศููนย์์คััดไข่่ไม่่น้้อยกว่่าร้้อยละ 30 ของตััวอย่่าง ซึ่่ง� สอดคล้้องตามข้้อกำ�ำ หนดของสหภาพยุโุ รป 5. ไข่่นกกระทา ได้้ข้้อมููลปริิมาณการผลิิตและนำ�ำ มาคำำ�นวณ จำ�ำ นวนตััวอย่่างสารตกค้้าง ไข่่นกกระทาในประเทศไทยมีีปริิมาณไม่่มาก ดังั นั้้น� จะใช้้ผลการผลิติ ไข่ไ่ ก่่ ประมาณการที่่� 10% ของไข่่ไก่่มาใช้้ในการ คำ�ำ นวณหาจำำ�นวนตัวั อย่า่ ง สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

40 Annual Report 2020 ผลการตรวจสอบและเฝ้า้ ระวังั สารตกค้้าง ปีี 2563 ในสััตว์์ปีกี สุกุ ร น้ำ�ำ� ผึ้้ง� ไข่่ไก่่ และไข่น่ กกระทา ชนิดิ ตััวอย่า่ ง แหล่ง่ ที่�่เก็็บตัวั อย่่าง จ�ำนวน จำ�ำ นวน คิดเป็น ชนิดสารตกค้าง ตัวอยา่ ง ตััวอย่า่ ง ร้อยละ อาหารสััตว์์ปีีก ฟาร์ม์ สััตว์ป์ ีกี ที่พ�่ บเกินิ - อาหารสุกุ ร ฟาร์ม์ สุุกร ที่สง่ มาตรฐาน - น้ำ�ำ� ดื่�มสัตั ว์์ปีกี ฟาร์์มสััตว์์ปีีก - น้ำ�ำ� ดื่ม� สุกุ ร ฟาร์ม์ สุุกร 1,085 - - - 1,255 - - 300 - - 200 - - กล้้ามเนื้้อ� สััตว์์ปีกี ฟาร์์มสัตั ว์ป์ ีีก, โรงฆ่่าสัตั ว์ป์ ีีก 6,380 - - - ตับั สััตว์์ปีีก ฟาร์ม์ สััตว์ป์ ีกี , โรงฆ่่าสัตั ว์ป์ ีกี 1,675 - - - - - - ไขมันั สัตั ว์์ปีกี โรงฆ่า่ สัตั ว์ป์ ีกี 611 กล้้ามเนื้้�อสุกุ ร โรงฆ่่าสุกุ ร 817 3 0.37 Nitrofuran metabolites (2) Tetracyclines (1) ตับั สุุกร โรงฆ่่าสุุกร 323 -- ปอดสุุกร โรงฆ่่าสุกุ ร 55 ไขมัันสุุกร โรงฆ่่าสุกุ ร 183 -- น้ำ��ำ ผึ้ง� ฟาร์์มผึ้ ง� 140 -- -- ไข่่ไก่่ ฟาร์ม์ ไก่่ไข่่, ศููนย์์รวบรวมไข่่ 690 7 1.01 Fluoroquinolones (5) Tetracyclines (1) Anticoccidial substances (1) ไข่่นกกระทา ฟาร์ม์ นกกระทา 85 -- - ไข่่เป็็ด ฟาร์์มเป็็ดไข่่ 50 12 Mercury Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 41 การสอบสวนกรณีพี บสารตกค้า้ งเกิินมาตรฐาน ในกรณีีที่่�ได้้รัับแจ้้งผลวิิเคราะห์์พบสารตกค้้างเกิินมาตรฐานจากสำำ�นัักตรวจสอบคุุณภาพสิินค้้าปศุุสััตว์์ สำ�ำ นัักงาน ปศุุสััตว์เ์ ขต สำำ�นัักงานปศุุสัตั ว์จ์ ังั หวััด จะเข้้าไปดำ�ำ เนินิ การสอบสวนฟาร์ม์ เลี้�้ยงสััตว์์ และเก็บ็ ตัวั อย่่างเพื่่�อวิเิ คราะห์ห์ าสาเหตุุ การพบสารตกค้า้ งเกินิ มาตรฐาน และในบางกรณีีหากสงสัยั การปนเปื้อ้� นสารตกค้า้ งในอาหารสัตั ว์์ จะทำ�ำ การแจ้ง้ ประสานแจ้ง้ กองควบคุมุ อาหารและยาสัตั ว์์ เพื่่อ� เจ้า้ หน้า้ ที่่จ� ากกองควบคุมุ อาหารและยาสัตั ว์ ์ ดำำ�เนินิ การสอบสวนโรงงานผลิติ อาหารสัตั ว์์ หลังั จากสรุปุ สาเหตุกุ ารปนเปื้อ�้ นและทางผู้ป�้ ระกอบการ มีีการแก้ไ้ ขเรีียบร้อ้ ยแล้ว้ เจ้า้ หน้า้ ที่่จ� ะเข้า้ ไปดำ�ำ เนินิ การเก็บ็ ตัวั อย่า่ ง ติดิ ตามจนกว่่าจะไม่่พบปัญั หาสารตกค้้างจากฟาร์์มเดิิมอีีก รวมถึงึ มีีการดำ�ำ เนินิ การหากพบว่า่ ผู้�้ประกอบการมีีความผิดิ ตาม พ.ร.บ.ควบคุุมคุณุ ภาพอาหารสััตว์์ พ.ศ. 2558 ประกาศกรมปศุสุ ัตั ว์์ หรืือระเบีียบกรมปศุสุ ััตว์์ สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

42 Annual Report 2020 ขั้�นตอนการดำำ�เนิินงานตามแผนการตรวจสอบสารตกค้า้ งในสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ ผู้้�รับั ผิดิ ชอบ ขั้ �นตอน คณะกรรมการพิจิ ารณา จัดั ทำำ�แผนการตรวจสอบสารตกค้า้ งในภาพรวมแผนราย ปศุุสััตว์เ์ ขต แผนการตรวจสอบสารตกค้้าง รายจังั หวััด และรายโรงงาน (โรงฆ่า่ สัตั ว์์ปีีกและสุุกรเพื่่�อการส่ง่ ออก) สำ�ำ นัักงานปศุุสััตว์เ์ ขต/สพส. แจ้ง้ แผนการตรวจสอบสารตกค้า้ ง สำำ�นัักงานปศุสุ ััตว์์จัังหวััด/สพส. วางแผนการปฏิบิ ัตั ิงิ านเก็็บตัวั อย่า่ งในพื้้�นที่่� สำำ�นัักงานปศุุสััตว์์จัังหวััด/สพส. ดำำ�เนินิ การเก็็บตัวั อย่่างจากฟาร์ม์ และโรงฆ่า่ สัตั ว์ ์ ฆจส.2 (ปศจ.) ดำำ�เนินิ การเก็็บตัวั อย่า่ งจากโรงฆ่า่ สััตว์เ์ พื่่�อการส่ง่ ออก (สพส.) สำ�ำ นัักงานปศุสุ ัตั ว์์เขต/สพส. คัดั กรองและรวบรวมตัวั อย่า่ งส่่ง สตส. สำ�ำ นัักตรวจสอบคุณุ ภาพสินิ ค้า้ ปศุุสัตั ว์์ ทำ�ำ การวิเิ คราะห์อ์ าหารสััตว์ ์ น้ำ�ำ� กล้า้ มเนื้้อ� ตับั ไขมันั ปอด น้ำ�ำ� ผึ้ง� ไข่ไ่ ก่่ และไข่น่ กกระทา ตามแผนการตรวจสอบสารตกค้า้ ง สำำ�นักั งานปศุุสัตั ว์์จังั หวััด/สพส. สำ�ำ นักั งานปศุสุ ััตว์์จัังหวััด/สพส. ตรวจสอบผลวิิเคราะห์์ ไม่ผ่ ่่านมาตรฐาน ผ่่านมาตรฐาน สพส.รวบรวมผลวิเิ คราะห์์ สำ�ำ นักั งานปศุสุ ัตั ว์จ์ ังั หวัดั ร่ว่ มกับั สำ�ำ นักั งานปศุสุ ัตั ว์์ เขต สพส. หรือื อยส. (แล้ว้ แต่ก่ รณีี) ทำ�ำ การสอบสวนและ ดำ�ำ เนินิ คดีี และติดิ ตามการแก้ไ้ ขปัญั หาของผู้ป�้ ระกอบการ รวบรวมข้้อมููลจัดั ทำำ�รายงานเสนออธิิบดีีกรมปศุสุ ััตว์แ์ ละประเทศคู่่�ค้า้ Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 43 โครงการพัฒั นาและส่ง่ เสริิมอุตุ สาหกรรมฮาลาลด้า้ นปศุสุ ััตว์์ เป็็นโครงการความร่่วมมืือระหว่่าง กรมปศุุสััตว์์ และสำำ�นัักงานคณะกรรมการกลางอิิสลามแห่่งประเทศไทย