รายงานผลการติดตามและประเมินผลการพฒั นา หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสูส่ งั คม ทีไ่ ม่ทนต่อการทจุ รติ รุน่ ที่ 2 สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คานา กลุ่มพัฒนามาตรฐานและส่งเสริมเครือข่าย สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาได้จัดทารายงานผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นที่ 2 โดยติดตามผลผู้ผ่านการพัฒนาในการนาการพัฒนาไป ขยายผลในพน้ื ท่ี หวังว่ารายงานผลผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ รติ ฉบับนีจ้ ะเปน็ ประโยชน์ ต่อการพัฒนาหลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปล่ยี นแปลงสสู่ ังคมทไี่ มท่ นตอ่ การทุจริต ต่อไป กล่มุ พัฒนามาตรฐานและส่งเสรมิ เครือข่าย สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
สารบญั หนา้ คานา สารบญั บทที่ 1 บทนา 1 - วัตถุประสงค์ 2 - ขอบเขตของการรายงาน 2 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง 3 - โครงการพัฒนาบคุ ลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพอ่ื สนับสนุนการขบั เคลื่อน 4 การปฏริ ปู การศกึ ษาในภมู ิภาค - หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสูส่ ังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทจุ ริต 8 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการติดตามและประเมนิ ผล 18 บทที่ 4 ผลการตดิ ตามการดาเนนิ การพฒั นา 20 ภาคผนวก - รายงานผลของผผู้ า่ นการพัฒนาจาก สานักงานศึกษาธิการภาค 13 - รายงานผลของผผู้ ่านการพัฒนาจาก สานักงานศึกษาธิการจงั หวดั นครพนม - รายงานผลของผผู้ ่านการพัฒนาจาก สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 8 - รายงานผลของผผู้ า่ นการพัฒนาจาก สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 14 - รายงานผลของผู้ผา่ นการพัฒนาจาก สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดกาญจนบรุ ี - รายงานผลของผู้ผ่านการพัฒนาจาก สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดแพร่ - รายงานผลของผู้ผา่ นการพัฒนาจาก สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พะเยา - รายงานผลของผ้ผู า่ นการพัฒนาจาก สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 15 - รายงานผลของผู้ผา่ นการพัฒนาจาก สานกั งานศึกษาธิการภาค 15 - รายงานผลของผูผ้ ่านการพัฒนาจาก สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดลาปาง - รายงานผลของผผู้ า่ นการพัฒนาจาก สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 12 - รายงานผลของผ้ผู ่านการพัฒนาจาก สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั พิษณุโลก การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้นื ท่ขี องบคุ ลากรผผู้ ่านการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผ้นู าการเปลี่ยนแปลงส่สู งั คมที่ไม่ทนต่อการทุจริต รนุ่ ที่ 2
บทท่ี 1 บทนา ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตร่วมกันสร้างเครื่องมือ กลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติงานด้านการ ป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกันในรปู แบบของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกัน และปราบปรามการทุจริต โดยเริ่มดาเนินการต้ังแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบันอยู่ในระยะที่ 3 (2560 - 2564) มีความจาเป็นต้องปรับฐานความคิดและสร้างความตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้บัญญัติให้มีข้ันตอน การปราบปรามการทุจริตดังกล่าว อีกทั้งได้กาหนดหน้าท่ีของปวงชนชาวไทยให้บุคคลมีหน้าที่ไม่ร่วมมือ หรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ รวมทั้งกาหนดหน้าท่ีของรัฐไว้ด้วยว่า “รัฐต้อง ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน โดยจัดให้มีมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติ มิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด พร้อมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวเพ่ือมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ ความรู้ต่อต้านการทุจริตหรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ” เพื่อให้กลไก ตามรัฐธรรมนูญดา้ นการปราบการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบประสบผลสาเรจ็ ไดจ้ ริง มีการมุ่งเน้นในการส่งเสริม และพัฒนา “คน”ให้เป็นส่วนที่สาคัญในการแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยการส่งเสริมและ พัฒนาหลักสูตรหรือแนวทางการปลูกฝังให้ประชาชนทุกระดับเข้าใจและเกิดจิตสานึกด้านการต่อต้าน การ ทุจริต พร้อมท้ังส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายของประชาชนในการต่อต้านการทุจริตอย่างเข้มแข็งและได้รับ ความร่วมมือและสนับสนุนจากทุกภาคส่วนของสังคม มีการกาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางปฏิบัติเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน ยึดม่ันในหลักธรรมาภิบาลเพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สานักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช.จึงได้จัดทาหลักสูตรสาหรับวิทยากร ป.ป.ช. บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เพอ่ื สร้างความรู้ ความเขา้ ใจและทศั นคตทิ ่ถี กู ต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวม ความไมท่ นตอ่ การทุจริต การประยุกตห์ ลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG: จิตพอเพียงต้านทุจริต และการเป็นวิทยากร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักและเห็นความสาคัญดังกล่าวจึงมอบหมายให้ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการจัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อขับเคล่ือน การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตขึ้น โดยดาเนินการส่งเสริมและพัฒนาสอดคล้องตามแนวทางของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช. พร้อมท้ังกาหนดให้มีการติดตามและประเมินผลผู้ผ่านการพัฒนาในการนา การพัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้ดาเนินการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต จานวน 2 รุ่น รุ่นท่ี 1 ดาเนินการ พัฒนาเม่ือวันท่ี 11 - 14 กุมภาพันธ์ 2562 และรุ่นท่ี 2 ดาเนินการพัฒนาเม่ือวันที่ 25 – 28 กุมภาพันธ์ 2562 ณ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงเมื่อผ่านการพัฒนาแล้วจะต้องนาการ พฒั นาไปขยายผลในพืน้ ที่ใหแ้ ลว้ เสร็จภายในเดอื นสิงหาคม พ.ศ. 2562 การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพ้นื ทีข่ องบุคลากรผ้ผู า่ นการพฒั นา หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผ้นู าการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมที่ไมท่ นต่อการทุจริต รนุ่ ที่ 2
-2- ท้ังน้ี เพื่อให้เห็นภาพรวมของการดาเนินการติดตามและประเมินผลการพัฒนา หลักสูตรสร้าง วิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต กลุ่มพัฒนามาตรฐานและส่งเสริมเครือข่ายจึงจัดทา รายงานผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนาของผู้ผ่านการพัฒนา รุ่นท่ี 2 การนาการพัฒนาไปขยายผล ในพ้ืนท่ี วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสรุปผลการดาเนินการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนที่ของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทจุ รติ รนุ่ ที่ 2 2. เพื่อรายงานผลการติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ของบุคลากร ผผู้ ่านการพฒั นา หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมที่ไมท่ นต่อการทุจรติ รุ่นท่ี 2 ขอบเขตของการรายงาน การดาเนินการติดตามและประเมินผลการพัฒนาของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการที่ผ่าน การพัฒนาและนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนท่ี หลกั สูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อ การทุจริต รุ่นท่ี 2 เป็นการดาเนินงานร่วมกับบุคลากรของสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการ จังหวัด จานวน 46 คน ประกอบดว้ ย 1. ข้อมูลการติดตามและประเมินผลของหน่วยดาเนินการพัฒนา สถานที่ดาเนินการ ระยะเวลา และกล่มุ เป้าหมาย 2. ข้อมูลการดาเนินการพัฒนาของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนาที่นาไปขยายผลในพื้นท่ี (แบบฟอร์ม รายงานผล) การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพน้ื ท่ขี องบคุ ลากรผู้ผา่ นการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสสู่ ังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ รุ่นที่ 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้อง การติดตามและประเมินผลการดาเนินการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อ การทุจริต รุ่นท่ี 2 ดาเนินการพัฒนาสอดคล้องตามกรอบแนวทางของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช. เพื่อการพัฒนาบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการของสานักงานศึกษาธิการ ภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้มีศักยภาพรองรับการปฏิบัติงานในพื้นท่ี เพ่ือขับเคลื่อนการปฏิรูป การศกึ ษาในภมู ภิ าคและตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. นโยบาย/จดุ เนน้ - สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ - สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บรหิ ารจัดการภาครฐั ประเดน็ หลัก การพฒั นาบุคลากรภาครัฐ - สอดคล้องกับแผนปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นการบริหารราชการแผ่นดิน - สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565) ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 ยุทธศาสตร์การบรหิ ารจัดการในภาครฐั การป้องกันการทุจรติ ประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย - สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ บริหารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ - สอดคล้องกับยุทธศาสตร์สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 2. หลกั การและเหตผุ ล ทรัพยากรมนุษย์ (Human Capital) ถือเป็นหัวใจสาคัญของกระบวนการพัฒนาประเทศอย่าง ยั่งยืน ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 80 (3) บัญญัติไว้ว่า “พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัด การศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม” จึงจัดให้มี แผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ โดยให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาให้ก้าวหน้าทันต่อการเปล่ยี นแปลงของสงั คมโลก รวมท้ังปลกู ฝงั ใหผ้ ้เู รียนมจี ิตสานึกของความเป็น ไทยมีระเบียบวินัยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือสร้างและพัฒนาให้คนเป็น ทรัพยากรมนุษยท์ ม่ี คี วามสามารถ มที กั ษะ ความถนัด ความชานาญพร้อมจะขับเคล่ือนและยกระดับการพัฒนา ประเทศสู่การเป็นประเทศไทย ในยุค 4.0 (Thailand 4.0) กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดแผนพัฒนา การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาหรับเป็นทิศทางการปฏิบัติงานของ หน่วยงานในสังกัดให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานและยึด “คนเป็นศูนย์กลางการ พัฒนา” โดยในส่วนของการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาได้กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ท่ี 2 ผลิต พัฒนาครู การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้นื ทีข่ องบคุ ลากรผ้ผู า่ นการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสสู่ ังคมท่ีไมท่ นต่อการทุจรติ รุ่นท่ี 2
-4- คณาจารย์และบคุ ลากรทางการศกึ ษา มุ่งหวังพัฒนาใหค้ รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามสี มรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชพี สามารถใช้ศักยภาพในการสอนไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาศักยภาพและระบบ บรหิ ารงานบคุ คลของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาที่สง่ ผลต่อการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุนการบูรณาการการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ของสานักงานศึกษาธิการภาค และสานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้บรรลุผลตามบทบาทและภารกิจที่กาหนดไว้ตามคาส่ังของหัวหน้าคณะ รักษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560 ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อแก้ไขสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของประเทศในส่วนภูมิภาค ท้ังในด้าน โครงสรา้ งขององค์การ ด้านระบบบรหิ ารจดั การ และด้านบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วข้อง ซึ่งปัญหาเหล่าน้ีส่งผลต่อคุณภาพ การศกึ ษาและการพัฒนาเยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์และกาลังคนท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศ จากสภาพ ปัญหาดังกล่าว สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้ตระหนักและให้ความสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนให้ บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการสามารถปฏิบัติงานเพ่ือสนับสนุนขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ท้ัง ระดับภาค และระดับจังหวัด โดยหลักการทางานอย่างมีส่วนร่วม การกระจายอานาจ และความต้องการของ ทุกภาคสว่ นในสังคมใหส้ อดคล้องกบั ทิศทางการพฒั นาและเพม่ิ ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ สถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา เป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจหลักในการ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 สานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายภารกิจสาคัญและเร่งด่วนให้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรของสานักงาน ศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดให้มีศักยภาพรองรับการปฏิบัติงานเพื่อขับเคล่ือนการปฏิรูป การศึกษาในภูมิภาคเพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มาอย่างต่อเน่ือง และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้ดาเนินการสารวจความต้องการจาเป็นในการฝึกอบรม จากสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สาหรับนามาเป็นข้อมูลในการจัดทาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับความต้องการในการนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานให้มากที่สุด จานวน 4 หลักสูตร และ นามาจัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษ า ในภมู ิภาค ขนึ้ 3. วตั ถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ รวมถึงการ แลกเปลี่ยน เรยี นรปู้ ระสบการณใ์ นการปฏบิ ัตงิ านเพื่อขับเคลอ่ื นการปฏริ ปู การศกึ ษาในภมู ิภาค 4. เป้าหมาย 4.1 เชิงปริมาณ : บคุ ลากรกระทรวงศึกษาธกิ าร จานวนทัง้ ส้นิ 80 คน ดังนี้ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต จานวน 2 รุ่น รุ่นละ 40 คน รวมเป็น 80 คน 4.2 เชิงคณุ ภาพ : 1) ผู้เข้ารับการพัฒนาในแต่ละหลักสูตรมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ท่ีหลกั สูตรกาหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพนื้ ทข่ี องบคุ ลากรผผู้ ่านการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ ร่นุ ที่ 2
-5- 2) ผู้เข้ารับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการดาเนินการพัฒนาในแต่ละหลักสูตร ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 85 5. วธิ ีดาเนินการ ขนั้ ตอนและกิจกรรม ระยะเวลา ขน้ั ตอนท่ี 1 ประชุมคณะทางานเพ่ือวางแผนและกาหนด ธันวาคม 2561 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 ประชุมปฏบิ ตั ิการให้ความรเู้ พ่ือจัดทาหลักสูตร มกราคม – กุมภาพันธ์ 2562 เมษายน – พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนท่ี 3 ประสานความร่วมมอื กับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ธนั วาคม 2561 – พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนท่ี 4 ดาเนนิ การพฒั นากลุ่มเปา้ หมายตามท่ี มกราคม – มิถนุ ายน 2562 หลกั สูตรกาหนด ขั้นตอนท่ี 5 ประชุมปฏบิ ัติการสรุปและจดั ทารายงาน มิถนุ ายน – กรกฎาคม 2562 การดาเนินการพัฒนา ขน้ั ตอนที่ 6 ติดตามและประเมนิ ผล มถิ นุ ายน – กันยายน 2562 ขัน้ ตอนที่ 7 ประชุมปฏิบัตกิ ารสรุปและจดั ทารายงาน สงิ หาคม - กนั ยายน 2562 การดาเนินโครงการ 6. สถานที่ดาเนินการ สถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา 7. ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤศจิกายน 2561 - กันยายน 2562 8. งบประมาณ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต ดาเนินการพัฒนา จานวน 2 รุ่น เปน็ เงิน 370,000 บาท (สามแสนเจ็ดหมน่ื บาทถ้วน) รายละเอยี ด ดงั นี้ รายการค่าใช้จ่าย งบประมาณ (บาท) ข้ันตอนท่ี 1 ประชมุ คณะทางานเพ่อื วางแผนและกาหนดข้นั ตอนการดาเนินงาน ไมใ่ ชง้ บประมาณ ขั้นตอนท่ี 2 ประชุมปฏบิ ัติการใหค้ วามรู้เพื่อจดั ทาหลกั สูตร 32,650 1) คา่ อาหาร (15 คน x 1 ม้ือ x 200 บาท) 3,000 2) คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม (15 คน x 2 มอ้ื x 35 บาท) 1,050 3) ค่าสมนาคุณวิทยากร (2 คน x 6 ชม. X 1,200 บาท) 14,400 4) ค่าพาหนะเดนิ ทาง (11 คน x 1,200 บาท) 13,200 5) คา่ วัสดแุ ละคา่ จัดทารปู เล่มหลักสตู รการพฒั นา 1,000 ขั้นตอนที่ 3 ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง ไมใ่ ชง้ บประมาณ ข้นั ตอนที่ 4 ดาเนินการพัฒนากลมุ่ เป้าหมายตามท่ีหลักสูตรกาหนด จานวน 2 รุ่น 332,320 คา่ ใชจ้ ่ายดาเนินการพฒั นารนุ่ ละ 166,160 การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพน้ื ท่ีของบุคลากรผผู้ ่านการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปลย่ี นแปลงสูส่ งั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ รติ รุ่นท่ี 2