ซึ่�่งมีี วัตั ถุปุ ระสงค์ใ์ นการส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาสถานประกอบการด้้านปศุสุ ัตั ว์ใ์ ห้ไ้ ด้ร้ ับั การรับั รองมาตรฐานฮาลาล ตามนโยบายของ รััฐบาลในการส่่งเสริิมพััฒนาอุุตสาหกรรมอาหารฮาลาล การเป็็นครัวั โลก และยุทุ ธศาสตร์ก์ ารส่ง่ เสริิมและพัฒั นาศัักยภาพ ธุุรกิิจสิินค้้าและบริิการฮาลาล (พ.ศ. 2559-2563) โดยมุ่�งหวัังให้้ผู้�้บริิโภคและนัักท่่องเที่่�ยวทั้้�งชาวไทยและชาวต่่างชาติิสา มารถบริิโภคเนื้้�อสััตว์์ที่่�สะอาด ถููกสุุขอนามััย ตามมาตรฐานอาหารปลอดภััย และมาตรฐานฮาลาล อีีกทั้�้งยัังเป็็นการสร้้าง ความเชื่อ� มั่�นในการส่่งเสริิมการผลิิตสินิ ค้้าปศุุสัตั ว์์ฮาลาลเพื่่อ� การส่่งออกอีีกด้ว้ ย จากการดำ�ำ เนินิ การที่่ผ� ่่านมา พบว่า่ ผู้้ป� ระกอบการที่่ป� ระสงค์์จะขอรัับรองฮาลาล หลายรายยัังปฏิบิ ััติิไม่ค่ รบถ้ว้ นตาม บทบััญญััติิแห่ง่ ศาสนาที่่�ระบุุว่า่ “มนุุษย์เ์ อ๋ย๋ จงบริโิ ภคสิ่่ง� ที่่�ได้้รัับอนุมุ ััติิ(ฮาลาล) และดีี(ฏอยยิิบ) จากที่่ม� ีีอยู่�ในแผ่่นดิิน” ซึ่ง�่ นอกจากจะต้้องเชืือดสััตว์ใ์ ห้ถ้ ููกหลักั การแล้้ว สิ่่ง� ที่่จ� ะนำ�ำ มาบริิโภคต้อ้ งเป็น็ สิ่่�งที่่ด� ีี ซึ่่�งสอดคล้้องกัับหลักั การปฏิบิ ััติทิ ี่่ด� ีี(GMP) ตามกระบวนการของอาหารปลอดภัยั (Food Safety) การส่่งเสริิมให้ผ้ ู้ป้� ระกอบการปฏิบิ ััติติ ามหลัักการข้า้ งต้น้ ได้ค้ รบถ้้วน จะได้ผ้ ลลัพั ธ์ถ์ ึงึ อาหารที่่ส� ะอาดปลอดภัยั และถููกหลักั การฮาลาล อีีกทั้ง�้ เป็น็ การปฏิบิ ัตั ิทิ ี่่ส� อดคล้อ้ งตามข้อ้ กฎหมายที่่บ� ัญั ญัตั ิิ ไว้้ เพื่่อ� ให้้บรรลุผุ ลตามวััตถุุประสงค์์ของโครงการฯ กรมปศุสุ ััตว์จ์ ึงึ ดำำ�เนินิ กิจิ กรรมตามภารกิจิ ดัังนี้�้ 1. กิจิ กรรมตรวจประเมิินโรงฆ่า่ สัตั ว์แ์ ละสถานที่่จ� ำ�ำ หน่า่ ยเนื้้�อสัตั ว์ต์ ามมาตรฐานฮาลาล 2. กิจิ กรรมเก็บ็ ตััวอย่า่ งตรวจวิเิ คราะห์์การปนเปื้�อ้ นดีีเอ็็นเอสุุกร 3. กิิจกรรมการอบรมให้้ความรู้้�แก่่บุคุ ลากรในระบบการผลิิต ผลิิตภััณฑ์์ปศุสุ ัตั ว์ฮ์ าลาล 4. ประชุมุ คณะทำำ�งานอาหารฮาลาลอาเซีียน ASEAN Working Group of Halal Food (AWGHF) ครั้้�งที่่� 16 5. กิจิ กรรมประชาสััมพัันธ์โ์ ครงการพัฒั นาและส่ง่ เสริมิ อุตุ สาหกรรมฮาลาลด้า้ นปศุุสัตั ว์์ 6. กิิจกรรมเฝ้้าระวัังและแก้้ไขการจำ�ำ หน่า่ ยเนื้้�อวััวปลอมปนเนื้้อ� สุุกร ผลการด�ำเนนิ งาน โครงการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาลด้านปศสุ ตั ว์ ประเภท เป้า้ หมาย ผลการดำำ�เนินิ งาน 1. จำ�ำ นวนสถานประกอบการด้้านปศุุสััตว์์ที่่�ได้้รัับการตรวจประเมิิน 300 326 (108.67%) ตามมาตรฐานฮาลาล 800 797 (99.62%) 2. ตััวอย่่างวิเิ คราะห์์ดีีเอ็น็ เอสุุกร สำำ�นัักพััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

44 Annual Report 2020 กิจิ กรรมตรวจประเมินิ โรงฆ่่าสัตั ว์์และสถานที่่�จำำ�หน่่ายเนื้้อ� สัตั ว์์ตามมาตรฐานฮาลาล สำ�ำ นักั งานปศุสุ ัตั ว์จ์ ังั หวัดั สตููล เข้า้ ตรวจประเมินิ โรงฆ่่าสััตว์์ภายในประเทศของ โรงฆ่่าไก่่วิิชุุดาฟาร์์ม อำ�ำ เภอควนโดน จัังหวััดสตููล ตามที่่�สำ�ำ นัักพััฒนา ระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ ์ กำ�ำ หนดให้้ สำ�ำ นักั งานปศุสุ ัตั ว์จ์ ังั หวัดั 77 จังั หวัดั ดำ�ำ เนินิ การตรวจ ประเมินิ ตามเกณฑ์ม์ าตรฐานฮาลาล กจิ กรรมการอบรมใหค้ วามร้แู กบ่ คุ ลากรในระบบการผลิต ผลติ ภณั ฑป์ ศุสัตว์ฮาลาล 1. โครงการอบรมผู้�้ตรวจรัับรองฮาลาลให้้แก่่องค์์กร ศาสนา ระหว่่างวัันที่่� 12-14 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมอััลมีีรอซ กรุุงเทพมหานคร โดย น.สพ. สรวิิศ ธานีีโต อธิิบดีีกรมปศุุสััตว์์ ให้้เกีียรติิเป็็นประธานในพิิธีีเปิิด ซึ่�่งมีี น.สพ. โสภััชย์์ ชวาลกุุล ผู้�้ อำำ�นวยการสำำ�นัักพััฒนา ระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ รองเลขาธิิการ คณะกรรมการกลางอิิสลามแห่่งประเทศไทย และผู้�แ้ ทนจาก สำ�ำ นักั งานคณะกรรมการอิสิ ลามประจำ�ำ จังั หวัดั กว่า่ 40 จังั หวัดั เข้า้ ร่่วมการอบรมฯ Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำ�ำ ปีี 2563 45 2. โครงการอบรมผู้ต�้ รวจรับั รองฮาลาลให้แ้ ก่เ่ จ้า้ หน้า้ ที่่� ระหว่า่ งวันั ที่่�25-27 กุมุ ภาพันั ธ์ ์ พ.ศ.2563โดย น.สพ. สมชวน รััตนมัังคลานนท์์ รองอธิิบดีีกรมปศุุสััตว์์ ให้้เกีียรติิเป็็น ประธานในพิธิ ีีเปิิด ซึ่่�งมีี น.สพ. มารุตุ เชีียงเถีียร หัวั หน้า้ กลุ่�มพััฒนาสิินค้้าปศุุสััตว์์ฮาลาล สำ�ำ นัักพััฒนาระบบและ รัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสััตว์์ ผู้�้แทนจากสำำ�นัักงานคณะ กรรมการกลางอิิสลามแห่่งประเทศไทย และผู้�้แทนจาก สำ�ำ นักั งานปศุสุ ัตั ว์จ์ ังั หวัดั ทั้ง�้ 77 จังั หวัดั เข้า้ ร่ว่ มการอบรมฯ 3. โครงการอบรมพนักั งานเชือื ดสัตั ว์เ์ ชิงิ ปฏิบิ ัตั ิกิ าร สำ�ำ หรัับโรงฆ่่าสัตั ว์ภ์ ายในประเทศ จำำ�นวน 2 รุ่่�น ดัังนี้้� รุ่น�่ ที่่� 1 ระหว่่างวัันที่่� 20-22 ธค. 2563 ณ โรงแรมหาดใหญ่พ่ าราไดซ์์ รีีสอร์์ท จ.สงขลา สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรัับรองมาตรฐานสิินค้้าปศุุสัตั ว์์ กรมปศุสุ ัตั ว์์