-6- รายการค่าใชจ้ า่ ย งบประมาณ (บาท) 1) ค่าอาหาร (46 คน x 4 วนั x 520 บาท) 95,680 2) ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม (46 คน x 4 วัน x 70 บาท ) 12,880 3) คา่ สมนาคุณวิทยากร (2 คน x 1,200 บาท x 21 ชม.) 50,400 4) คา่ พาหนะเดินทางวทิ ยากร (2 คน x 1,200 บาท ) 2,400 5) คา่ ซักเครือ่ งนอน (42 คน x 1 ครง้ั x 50 บาท ) 2,100 6) คา่ วัสดุ 2,700 ขั้นตอนที่ 5 ประชุมปฏิบตั กิ ารสรปุ และจดั ทารายงานการดาเนนิ การพฒั นา 5,030 1) ค่าอาหาร (7 คน x 1 ม้ือ x 120 บาท) 840 2) คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม (7 คน x 2 ม้ือ x 35 บาท) 490 3) คา่ พาหนะเดินทางผ้เู ข้าประชุม (2 คน x 1,200 บาท) 2,400 4) ค่าวัสดุและค่าจดั ทารปู เล่มรายงานโครงการ 1,300 ขนั้ ตอนท่ี 6 ติดตามและประเมินผล ไมใ่ ชง้ บประมาณ รวมทั้งสิน้ 370,000 9. กิจกรรม : ประชมุ ปฏบิ ัติการสรุปและจัดทารายงานผลโครงการ เป็นเงิน 20,000 บาท (สองหม่นื บาทถว้ น) รายการค่าใช้จ่าย งบประมาณ (บาท) ขนั้ ตอนที่ 7 ประชุมปฏิบตั ิการสรปุ และจดั ทารายงานผลโครงการ 20,000 1) ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม (10 คน x 8 ม้อื x 35 บาท) 2,800 2) คา่ อาหาร (10 คน x 4 มอ้ื x 120 บาท) 4,800 3) คา่ วสั ดุและจดั ทารปู เล่มรายงาน 12,400 หมายเหตุ : ขอถัวจ่ายทุกรายการทกุ กิจกรรมและทุกหลกั สูตร 10. การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งของโครงการ 10.1 ประเดน็ ความเส่ียง : ดา้ นการดาเนนิ งาน 1) การจัดทาหลักสตู รไม่สอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้รับบริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี 2) จานวนผเู้ ข้ารบั การพัฒนาไม่เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกาหนด 3) บุคลากรทางการศึกษาท่ีสมัครเข้ารับการพัฒนาไม่สามารถมาเข้ารับการพัฒนาได้ตามวัน เวลาท่กี าหนดท่ีอาจสง่ ผลใหจ้ านวนกล่มุ เป้าหมายไมเ่ ป็นไปตามท่กี าหนด 10.2 แนวทางการบริหารความเสี่ยง : ด้านการดาเนนิ งาน 1) ศกึ ษาความต้องการของผู้เข้ารับการพัฒนาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพ่ือนามาเป็นส่วนหน่ึงใน การกาหนดเนื้อหาของหลกั สูตร 2) เพิม่ ระยะเวลาและชอ่ งทางการส่ือสารประชาสัมพนั ธ์การรับสมัครผูเ้ ข้ารับการพัฒนาให้มากขึ้น 3) คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายให้มากกว่าจานวนที่กาหนด และเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับ ผรู้ ับบรกิ ารใหม้ ีความสะดวกในการตดิ ต่อส่ือสารมากขนึ้ การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนทขี่ องบุคลากรผู้ผา่ นการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมที่ไมท่ นต่อการทุจริต รุ่นท่ี 2
-7- 11. การประเมนิ ผล 11.1 ประเมินผลสมั ฤทธ์ิผเู้ ขา้ รับการพัฒนาตามทห่ี ลักสตู รกาหนด 11.2 ประเมินความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รับการพฒั นาในแต่ละหลกั สตู รโดยสอบถามความพึง พอใจและไม่พงึ พอใจต่อการใหบ้ ริการของสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 12. ตวั ชวี้ ดั และค่าเปา้ หมาย 12.1 ร้อยละของผ้เู ขา้ รบั การพฒั นาผา่ นเกณฑ์การประเมินตามทห่ี ลักสูตรกาหนด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 12.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับการพัฒนามีต่อการเข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตร ทก่ี าหนด ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85 13. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 13.1 บุคลากรกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีศกั ยภาพและสมรรถนะที่สอดคล้องและเหมาะสมในการ ปฏิบตั งิ านเพอื่ สนบั สนุนการปฏิรปู การศึกษาในภูมิภาคได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 13.2 กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการสามารถสนับสนุนการ ปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการในพื้นที่และส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาและ การพัฒนาเยาวชนซ่ึงเปน็ ทรัพยากรมนุษยแ์ ละกาลังคนทส่ี าคัญในการพฒั นาประเทศ 14. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ กลุม่ นโยบายและยุทธศาสตร์ กลุ่มพัฒนามาตรฐานและสง่ เสรมิ เครือข่าย กลุ่มวิจัยและพัฒนา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา 15. รายละเอียดการดาเนนิ การพัฒนา การดาเนนิ โครงการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนการ ปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นที่ 1 เป็นการดาเนินการตามกรอบแนวทางของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช.กาหนด สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบดาเนินการ พฒั นาและรายงานผลการดาเนินการพัฒนา โดยกาหนดขัน้ ตอนดาเนินการ ดังน้ี 15.1 ขนั้ ตอนดาเนินการพัฒนา - ประชุมวางแผนการดาเนินการพัฒนา - ดาเนินการพฒั นา - สรุปและรายงานผลการดาเนนิ การพัฒนา 15.2 ข้ันตอนการตดิ ตามและประเมนิ ผล - เกบ็ รวบรวมข้อมลู ผลการดาเนินงานพฒั นาของผผู้ า่ นการพัฒนา - สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานพฒั นาของผู้ผา่ นการพฒั นา การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้นื ทข่ี องบคุ ลากรผู้ผ่านการพฒั นา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ าการเปล่ยี นแปลงสสู่ งั คมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ ร่นุ ท่ี 2
-8- หลกั สตู รสร้างวิทยากรผูน้ าการเปล่ยี นแปลงสูส่ ังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริต 1. ชอ่ื หลักสตู ร : หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงส่สู งั คมทไ่ี ม่ทนต่อการทจุ ริต 2. ผูร้ บั ผดิ ชอบ สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา 3. หลกั การและเหตุผล ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตร่วมกันสร้างเครื่องมือ กลไกและกาหนดเป้าหมายสาหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันในรูปแบบของยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต โดยเร่ิมดาเนินการต้ังแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบันอยู่ในระยะ ท่ี 3 (2560 -2564) มีความจาเป็นต้อง ปรับฐานความคิดและสร้างความตระหนักรู้ให้ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการป้อ งกันแ ล ะ ปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้บัญญัติให้มีขั้นตอนการปราบปรามการ ทุจริตดังกล่าว อีกทั้งได้กาหนดหน้าท่ีของปวงชนชาวไทยให้บุคคลมีหน้าท่ีไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ รวมทั้งกาหนดหน้าที่ของรัฐไว้ด้วยว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุนและให้ ความรแู้ กป่ ระชาชนถึงอนั ตรายทเี่ กิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน โดยจัดให้ มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่าง เข้มงวด พร้อมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้าน การทุจริตหรือช้ีเบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ” เพ่ือให้กลไกตามรัฐธรรมนูญ ด้านการปราบการทุจริตและประพฤติมิชอบประสบผลสาเร็จได้จริง มีการมุ่งเน้นในการส่งเสริมและพัฒนา “คน”ให้เป็นส่วนที่สาคัญในการแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยการส่งเสริมและพัฒนา หลักสูตรหรือแนวทางการปลูกฝังให้ประชาชนทุกระดับเข้าใจและเกิดจิตสานึกด้านการต่อต้านการ ทุจริต พ ร ้อ ม ทั ้ง ส ่ง เ ส ร ิม ใ ห ้เ ก ิด เ ค ร ือ ข ่า ย ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ก า ร ต ่อ ต ้า น ก า ร ท ุจ ร ิต อ ย ่า ง เ ข ้ม แ ข ็ง แ ล ะ ไ ด ้ร ับ ความร่วมมือและสนับสนุนจากทุกภาคส่วนของสังคม มีการกาหนดยุทธศาสตร์และแนวทางปฏิบัติเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลเพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สานักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช. จึงได้จัดทาหลักสูตรสาหรับวิทยากร ป.ป.ช. บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ และการเป็นวทิ ยากร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ตระหนักและให้ความสาคัญดังกล่าวจึงได้มอบหมาย ให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ จัดโครงการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อขับเคล่ือน การปฏริ ูปการศึกษาในภมู ิภาค หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต ให้กับ บุคลากรของสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเพื่อตอบสนองงานนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธิการ การตดิ ตามและประเมนิ ผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้นื ที่ของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผูน้ าการเปลย่ี นแปลงส่สู งั คมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ รุน่ ท่ี 2