46 Annual Report 2020 รุ่่น� ที่่� 2 ระหว่า่ งวัันที่่� 6-8 กพ. 2563 ณ โรงแรมเอ็็นสิริ ิิรีีสอร์ท์ แอนด์์โฮเต็็ล จ.ปทุมุ ธานีี การประชุมุ เชิงิ ปฏิบิ ัตั ิกิ าร ASEAN Working Group of Halal Food (AWGHF) ครั้ง� ที่่� 16 สำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์ม์ อบหมาย ให้ ้ นายมาลิกิ อัับดุลุ บุตุ ร นายสััตวแพทย์ช์ ำำ�นาญการ ร่ว่ มคณะผู้แ้� ทน กรมปศุุสััตว์น์ ำ�ำ โดย นายวัชั รพล โชติยิ ะปุุตตะ ผู้�้ อำำ�นวยการกองความ ร่่วมมืือด้้านการปศุุสััตว์์ระหว่่างประเทศ ร่่วมกัับสำำ�นัักงานมาตรฐาน สินิ ค้า้ เกษตรและอาหารแห่ง่ ชาติสิ ำ�ำ นักั งานคณะกรรมการกลางอิสิ ลาม แห่ง่ ประเทศไทย สถาบัันมาตรฐานฮาลาลแห่่งประเทศไทย และศููนย์์ วิิทยาศาสตร์์ฮาลาล จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ในฐานะคณะผู้้�แทน ประเทศไทยเข้้าประชุุมความร่่วมมืือคณะทำำ�งานมาตรฐานฮาลาล อาเซีียนครั้้�งที่่� 16 “16 th ASEAN Working Group on Halal Food” ในวันั ที่่� 7 กรกฎาคม 2563 ผ่า่ นระบบออนไลน์์ ณ ห้อ้ งประชุมุ กรมปศุสุ ัตั ว์์ เพื่่อ� ประชุมุ เจรจาข้อ้ ตกลงร่ว่ มกันั ในการจัดั ทำำ� มาตรฐาน อาหารฮาลาลอาเซีียน เวปไซต์ฮ์ าลาลอาเซีียน และการค้า้ สินิ ค้า้ ฮาลาล ระหว่่างประเทศอาเซีียน Bureau of Livestock Standards and Certification

รายงานประจำำ�ปีี 2563 47 เจรจาแก้้ไขปััญหาเทคนิคิ ทางการค้า้ อาหารฮาลาลกัับประเทศคู่่�ค้า้ กรมปศุสุ ัตั ว์ ์ นำ�ำ โดย น.สพ. โสภัชั ย์์ ชวาลกุลุ ผู้�้ อำ�ำ นวยการสำ�ำ นักั พัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสินิ ค้า้ ปศุสุ ัตั ว์์ และน.สพ. วัชั รพล โชติิยะปุุตตะ ผู้�้ อำ�ำ นวยการกองความร่่วมมืือด้้านการปศุุสััตว์์ ระหว่า่ งประเทศ พร้อ้ มคณะเจ้า้ หน้า้ ที่่� เข้า้ ร่ว่ มคณะการตรวจประเมินิ สถานประกอบการประเภทโรงฆ่า่ สัตั ว์ท์ี่่ม� ีีความประสงค์จ์ ะส่ง่ ออกไป ยังั ประเทศสหรัฐั อาหรับั เอมิเิ รตส์ใ์ นด้า้ นความปลอดภัยั อาหารและ มาตรฐานฮาลาลของประเทศคู่่�ค้า้ ดังั นี้้� 1. การตรวจประเมิินตามมาตรฐานความปลอดภััยอาหาร ของประเทศคู่่�ค้้าโดยเจ้้าหน้้าที่่�จากหน่่วยงาน Ministry of Climate Change and Environment (MOCCAE) ระหว่่างวัันที่่� 29 พ.