-9- 4. วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 2.1 เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความ พอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ และการฝกึ ปฏิบตั ิการเป็นวทิ ยากร 2.2 เพอื่ สรา้ งวิทยากรทมี่ ีทักษะและสามารถขยายผลองคค์ วามรู้ไปสู่กลุ่มเป้าหมายอืน่ ๆ 2.3 เพ่อื สรา้ งเครอื ข่ายวิทยากรผนู้ าการเปลี่ยนแปลงสู่สงั คมทไี่ ม่ทนต่อการทุจรติ 5. โครงสรา้ งของหลักสตู ร หลักสตู รสร้างวิทยากรผนู้ าการเปลีย่ นแปลงสูส่ งั คมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ประกอบด้วย 6 วิชา ดงั นี้ วิชาที่ 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวม (6 ชัว่ โมง) วชิ าท่ี 2 ความอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ (3 ชวั่ โมง) วิชาที่ 3 การประยุกตห์ ลกั ความพอเพยี งดว้ ยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจรติ (3 ชว่ั โมง) วชิ าที่ 4 การฝึกปฏบิ ตั กิ ารเป็นวทิ ยากร (6 ชว่ั โมง) วิชาที่ 5 วางแผนการจัดโครงการหรือกิจกรรมผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการ ทุจริต (3 ชว่ั โมง) วชิ าท่ี 6 กิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ (3 ชั่วโมง) 6. ระยะเวลาในการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผูน้ าการเปลีย่ นแปลงสู่สงั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทุจริต ใช้เวลาในการพัฒนา จานวน 24 ชั่วโมง 7. แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนาใชก้ ระบวนการ ดงั นี้ 7.1 ใชก้ ระบวนการ Active Learning 7.2 การบรรยาย 7.3 การคดิ วิเคราะห์ 7.4 กรณศี กึ ษา 7.5 การทากิจกรรมกลุ่ม 7.6 การอภิปรายกลุ่ม 7.7 กรณีโครงการ STRONG 7.8 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ 7.9 กิจกรรม Reflection and AAR 7.10 การสรุป ซักถาม ใหข้ อ้ เสนอแนะ การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพ้ืนทีข่ องบคุ ลากรผ้ผู ่านการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผู้นาการเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมท่ีไม่ทนต่อการทุจรติ รนุ่ ท่ี 2
-10- 8. ส่ือ อุปกรณท์ ี่ใช้ในการพัฒนา 8.1 เอกสารประกอบการพฒั นา 8.2 PowerPoint 8.3 วีดทิ ัศน์ 8.4 สารคดี 8.5 ภาพยนตร์สั้น 8.6 ใบงาน หรอื สื่ออื่น ๆ ทเ่ี หมาะสม 9. การประเมินผล 9.1 ประเมนิ ผลการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ก่อนและหลงั การพัฒนา 9.2 ประเมินการฝึกปฏิบตั ิการเปน็ วิทยากร 9.3 ประเมินชนิ้ งาน 9.4 ประเมินพฤติกรรม 9.5 ประเมนิ ระยะเวลาการพัฒนา 10. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 10.1 ประเมนิ การฝกึ ปฏิบัติการเปน็ วิทยากร ประเมนิ ชน้ิ งาน และประเมินพฤตกิ รรม ต้องได้ คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 10.2 ประเมินระยะเวลาการพัฒนา ผู้เขา้ รบั การพัฒนาต้องมรี ะยะเวลาการพฒั นา ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 11. คณุ สมบตั ิของผเู้ ข้ารบั การพัฒนา 11.1 มที กั ษะดา้ นการสื่อสารและมนุษยสัมพันธท์ ดี่ ี 11.2 เป็นผู้ทม่ี ีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 11.3 เป็นผู้ท่ีมีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ 11.4 เป็นบุคลากรของสานักงานศกึ ษาธิการภาคและสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด 11.5 เปน็ ผู้ท่สี ามารถเข้ารบั การพฒั นาได้เตม็ เวลาตามทีห่ ลกั สูตรกาหนด 12. คณุ สมบัตขิ องวิทยากร 12.1 เป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ ความเชีย่ วชาญ และมปี ระสบการณ์ในเน้ือหาวชิ าน้ันเป็นอย่างดี 12.2 มเี ทคนิควธิ กี ารถ่ายทอดองคค์ วามรู้ให้กบั ผู้เขา้ รบั การพัฒนาเปน็ อย่างดี 12.3 สามารถจัดกิจกรรมใหผ้ เู้ ข้ารับการพัฒนาเรียนรู้ผา่ นการทากจิ กรรม 12.4 เปน็ ผ้ทู ่ีมบี ุคลิกภาพท่ดี ี 12.5 มีหลกั จติ วิทยาการสอนผู้ใหญ่ การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพน้ื ทข่ี องบคุ ลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ร่นุ ที่ 2
-11- 13. รายละเอียดการเรยี นรแู้ ต่ละวิชา วชิ าท่ี 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม (6 ช่ัวโมง) คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ ส่วนรวม กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม เพ่อื ให้ผู้เขา้ รบั การพัฒนาสามารถนาไปถา่ ยทอดได้อยา่ งถูกต้องและนาไปปรบั ใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะหแ์ ละการประเมิน เกีย่ วกับการคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม 2. เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างถูกต้องในเร่ืองการคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมใหผ้ เู้ ขา้ รับการพัฒนานาไปปรับใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม เนอื้ หาสาระ 1. ความหมายของการขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมรูปแบบ ของการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม 2. กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้หรือรับของขวัญของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2544 ระเบียบสานันา ยกรัฐมนตรี ว่าด้วยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑ์ การรับทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชน์อืน่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจา้ หน้าท่ีของรฐั พ.ศ. 2543) 3. วธิ ีคิดแบบฐาน 10 (Analog thinking) ฐาน 2 (Digital thinking) 4. บทบาทของรฐั เจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของเจา้ หน้าทข่ี องรัฐ เชน่ ประมวลจริยธรรม ขา้ ราชการพลเรือน ประมวลจริยธรรมข้าราชการสว่ นท้องถ่ิน) 5. กรณีตัวอย่างการคิดแยกแยะระหว่างประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม แนวทางการพฒั นา จัดกิจกรรมทั้ง 5 เนื้อหาสาระให้สอดคล้องกัน โดยใช้กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การ บรรยาย การคดิ วเิ คราะห์ กรณศี ึกษา การทากจิ กรรมกล่มุ การอภปิ รายกลมุ่ ส่อื ที่ใชใ้ นการพัฒนา PowerPoint วดิ ที ัศน์ ภาพยนตรส์ นั้ ใบงาน หรอื ส่อื อนื่ ๆ ทเี่ หมาะสม การประเมินผล การประเมินช้นิ งาน การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพน้ื ทขี่ องบุคลากรผู้ผา่ นการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปลีย่ นแปลงส่สู ังคมที่ไมท่ นต่อการทุจริต รนุ่ ที่ 2
-12- วชิ าท่ี 2 ความอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต (3 ชั่วโมง) คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและเรียนรู้แนวคิดเกี่ยวกับความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ความเป็นพลเมืองที่ไม่ ทนต่อการทุจริต การแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทุจริต กรณีศึกษาปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นในประเทศและ ต่างประเทศ อันสะท้อนถึงความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถนาไป ถา่ ยทอดไดอ้ ย่างถกู ต้องและนาไปปรบั ใช้ได้อย่างเหมาะสม วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมิน เกย่ี วกบั ความอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต 2. เพ่ือให้สามารถถา่ ยทอดองค์ความรู้ได้อยา่ งถกู ต้องในเร่ืองความอายและความไม่ทนต่อการ ทุจรติ ใหผ้ ้เู ข้ารับการพัฒนานาไปปรับใช้ได้อยา่ งเหมาะสม เน้อื หาสาระ 1. ความอายตอ่ การทจุ ริต - แนวคิดเก่ียวกบั ความอายต่อการทจุ รติ 2. ความไม่ทนต่อการทจุ ริต - ความเปน็ พลเมืองที่ไม่ทนต่อการทุจรติ - แนวคดิ เกี่ยวกับความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต 3. ตัวอย่างความอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ การแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทจุ ริต 4. ลงโทษทางสงั คม 5. ชอ่ งทางและวิธกี ารร้องเรียนการทุจรติ 6. มาตรการคุ้มครองช่วยเหลือพยานของสานักงาน ป.ป.ช. และกฎ ก.พ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และ วิธกี าร การใหบ้ าเหนจ็ ความชอบ การกนั เป็นพยาน การลดโทษและการใหก้ ารคุ้มครองพยานฯ แนวทางการพฒั นา จัดกิจกรรมทั้ง 6 เนื้อหาสาระให้สอดคล้องกัน โดยใช้กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การ บรรยายการคดิ วเิ คราะห์กรณศี กึ ษา การทากิจกรรมกลุ่ม การอภิปรายกล่มุ ส่ือท่ใี ช้ในการพัฒนา PowerPoint วีดทิ ศั น์ หรอื ส่ืออืน่ ๆ ทเ่ี หมาะสม การประเมนิ ผล การประเมินชิ้นงาน การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพ้ืนท่ีของบุคลากรผู้ผา่ นการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ รุ่นที่ 2
-13- วิชาท่ี 3 การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต (3 ชั่วโมง) คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับท่ีมา ความหมายของโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต การนา โมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริตไปประยุกต์ในบริบทต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถนาไป ถา่ ยทอดได้อย่างถกู ตอ้ งและนาไปปรับใช้ได้อยา่ งเหมาะสม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการประเมิน เกย่ี วกับการประยุกต์หลักความพอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ 2.เพื่อให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างถูกต้องในเรื่องการประยุกต์หลักความ พอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ ริตให้ผู้เขา้ รบั การพฒั นานาไปปรบั ใช้ได้อย่างเหมาะสม เนื้อหาสาระ 1. ต้นแบบความพอเพยี ง (ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง) 2. ความหมายของการประยุกต์หลักความพอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี ง ต้านทุจรติ ซึ่งคดิ คน้ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ัฒศริ ิ ในปี พ.ศ. 2560 คาอธิบายความหมายของ “STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต” 1. S (sufficient) : ความพอเพียง ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับองค์กรและชุมชนน้อมนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์เป็นหลักความพอเพียงในการทางาน การดารงชีวิต การพัฒนา ตนเองและสว่ นรวม รวมถงึ การปอ้ งกนั การทจุ รติ อย่างยง่ั ยนื ความพอเพียงต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึงของมนุษย์แม้ว่าจะแตกต่างกันตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่า ความพอเพียงของตนเองต้องตั้งอยู่บนความมีเหตุมีผล รวมทั้งต้องไม่เบียดเบียนตนเอง ผู้อื่นและส่วนรวม ความพอเพียงดังกล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลน้ันไม่กระทาการทุจริต ซ่ึงต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) และปลกุ ให้ตนื่ รู้ (realize) การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพนื้ ทีข่ องบคุ ลากรผผู้ ่านการพฒั นา หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริต รุน่ ที่ 2
-14- 2. T (transparent) : ความโปร่งใส ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับองค์กรและชุมชนต้อง ปฏิบัตงิ านบนฐานของความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ดงั นัน้ จึงตอ้ งมีและปฏิบัตติ ามหลักปฏบิ ตั ิ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ กฎหมาย ด้านความโปรง่ ใส ซึง่ ต้องใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจ (knowledge) และปลกุ ให้ต่นื รู้ (realize) 3. R (realize) : ความตื่นรู้ ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับองค์กรและชุมชนมีความรู้ความ เข้าใจและตระหนักรู้ถึงรากเหง้าของปัญหาและภัยร้ายแรงของการทุจริตประพฤติมิชอบภายในชุมชนและ ประเทศ ความต่ืนรู้จะบังเกิดเม่ือได้พบเห็นสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อการทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ ยินยอมต่อการทุจริตในท่ีสุด ซ่ึงต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) เกี่ยวกับสถานการณ์การทุจริตที่เกิดข้ึน ความร้ายแรงและผลกระทบต่อระดบั บุคคลและสว่ นรวม 4. O (onward) : มุ่งไปข้างหน้าผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับองค์กรและชุมชนมุ่งพัฒนา และปรบั เปลีย่ นตนเองและส่วนรวมใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ อย่างยง่ั ยนื บนฐานความโปร่งใส ความพอเพียงและ ร่วมสร้างวัฒนธรรมสุจริตให้เกิดขึ้นอย่างไม่ย่อท้อ ซึ่งต้องมีความรู้ความเข้าใจ (knowledge) ในประเด็น ดงั กลา่ ว 5. N (knowledge) : ความรู้ ผู้นา ผู้บริหาร บุคคลทุกระดับองค์กรและชุมชน ต้องมี ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินได้อย่างถ่องแท้ในเร่ือง สถานการณ์ การทุจริต ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและส่วนรวม ความพอเพียงต้านทุจริต การแยกแยะ ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวมท่ีมีความสาคัญย่ิงต่อการลดการทุจริตในระยะยาว รวมท้ังความ อายไมก่ ล้าทาทจุ ริตและความไมท่ นเมื่อพบเห็นว่ามกี ารทจุ ริตเกดิ ขึ้นเพ่ือสรา้ งสังคมไมท่ นต่อการทุจริต 6. G (generosity) : ความเอื้ออาทร คนไทยมคี วามเอ้ืออาทร มเี มตตา มีนา้ ใจตอ่ กนั บนฐาน ของจิตพอเพยี งต้านทจุ รติ ไมเ่ อือ้ ต่อการรับหรือการใหผ้ ลประโยชน์หรอื ต่อพวกพ้อง แนวทางการพัฒนา จัดกิจกรรมท้ัง 2 เนื้อหาสาระให้สอดคลอ้ งกันโดยใชก้ จิ กรรมท่ีหลากหลาย เช่น การอภิปราย กรณโี ครงการ STRONG การบรรยาย ส่ือทีใ่ ช้ในการพัฒนา PowerPoint สารคดหี รอื ส่อื อนื่ ๆ ที่เหมาะสม การประเมินผล การประเมนิ ช้ินงาน การตดิ ตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพืน้ ที่ของบุคลากรผู้ผา่ นการพฒั นา หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผ้นู าการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมที่ไม่ทนต่อการทุจรติ ร่นุ ท่ี 2
-15- วิชาท่ี 4 การฝึกปฏิบตั กิ ารเปน็ วทิ ยากร (6 ชวั่ โมง) คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติกิจกรรมโดยมีบทบาทในการเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในประเด็นใด ประเด็นหนึ่งจาก 3 ประเด็น คือ 1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 2. ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต 3. การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพียง ตา้ นทุจริต โดยเลือกใช้เทคนคิ การฝึกอบรมแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกับเน้อื หา วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือฝึกทักษะการเป็นวิทยากรท่ีถ่ายทอดองค์ความรู้ในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความ พอเพยี งดว้ ยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ เน้ือหาสาระ ประกอบดว้ ย การฝึกปฏิบตั ถิ ่ายทอดความรู้ ตามทก่ี าหนดได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม แนวทางการจดั กิจกรรม - 3 ชวั่ โมงแรก ใหผ้ ู้เข้ารับการพฒั นาคนแบ่งกลมุ่ ฝึกปฏิบตั ิการเป็นวทิ ยากรโดยสุ่มหัวข้อวิชา การบรรยายจาก 3 วชิ า โดยใหว้ ิทยากรประเมิน - 3 ชวั่ โมงหลัง วิทยากรให้ข้อเสนอแนะกระบวนการหลากหลาย ส่อื ที่ใชใ้ นการพัฒนา PowerPoint ฝกึ ปฏบิ ตั ิ หรือส่ืออ่นื ๆ ท่เี หมาะสม การประเมินผล การประเมินชิน้ งาน วชิ าที่ 5 การวางแผนการจดั โครงการหรอื กจิ กรรมผู้นาการเปล่ียนแปลงส่สู งั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทุจรติ (3 ชว่ั โมง) คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและเรียนรู้เก่ียวกับการวางแผนการจัดโครงการหรือกิจกรรมผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ตามประเด็น ช่ือโครงการหรือกิจกรรม หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย สถานทีด่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ วธิ ีดาเนนิ การ ผลสาเรจ็ ของโครงการหรือกจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือฝึกปฏิบัติการวางแผนการจัดโครงการหรือกิจกรรมผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทน ต่อการทุจรติ การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นทข่ี องบคุ ลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผู้นาการเปลย่ี นแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต รนุ่ ท่ี 2
-16- เน้อื หาสาระ 1. หลักการและเหตผุ ล 2. วัตถุประสงค์ 3. กลุ่มเป้าหมาย 4. สถานที่ 5. ระยะเวลา 6. งบประมาณ 7. วิธีดาเนินการ 8. ผลสาเร็จของโครงการหรือกจิ กรรม แนวทางการพฒั นา จดั กิจกรรมท้ัง 8 เน้อื หาสาระใหส้ อดคล้องกนั โดยใชก้ จิ กรรมท่ีหลากหลาย เชน่ การบรรยาย การคดิ วเิ คราะหก์ รณีศึกษา การทากจิ กรรมกลมุ่ การอภปิ รายกล่มุ ส่ือทีใ่ ช้ในการพัฒนา PowerPoint ใบงาน หรอื สื่ออืน่ ๆ ทเี่ หมาะสม การประเมนิ ผล การประเมินช้ินงาน วชิ าท่ี 6 กจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์ ( 3 ชวั่ โมง) คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและเรียนรู้แนวคิดเก่ียวกับการจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรม โดยใช้กิจกรรมหรือเกมส์ เป็นสื่อเรยี นรเู้ ทคนคิ การจัดกิจกรรมกลุม่ สมั พนั ธ์เพื่อให้ผเู้ ขา้ รับการพฒั นานาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสรา้ งเสริมความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับเทคนิคการจัดกิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ 2. เพอื่ สรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผ้เู ข้ารับการพฒั นารู้สึกสนุกสนาน ไม่รู้สกึ ว่าถูกสอนและ เรียนร้ไู ด้ในระยะสน้ั 3. เพ่อื ช่วยใหเ้ กดิ ทัศนคติท่ีดีต่อกัน มีความเขา้ ใจ เห็นใจ และลดความขัดแยง้ เนอ้ื หาสาระ 1. การเลอื กกิจกรรม 2. ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 3. ประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการดาเนนิ กจิ กรรม การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพนื้ ที่ของบคุ ลากรผผู้ า่ นการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ าการเปลีย่ นแปลงสสู่ งั คมท่ีไมท่ นต่อการทุจริต รุ่นท่ี 2
-17- แนวทางการพัฒนา จัดกจิ กรรมท้ัง 3 เน้อื หาสาระใหส้ อดคล้องกนั โดยใช้กจิ กรรมทหี่ ลากหลาย เช่น การบรรยาย การทากจิ กรรมกลมุ่ หรอื เกมเปน็ สื่อ สื่อทใ่ี ชใ้ นการพัฒนา PowerPoint วดี ทิ ศั น์ หรอื ส่ืออื่นๆ ทเ่ี หมาะสม การประเมนิ ผล การประเมินชนิ้ งาน การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นทขี่ องบุคลากรผผู้ ่านการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ าการเปลยี่ นแปลงสสู่ งั คมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ ร่นุ ท่ี 2
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การตดิ ตาม การติดตามและประเมินผลบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต โครงการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อสนับสนุน การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค และเป็นการดาเนินการส่งเสริมการนาผลการพัฒนาไป ขยายผลในพื้นที่ตามกรอบแนวทางของสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ ป.ป.ช. กาหนด มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการดาเนินการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนท่ีของ บคุ ลากรผูผ้ า่ นการพัฒนา รุ่นที่1และรายงานผลการติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ ของบุคลากรผผู้ ่านการพฒั นา เพื่อการปรบั ปรงุ และพัฒนาการดาเนนิ งานต่อไป เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล การติดตามและประเมินผลของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนานาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นที่ 2 กาหนดใช้เคร่ืองมือการ เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบรายงานผลการดาเนินการพัฒนาของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนาเพื่อขับเคล่ือนการ ปฏริ ูปการศึกษาในภูมิภาคประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม/โครงการ กลุ่มเป้าหมาย วันท่ีดาเนินงาน สถานท่ีดาเนินงาน ข้ันตอนการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งาน ภาพถา่ ยกิจกรรม/โครงการ วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูลการติดตามและประเมินผลของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนานาการ พัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นท่ี 2 มขี ้ันตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ดังน้ี 1. แจกแบบรายงานผลการดาเนนิ การพฒั นาของบคุ ลากรกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพื่อขับเคล่อื น การปฏิรปู การศึกษาในภมู ิภาคให้ผูผ้ า่ นการพัฒนา ร่นุ ที่ 2 2. กาหนดระยะเวลานาส่งรายงานผลการดาเนินการพัฒนาของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา รนุ่ ท่ี 2 ไปยงั สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ภายในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2562 3. ดาเนนิ การรวบรวมข้อมลู ของบคุ ลากรผู้ผา่ นการพัฒนา ร่นุ ท่ี 2 4. สรปุ การนาผลการพัฒนาไปขยายผลในพนื้ ท่ี การวิเคราะห์ข้อมลู การติดตามและประเมินผลของบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตของสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ที่นา การพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนที่ รุ่นที่ 2 โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละและวิเคราะห์เน้ือหา โดยการค้นหา ความหมาย จัดกลุ่มความหมาย ค้นหาแบบแผน เชื่อมโยงสัมพันธ์และสร้างข้อสรุป (ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, 2545 : 72) เพื่อตอบโจทยใ์ นการติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนาคร้ังนี้ การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นทขี่ องบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ าการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริต รุ่นท่ี 2
-19- สรุปและรายงานผลการตดิ ตามและประเมนิ ผล การตดิ ตามและประเมินผลของบคุ ลากรผู้ผา่ นการพัฒนาการนาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นที่ หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นที่ 2 นาเสนอการสรุปการติดตาม และประเมินผลตามประเด็นหลกั ของแบบรายงาน ดงั นี้ 1. แบบรายงานผลการดาเนินการพัฒนาของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการเพื่อขับเคล่ือนการ ปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคหลักสตู รสร้างวิทยากรผนู้ าการเปลยี่ นแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริตรุ่นท่ี 2 2. แบบสอบถามความคิดเห็นบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการ เปล่ียนแปลงสู่สงั คมท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริตรุ่นที่ 2 การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพน้ื ที่ของบุคลากรผู้ผา่ นการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผูน้ าการเปลยี่ นแปลงสูส่ งั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ที่ 2
บทท่ี 4 ผลการตดิ ตามการดาเนนิ การพัฒนา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา โดยกลุ่มพัฒนามาตรฐานและส่งเสริม เครือข่ายดาเนินการติดตามและประเมินผลบุคลากรผู้ผ่านการพัฒนาของสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงาน ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผ้นู าการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นที่ 2 โครงการพัฒนา บุคลากรกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือสนับสนุนการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคตามกรอบแนวทางของ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ป.ป.ช. กาหนด ซ่ึงเป็นการส่งเสริมและพัฒนา บุคลากรผผู้ า่ นการพัฒนาท่นี าการพัฒนาไปขยายผลในพนื้ ที่ ผู้เข้ารับการพัฒนา จานวน 46 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.22 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 34.78 ด้านตาแหน่งส่วนใหญ่เป็นตาแหน่งศึกษานิเทศก์ คิดเป็นร้อยละ 34.78 รองลงมาคือ นิติกร คิดเป็นร้อยละ 17.39 นักทรัพยากรบุคคล คิดเป็นร้อยละ 15.22 นักวิชาการศึกษา นักจัดการงานทั่วไป และตาแหน่งอ่ืนๆ คิดเป็นร้อยละ 8.70 ตามลาดับ สังกัดของผู้เข้ารับการพัฒนา ส่วนใหญ่ คือ สานักงานสานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 76.09 รองลงมาคือ สานักงานศึกษาธิการภาค คิดเป็นร้อยละ 23.91 ตามลาดบั ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ผู้เข้ารับการพฒั นาหลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผูน้ าการเปลย่ี นแปลงสูส่ ังคมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต รนุ่ ที่ 2 นาการพัฒนาไปขยายผลในพน้ื ท่ี มีจานวน 16 คน ดงั ตารางที่ 1
-2 ตารางท่ี 1 ข้อมูลการดาเนินการนาการพฒั นาไปขยายผลในพน้ื ที่ของผผู้ า่ นการพัฒนา ที่ ชื่อผดู้ าเนินการพฒั นา/หนว่ ยงาน กจิ กรรม/โครงการของวทิ ยากรผนู้ าการเป ส่สู ังคมท่ไี ม่ทนตอ่ การทจุ ริต 1 นางสาววนั กวี พวงเกาะ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการ การประชุมเชงิ ปฏิบัติการเพอื่ สรา้ งการรับรยู้ ทุ ธ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 13 และยทุ ธศาสตรท์ ่ีเกี่ยวข้อง โครงการส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มในการประเมินค ความโปรง่ ใสของสานักงานศึกษาธิการภาค 13 งบประมาณ พ.ศ. 2562 2 นางรินทิพย์ วารี โครงการพัฒนาบุคลากรในสงั กดั สานกั งานศกึ ษ ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ จงั หวัดนครพนม กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพบคุ ล สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนครพนม ทางการสง่ เสรมิ การปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานคณุ ธร สู่สังคมไมท่ นต่อการทจุ รติ 3 นางดารุณี พทุ ไธวฒั น์ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ ถ่ายทอดความรู้ “Knowledge Managemen สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 8 (ชลบุร)ี ความตระหนกั ร้แู ละการมสี ่วนร่วมในการปอ้ งก สาหรบั บคุ ลากรภาครัฐ
21- ปลยี่ นแปลง วนั เดอื น ปี สถานท่/ี กลมุ่ เป้าหมาย ธศาสตรช์ าติ ทด่ี าเนินงาน การดาเนนิ การพฒั นา (คน) 14 มนี าคม 2562 โรงแรมสมี าธานี คณุ ธรรมและ อาเภอเมือง ผู้บรหิ ารหนว่ ยงานทางการศกึ ษา 3 ประจาปี 11 – 12 มถิ นุ ายน นครราชสมี า ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา และบคุ ลากร 2562 จังหวัดนครราชสมี า ทางการศึกษา ในพืน้ ท่ีจังหวดั ษาธกิ าร นครราชสมี า จังหวัดชยั ภมู ิ ลากรตามแนว 16 - 17 มนี าคม 2562 โรงแรมปญั จดารา จงั หวัดบุรรี มั ย์ และจังหวัดสรุ ินทร์ รรม จรยิ ธรรม อาเภอเมือง จานวน 300 คน นครราชสมี า จังหวัด นครราชสมี า ผู้บรหิ ารหนว่ ยงานทางการศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา และบคุ ลากร ห้องประชุมลาน้าโขง ทางการศกึ ษา ในพืน้ ทจ่ี งั หวดั สานกั งานศกึ ษาธิการ นครราชสมี า จังหวดั ชัยภมู ิ จังหวดั นครพนม จังหวดั บรุ ีรมั ย์ และจังหวัดสรุ นิ ทร์ จานวน 70 คน บุคลากรในสังกัดสานักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวัดนครพนม จานวน 40 คน nt” การสรา้ ง 28 มีนาคม 2562 ห้องประชุมกัญฐณัฏ บคุ ลากรของสานักงานศึกษาธกิ าร กนั การทจุ รติ พัฒนา สานกั งาน ภาค 8 ศึกษาธิการภาค 8 จานวน 20 คน
ท่ี ชื่อผ้ดู าเนินการพัฒนา/หน่วยงาน กจิ กรรม/โครงการของวทิ ยากรผนู้ าการเป สู่สงั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ ริต 4 นางสาวพจนพร แกว้ เนตร การถ่ายทอดความรเู้ ก่ยี วกับการแยกแยะผลปร นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ ตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม มีความละอายไม สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 14 ทุจริต 5 นางสาวปิยนาถ สบื เนยี ม โครงการยกระดับคุณธรรม ความโปร่งใสของส ผู้อานวยการกล่มุ บริหารงานบคุ คล ศึกษาธกิ ารจงั หวดั กาญจนบรุ ี ประจาปีงบประม สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดกาญจนบุรี 2562 6 นางมาลินี กลางประพนั ธ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการสรา้ งจติ สานึกในการป ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ ปราบปรามการทจุ รติ ให้กับเครอื ขา่ ยภาครฐั ต่อ สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั มกุ ดาหาร ทจุ ริตภายใตโ้ ครงการ “ขา้ ราชการไทยไร้ทจุ รติ ศกึ ษาธกิ ารจังหวัดมุกดาหาร 7 นางสาวบุษบา สุกแกว้ การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารส่งเสรมิ การมีส่วนร่วม ศึกษานิเทศก์ ประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ของส สานักงานศึกษาธิการจังหวดั แพร่ ศกึ ษาธิการจังหวัดแพร่ ประจาปงี บประมาณ 2 8 นางนวพร วรรณมณี โครงการเสรมิ สร้างบุคลากรภายในสานกั งานศ นกั จัดการงานทั่วไปชานาญการ จังหวัด สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดพะเยา 9 นางอัญชลี โพธ์พิ าด การประชมุ ชแ้ี จงการประเมนิ คณุ ธรรมและควา นักจัดการงานทัว่ ไปชานาญการ การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity สานักงานศึกษาธิการภาค 15 Transparency Assessment: ITA) 10 นางสาวกาญจนี ฟคู าใบ กิจกรรมเครือข่ายบคุ ลากรที่ไม่ทนตอ่ ทจุ รติ นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ลาปาง การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพน้ื ท่ขี องบคุ ลากรผ้ผู า่ นการ
-22- ปลี่ยนแปลง วัน เดือน ปี สถานท่/ี กลุ่มเป้าหมาย ท่ดี าเนินงาน การดาเนินการพฒั นา (คน) ระโยชนส์ ่วน ม่ทนตอ่ การ 18 เมษายน 2562 สานกั งานศึกษาธกิ าร ข้าราชการภายในสังกดั สานักงาน ภาค 14 ศกึ ษาธกิ ารภาค 14 สานกั งาน 14 พฤษภาคม 2562 หอ้ งประชุมใหญ่ บคุ ลากรของสานักงานศึกษาธกิ าร มาณ พ.ศ. สานักงาน กศน.จงั หวดั จงั หวดั กาญจนบรุ ี 16 - 17 พฤษภาคม กาญจนบรุ ี จานวน 44 คน ปอ้ งกนั และ 2562 อต้านการ หอ้ งไพลิน โรงแรม บุคลากรสานักงานศกึ ษาธกิ าร ต” สานักงาน พลอยพาเลซ อาเภอ จังหวัดมกุ ดาหาร จานวน 38 คน เมือง จังหวัดมุกดาหาร มในการ 2 มิถนุ ายน 2562 หอ้ งประชุม นคราพาวิ บคุ ลากรของสานักงานศึกษาธิการ สานกั งาน เลยี น โรงแรมแพรน่ ครา จังหวดั แพร่ จานวน 75 คน 2562 7 - 8 มิถุนายน 2562 อาเภอเมือง จังหวัดแพร่ ศึกษาธิการ บุคลากรในสานักงานศกึ ษาธิการ 31 กรกฎาคม 2562 โรงแรมนา้ โขงริเวอรไ์ ซต์ จงั หวดั พะเยา จานวน 50 คน ามโปรง่ ใสใน อาเภอเชียงของ y and เมษายน-กันยายน จังหวดั เชียงราย บคุ ลากรในสานักงานศึกษาธกิ าร 2562 ภาค 15 (เชียงใหม่) ห้องประชุม 3 จานวน 30 คน สานกั งานศึกษาธิการ บุคลากรผรู้ ับผดิ ชอบการจัดทา ภาค 15 ตวั ชวี้ ัดก้านการพัฒนาองคก์ ร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สานกั งานศึกษาธิการ จังหวดั ลาปาง รพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ าการเปล่ยี นแปลงส่สู ังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รนุ่ ที่ 2
-2 ท่ี ชือ่ ผูด้ าเนินการพัฒนา/หน่วยงาน กจิ กรรม/โครงการของวิทยากรผนู้ าการเปลย่ี ส่สู ังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทุจริต 11 นายรฐั พงศ์ หาป่ทู น นติ ิกรชานาญการพเิ ศษ โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 12 12 นางกนกวรรณ มโนตั้งวรพนั ธ์ โครงการปรับกระบวนคดิ สร้างสงั คมสจุ รติ ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการ สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั พิษณโุ ลก 13 นางสาวสวุ รินทร์ เพ็ญธญั ญการ สร้างความรคู้ วามเจ้าในในการใหท้ ุกคนร่วมคิดวิเค นกั วชิ าการตรวจสอบภายในชานาญการ แยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ พเิ ศษ การประชุม สัมมนา จดั ทาแผนปอ้ งกันและปราบ ทจุ รติ นากิจกรรมสร้างความเข้าใจ สร้างเครอื ข สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั นา่ น ทจุ ริต 14 นางชนื่ ฤดี บุตะเขยี ว ทบทวนการปฏบิ ัตติ น และระมดั ระวงั ในการปฏิบ ศึกษานิเทศก์ชานาญพิเศษ ไม่ใหผ้ ดิ ระเบียบและเกดิ ผลประโยชน์ทับซ้อน ปฏ สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั แบบอยา่ ง และไมท่ นต่อการทจุ รติ สรา้ งความรู้คว นครราชสมี า ใหก้ ับทกุ คน และสรา้ งการรับรู้ และตระหนักถึงค และความเสยี หาย. และชน่ื ชมคนดี 15 นายปัญจพงษ์ สมสาร์ พยายามปรบั ปรุงตนให้ทาตนเพือ่ ส่วนรวม พยายา นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ กรอบและถอื ปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม พ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดยโสธร ปลกู ฝัง ชักจงู ให้คนใกลต้ วั สนใจและตระหนกั ถงึ ผ ทจุ ริตทง้ั ทางตรงและทางอ้อม การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพนื้ ที่ของบคุ ลากรผผู้ า่ นการ
23- ยนแปลง วัน เดอื น ปี สถานที่/ กลมุ่ เป้าหมาย ทดี่ าเนินงาน การดาเนนิ การพฒั นา (คน) โรงแรมเจรญิ ธานี 18 – 19 กรกฎาคม อาเภอเมอื ง จงั หวัด บคุ ลากรในสานกั งานศึกษาธิการ 2562 ขอนแกน่ ภาค 12 และข้าราชการในพ้ืนท่ี รับผดิ ชอบ 4 จังหวดั (ร้อยเอ็ด 31 กรกฎาคม 2562 อาคารหอประชมุ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสนิ ธุ)์ นเรศวร โรงเรยี น จานวน 50 คน คราะห์ - พิษณโุ ลกพทิ ยาคม วนรวม ใน - บคุ ลากรสานักงานศึกษาธิการ บปรามการ สานกั งานศกึ ษาธกิ าร จงั หวัดพษิ ณโุ ลก จานวน 50 คน ข่าย ต้าน จงั หวัดนา่ น - นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวน 550 คน - บตั ิหนา้ ท่ี - สานักงานศึกษาธกิ าร - ฏิบตั ิตนเป็น จงั หวดั นครราชสมี า วามเข้าใจ ความสาคญั ามวาง - สานกั งานศกึ ษาธกิ าร - พยายาม จังหวดั ยโสธร ผลเสยี การ รพฒั นา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ ริต รุน่ ที่ 2
-2 ท่ี ช่ือผู้ดาเนนิ การพัฒนา/หน่วยงาน กจิ กรรม/โครงการของวิทยากรผนู้ าการเปล่ยี สู่สังคมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ ริต 16 นางสาวลดั ดาวรรณ ศรหี าบุตร นักจัดการงานทว่ั ไปปฏบิ ตั ิการ เปลย่ี นแปลงตนเองในการนาหลักคดิ การไมท่ นตอ่ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 10 ปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวันทุกเร่อื ง ไมเ่ ฉพาะการปฏ เร่มิ ท่ตี นเองและทาใหเ้ ป็นนสิ ัย เปน็ เย่ียงอยา่ งใหเ้ ร่วมงานปฏิบตั ติ าม และทกั ทว้ งตอ่ การทุจรติ ของห เรม่ิ ตน้ ทตี่ นเองทาใหเ้ ปน็ กิจวตั รประจาวัน ขยายผ หนว่ ยงาน และร่วมเป็นวทิ ยากรขยายผลไปยงั พืน้ ร จากตารางท่ี 1 ผู้ผ่านการพัฒนาหลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเป มจี านวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 34.78 ซ่ึงพื้นท่ีที่นาไปขยายผลมีท้ังส้ิน 18 จังหวัด ไ จงั หวดั ชลบรุ ี จังหวดั พิษณุโลก จังหวัดร้อยเอด็ จังหวัดขอนแกน่ จงั หวัดมหาสารคาม จงั ห กาญจนบุรี จังหวัดอุบลราชธานี จานวนกลมุ่ เปา้ หมายรวมท้งั ส้ิน 1,317 คน และส่วนของผู้เข้ารับการพัฒนาหลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปล่ียนแ 30 คน ดังตารางที่ 2 การตดิ ตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพ้ืนทีข่ องบคุ ลากรผู้ผา่ นการ
24- ยนแปลง วนั เดือน ปี สถานที่/ กลุ่มเป้าหมาย (คน) ที่ดาเนินงาน การดาเนนิ การพัฒนา - อการทจุ ริต - สานักงานศึกษาธกิ าร 1,317 ฏบิ ตั ิงาน ภาค 10 เพอื่ น หนว่ ยงาน ผลไปยัง นท่ตี า่ ง ๆ รวมจานวนกลุ่มเป้าหมายขยายผลลงพ้นื ท่ี จานวนทง้ั สนิ้ ปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นท่ี 2 ได้นาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นท่ี ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดนครพนม หวัดกาฬสนิ ธุ์ จังหวัดลาปาง เชียงใหม่ จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดมุกดาหาร จังหวัด แปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต รุ่นท่ี 2 ที่ไม่ได้นาการพัฒนาไปขยายผลในพื้นท่ี มีจานวน รพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงส่สู ังคมที่ไมท่ นต่อการทุจรติ รนุ่ ท่ี 2
-25- ตารางท่ี 2 รายชอ่ื ผู้เขา้ รับการพฒั นาหลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปล่ยี นแปลงส่สู งั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทุจริต ร่นุ ที่ 2 ทย่ี งั ไม่ได้นาการพฒั นาไปขยายผลในพ้ืนที่ ลาดับท่ี ชือ่ – สกลุ ตาแหนง่ หน่วยงาน 1 นางสพุ ตั รา ถนอมรัตน์ ผอ.กลมุ่ พัฒนาการศึกษา สนง.ศธจ.จนั ทบรุ ี 2 นางอง่นุ ละเตบ็ ซัน ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.ฉะเชิงเทรา 3 นายกิติคุณ ประสังสิต นิติกรชานาญการพเิ ศษ สนง.ศธจ.ปราจนี บรุ ี 4 นางสาวสุทธริ กั ษ์ พ้นภัยพาล ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ สนง.ศธจ.ชลบุรี 5 นางจงรกั บุหงารัตน์ นกั วิชาการตรวจสอบภายใน สนง.ศธจ.ระยอง 6 นายวรัญญู บัวอินทร์ นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการพิเศษ สนง.ศธจ.สระแก้ว 7 นายวีรตั น์ สานุมติ ร ศกึ ษานิเทศก์ สนง.ศธจ.เชยี งราย 8 นางสาวยศวดี เขตต์เมืองมลู ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.เชียงใหม่ 9 นางศริ ิณศิ า นันทวฒั นภิรมย์ นักจัดการงานทั่วไปชานาญการพิเศษ สนง.ศธจ.ลาพนู 10 นางประกาย ศรคี า ผอ.กลุม่ บริหารงานบคุ คล สนง.ศธจ.อุตรดติ ถ์ 11 นางสาวจรี ะวรรณ บุตรศาสตร์ นกั วิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ สนง.ศธจ.กาฬสินธุ์ 12 นายสทิ ธพิ งศ์ กาแก้ว นติ ิกรชานาญการ สนง.ศธจ.ชยั ภูมิ 13 นางนรมน ไกรสกลุ ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.บึงกาฬ 14 นายอดุลย์ สุชริ มั ย์ ศกึ ษานิเทศก์ สนง.ศธจ.บรุ รี ัมย์ 15 นายทวิ ากร ดวงเกตุ นิตกิ รชานาญการพิเศษ สนง.ศธจ.มหาสารคาม 16 นายประสิทธิ์ สาตรา นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ สนง.ศธจ.ร้อยเอ็ด 17 นายนพนเรนทร ชัชวาลย์ ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ สนง.ศธจ.เลย 18 นางฉววี รรณ ก้อนแพง นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ สนง.ศธจ.สกลนคร 19 นายชดั เจน ณรตั น์คณาสริ ิ ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.สุรนิ ทร์ 20 นายธรี ภัทร์ ใยแสง ศึกษานิเทศก์ สนง.ศธจ.ศรีสะเกษ 21 นายไพรบูลย์ ปดั สาแกว้ ศกึ ษานิเทศก์ สนง.ศธจ.หนองคาย 22 นางสาวภัทราวดี ศรีสวุ รรณ ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ สนง.ศธจ.อดุ รธานี 23 นางสาวผกาณติ พูลทวี ผู้อานวยการกลุม่ อานวยการ สนง.ศธจ.อานาจเจริญ 24 นางสาวตรงกมล บุตรโท นติ กิ รปฏบิ ตั กิ าร สนง.ศธจ.อุบลราชธานี 25 นางสาวนันทนทั พงษส์ มถ้อย นิติกรปฏบิ ตั กิ าร สนง.ศธจ.สระบุรี 26 นายวรพงษ์ ครุฑปราการ นิติกรชานาญการพเิ ศษ สนง ศธภ. 3 27 นายสิปปเดช ศรีลาวงษ์ นิตกิ รชานาญการ สนง ศธภ. 11 28 นางจณิ ท์จฑุ า ชูโตศรี นักวชิ าการศึกษา สนง ศธภ. 17 29 นายเกื้อกลู ดีประสงค์ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ สนง ศธภ. 18 30 นางสาวพัชรนันท์ เกียรตบิ ณั ฑติ รอง ศธภ.16 สนง.ศธภ. 16 จากตารางท่ี 2 ผู้เข้ารับการพัฒนาหลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการ ทุจริต รุ่นที่ 2 ที่ไม่ได้นาการพัฒนาไปขยายผลในพ้ืนที่ มีจานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 65.22 ซ่ึงจะเห็นได้ ว่า ผู้เขา้ รบั การพัฒนาไมน่ าการพัฒนาไปขยายผลมจี านวนมาก
ภาคผนวก การติดตามและประเมนิ ผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพ้นื ที่ของบคุ ลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผู้นาการเปลยี่ นแปลงส่สู งั คมที่ไม่ทนต่อการทจุ ริต รุ่นที่ 2
รายงานผลการนาการพัฒนาไปขยายผล 1. นางสาววันกวี พวงเกาะ นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการ สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 13 การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพืน้ ทข่ี องบคุ ลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ าการเปล่ยี นแปลงส่สู ังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ รุ่นท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
2. นางรนิ ทพิ ย์ วารี ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนครพนม การติดตามและประเมินผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพน้ื ที่ของบคุ ลากรผผู้ ่านการพัฒนา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลย่ี นแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจรติ รุ่นท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
3. นางดารณุ ี พทุ ไธวฒั น์ นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพิเศษ สานักงานศึกษาธิการภาค 8 (ชลบรุ ี) การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพืน้ ท่ขี องบุคลากรผูผ้ ่านการพัฒนา หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสสู่ งั คมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
4. นางสาวพจนพร แกว้ เนตร นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 14 การติดตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพืน้ ท่ขี องบคุ ลากรผู้ผา่ นการพฒั นา หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นต่อการทุจรติ ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
5. นางสาวปิยนาถ สืบเนียม ผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั กาญจนบรุ ี การตดิ ตามและประเมนิ ผลการนาการพัฒนาไปขยายผลในพ้นื ที่ของบคุ ลากรผู้ผ่านการพัฒนา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ าการเปลี่ยนแปลงส่สู ังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ ริต รุ่นที่ 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
การตดิ ตามและประเมินผลการนาการพฒั นาไปขยายผลในพื้นท่ขี องบุคลากรผ้ผู ่านการพฒั นา หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้นาการเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต ร่นุ ท่ี 2
Search