ย. - 4 ธ.ค. 62 2. การตรวจประเมิินตามมาตรฐานฮาลาล ของประเทศคู่่�ค้้าโดยเจ้้าหน้้าที่่�จากสำำ�นัักงานคณะ กรรมการกลางอิิสลามแห่่งประเทศไทย ร่่วมกัับ เจ้้าหน้้าที่่�จากหน่่วยงาน Emirates International Accreditation Centre (EIAC) ระหว่า่ งวัันที่่� 16 - 19 ธ.ค. 62 สำำ�นัักพัฒั นาระบบและรับั รองมาตรฐานสิินค้า้ ปศุุสััตว์์ กรมปศุสุ ััตว์์

48 Annual Report 2020 กิจิ กรรมประชาสััมพันั ธ์์โครงการพัฒั นาและส่ง่ เสริมิ อุตุ สาหกรรมฮาลาลด้้านปศุุสััตว์์ สำำ�นัักพััฒนาระบบและรัับรองมาตรฐาน สิินค้้าปศุุสััตว์์ กรมปศุุสััตว์์ ได้้จััดนิิทรรศการ ป ร ะ ช าสัั ม พัั นธ์์ ก า ร เ ลืื อ ก ซื้ � อ เ นื้้� อ สัั ต ว์์ ต า ม ม า ต ร ฐ าน ฮ า ล า ล ใ น ง าน เ ทศ ก า ล กิิ นดีี อ ยู่่�ดีี วิิถีีไทยพุุทธ มุุสลิิมสััมพัันธ์์ 2563 ในระหว่่างวัันที่่� 13-16 สิิงหาคม 2563 ณ อิิมแพ็็ค เมืืองทองธานีี กิิจกรรมเฝ้้าระวัังและแก้้ไขการจำำ�หน่า่ ยเนื้้�อวััวปลอมปนเนื้้อ� สุุกร จากปััญหาการระบาดของเนื้้�อวััวเทีียมที่่�ใช้้เนื้้�อหมููหมัักเลืือดวััว ในกรุุงเทพและต่่างจัังหวััดในเดืือน กรกฏาคม 2563 นายอลงกรณ์์ พลบุตุ ร ที่่ป� รึกึ ษารัฐั มนตรีีว่า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ ประธาน คณะกรรมการส่่งเสริิมและพััฒนาสิินค้้าเกษตรมาตรฐานฮาลาล พร้อ้ มด้ว้ ยหน่ว่ ยงานกรมปศุสุ ัตั ว์์ สำำ�นักั งานคุ้้�มครองผู้บ้� ริโิ ภค สำ�ำ นักั งาน อาหารและยา กรมสอบสวนคดีีพิเิ ศษ กองบัังคับั การปราบปรามการ กระทำ�ำ ความผิดิ เกี่ย� วกับั การคุ้�มครองผู้บ�้ ริโิ ภค สำำ�นักั งานคณะกรรมการ กลางอิิสลามแห่่งประเทศไทย ศููนย์์วิิทยาศาสตร์์ฮาลาล จุุฬาลงกรณ์์ มหาวิิทยาลััย สถาบัันมาตรฐานฮาลาลแห่่งประเทศไทย และสมาคม การค้า้ ธุรุ กิจิ ไทยมุสุ ลิิม จึงึ ได้ร้ ่่วมกัันกำ�ำ หนด 5 มาตรการแก้้ไขปัญั หา เนื้้�อวัวั ปลอมเพื่่อ� แก้ไ้ ขปััญหาดัังกล่า่ ว ดัังนี้้� 1. มาตรการสื่�อสารเตือื นภัยั ผู้้บ� ริิโภค 2. มาตรการป้้องปรามผู้�้ค้้า 3. มาตรการปราบปรามผู้�ก้ ระทำ�ำ ผิิด 4. มาตรการส่่งเสริิมมาตรฐานฮาลาล 5. มาตรการตรวจสอบย้้อนกลัับ (Tracebility) จากโรงฆ่า่ สััตว์์ ถึงึ ผู้�บ้ ริิโภคสร้้างความเชื่อ� มั่�น Bureau of Livestock Standards and Certification


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook