เม่ือวันที่ 7 ม.ค. 64 พ.อ. พนาเวศ จันทรังษี รอง จก.กส.ทบ. (1) เป็นประธานในพิธีบำาเพ็ญกุศล เนื่องใน วนั สถาปนา โรงเรยี นทหารการสตั ว์ กรมการสตั วท์ หารบก ครบรอบปที ่ี 61 ณ รร.กส.กส.ทบ. อ.เมอื งนครนายก จว.นครนายก เมอื่ วันท่ี 8 ม.ค. 64 พ.อ. เฉลมิ เกยี รติ ทองศิริ รอง จก.กส.ทบ. (2) เปน็ ประธานจัดงาน วนั เดก็ แหง่ ชาติ ประจาำ ปี 2564 และเนอื่ งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid – 19) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเหมาะสม ในการจดั กจิ กรรมต่างๆ ท่ีมกี ารรวมคนจาำ นวนมาก ในสถานท่ีเดียวกัน กส.ทบ. จึงให้ผู้แทนของแตล่ ะหนว่ ยมาดาำ เนนิ การ จบั ฉลากของขวญั ให้กบั บุตรหลานของกำาลังพล สังกดั กส.ทบ. (สว่ นกลาง น.ฐ.) วารสารการสตั ว 1 ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
เม่ือวันท่ี 9 ก.พ. 64 พล.ต. วิชัย ธารีฉัตร จก.กส.ทบ. ให้การต้อนรับ พล.อ. วิจักขฐ์ สิริบรรสพ ท่ีปรึกษา พิเศษประจำาสำานักงานมูลนิธิชัยพัฒนา และคณะ ในโอกาสเดินทางตรวจเย่ียมและให้คำาแนะนำา กรมการสัตว์ทหารบก ในการดาำ เนินโครงการทหารพนั ธ์ุดขี องหนว่ ย ณ กส.ทบ. (สว่ นกลาง น.ฐ.) เมื่อวนั ท่ี 19 ก.พ. 64 พล.ต. วชิ ัย ธารีฉัตร จก.กส.ทบ. เปน็ ประธานในพิธรี ับพระราชทานเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ ชนั้ สายสะพายของกาำ ลงั พล กส.ทบ. ทไี่ ดร้ บั พระราชทาน ประจาำ ปี 2563 จาำ นวน 10 นาย ณ แหลง่ ชมุ นมุ นายทหารการสตั ว์ กส.ทบ. (ส่วนกลาง น.ฐ.) เมื่อวันที่ 24 ก.พ. 64 พล.ต. วิชัย ธารีฉัตร จก.กส.ทบ. เป็นประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตร และพิธีปิด การศกึ ษาหลกั สตู รช้นั นายร้อยทหารการสตั ว์ รนุ่ ที่ 31 (1/64) ณ รร.กส.กส.ทบ. อ.เมอื งนครนายก จว.นครนายก 2 วารสารการสตั ว ปที่ 38 ฉบับท่ี 1
อันเน่ืองจากปก 3 มิถนุ ายน เนอื่ งในโอกาสวนั คลา้ ยวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจ้าสุทิดา พัชรสธุ าพิมลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี ทรงพระเจริญ ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหมอ่ ม ขอเดชะ ขา้ พระพุทธเจ้า ข้าราชการกรมการสตั ว์ทหารบก
รายนามคณะกรรมการด�ำเนินการวารสารการสัตว์ ท่ีปรกึ ษากิตติมศกั ดิ์ พล.อ. ณรงค์ นิลวาศ พล.อ. นันทพล จำ�รสั โรมรนั พล.อ. ทศพร ทรงสุวรรณ พล.อ. เสถยี ร ศลิ ปสมศักดิ์ พล.ท. วริ ชั รัชตะวรรณ พล.ท. ชาตชิ าย ออ่ นน่วม พล.ท. สภุ าพ ภัทรนาวกิ พล.อ. บญุ สร้าง มานะธรรม พล.ท. วรี ะพนั ธ์ สมคั รการ พล.ท. สมชาติ อนนั ตพงษ ์ พล.อ. รุง่ โรจน์ จ�ำ รัสโรมรัน พล.ท. กิตตพิ ันธ์ ชพู พิ ัฒน์ พล.อ. วชิ ัย ดิษเสถยี ร ทป่ี รึกษา พล.ต. พิเชษฐ์ สันต์สวสั ด ิ์ พล.ต. เศรษฐา จามีกร พล.ต. สุชาต ิ จลุ จาริตต ์ พล.ต. เรงิ ชัย กาญจนารมย์ พล.ท. วิมล วิวฒั น์วานชิ พล.ต. ขจิตร์ แสงสายณั ห ์ พล.ต. ยทุ ธเดช พุฒตาล พล.ต. ศิรชิ ยั ขาวอ่อน พล.ต. สุรศกั ดิ์ พนั ธศ์ุ ิร ิ พล.ต. นกุ ลู กองกาญจนะ พล.อ. ภัทธวิทย์ หงสประภาส พล.ต. สานติ ย์ รัตนะวงษ์ พล.ต. สมชาติ เธียรอนนั ต์ พล.ท.ดร. สบโชค ศรสี าคร พล.ต.หญิง ม.ล.ลดาวลั ย์ กมลาศน์ พล.ต. นรินทร์ ทพิ ยม์ ณี พล.ท. อัษฎางค์ โชตปริ ะศาสนอ์ นิ ทาระ พล.ต. สาทร จนั ทนปุ่ม พล.ต. สรุ ชยั สมประสงค์ พล.ท. วรี ะพงษ์ เหมนิธ ิ พล.ต. อิทธิพงศ์ ประเสรฐิ สันต ิ พล.ต. สุรศักด์ิ จินดาประสาน พล.ต. สขุ ุม สุจริต พล.ต. ชาติชาย พวงชมพู พล.ต. ศภุ พงศ์ อบุ ลศรี พล.ต. สุบรรณ นันทวรรณ พล.ต. สมยศ ปรชี าสินธพ พล.ต. เชอื้ ชาย ขันธปุ ฉั ฏน์ พล.ต. บรรพต ไชยปู ถัมภ์ พล.ต.ม.ล. นภดล จรูญโรจน ์ พล.ต. สุเทพ สมบรู ณ์สิน พล.ท. พงษศ์ ักด์ิ พานิชเกรยี งไกร พล.ต. วชิ แตงสาขา พล.ต. ชัช เดน่ ดวง พล.ต. โสภณ ปรุงสวุ รรณ์ พล.ท.หญิง อนุพร พรหมาศ พล.ต. ชโู ชติ กฬี าแปง พล.ต. วินยั บุญลยางกูร พล.ต. วฒุ ิพรรณ โพธิวงศ ์ พล.ต. ศิรินทร์ ทวชิ ศรี พล.ต. สนุ ทร น้อยไทย พล.ต. สมศกั ดิ์ รักศีล พล.ท. เลยี บ จันทรส์ ขุ โข พล.ท. สธุ ี ชจู ันทร ์ พล.ต. ดิเรก กงิ่ เนตร พล.ต. พัฒนพล พลเยีย่ ม พล.ต. ไชยยนั ต์ กยุ ยกานนท ์ คณะผู้จัดท�ำ วารสารการสตั ว ์ กองอำ�นวยการ พล.ต. วิชัย ธารฉี ตั ร ผ้อู ำ�นวยการ พ.อ. เฉลิมเกยี รติ ทองศิร ิ รองผู้อำ�นวยการ พ.อ. มนัส โหย่งไทย รองผอู้ �ำ นวยการ พ.อ. พนาเวศ จนั ทรงั ษ ี รองผู้อ�ำ นวยการ พ.อ. จฑุ า รังสยิ านนท ์ รองผูอ้ ำ�นวยการ ประจำ�กองอำ�นวยการ พ.อ. ธนาเดช ตรีพัฒนา พ.อ. ชิต แดงปรก พ.อ. สมรรถชยั ณ พัทลุง กองบรรณาธิการ กองจดั การ ผ้จู ัดการ พ.อ. จริ วัฒน มากทรัพย์ บรรณาธกิ าร พ.ท. รักพงษ์ ตาใจ พ.อ. ณัฐพร สาธุเม ผูช้ ่วยบรรณาธกิ าร ประจ�ำ กองบรรณาธิการ ประจ�ำ กองจัดการ พ.อ. อำ�นาจ จงั พานชิ พ.อ. วิศิษฏ์ พรหมธรี ะวงศ์ พ.ต. สุรยุทธ ์ แตงอ่อน พ.อ. วสิ ูตร เอยี่ มเรือง พ.อ. อรรณพ ชอบประดษิ ฐ์ ร.ต. สเุ ทพ แกว้ เกตุ พ.อ. พัฒนะ ประยรู เทพ พ.ท. ภากร สวสั ดสิ์ ิงห ์ จ.ส.อ. เสกสรร บญุ ญฤทธ์ิ พ.อ. วทิ รู โพธริ์ ม่ ช่ืน พ.อ. พุทธพร เพ็ชรชนะ จ.ส.อ. ทวีศักด์ิ มว่ งบ�ำ รุง พ.อ. สุรพงษ์ สิริสิทธนิ ันท ์ พ.ท. พงศธ์ ร จันทรปมุ่ จ.ส.อ. พษิ ณุ พรมปรวบ พ.อ. ถาวร ร่วมสขุ พ.ท. จักรพันธ์ พฒุ สวุ รรณ พ.อ. ยุทธนา สมนึก พ.ท. หญิง ปยิ ะจิตร ก๋งแกว้ ฝ่ายการเงิน ฝ่ายขา่ วและประชาสัมพันธ ์ ฝา่ ยศลิ ป์/สารสนเทศ พ.ท. วรกฤช มรี กั ษา พ.ท. หญงิ สนุ ิสา สุขสมบรู ณ์ พ.ท. ชยั รัตน์ ศรีภริ มย์ 4 วารสารการสัตว์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
บรรณาธิการแถลง สวัสดคี รบั ท่านสมาชิก “วารสารการสัตว์” ทุกท่าน ในปี 2564 น้ี ยงั มีส่งิ ที่ สมาชิกทุกท่าน คนไทย ทกุ คนตลอดทง้ั ประชาชนทงั้ โลก ยงั ตอ้ งเผชญิ กนั กบั ภยั พบิ ตั ริ ว่ มกนั คอื สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID-19) ซงึ่ กเ็ ปน็ ทที่ ราบกนั ดแี ลว้ วา่ ทกุ ภาคสว่ นตา่ งรว่ มมอื รว่ มใจกนั เพอ่ื ให้ เราสามารถเอาชนะและผ่านพน้ สถานการณน์ ้ไี ปได้ดว้ ยกัน ส�ำ หรบั “วารสารการสตั ว”์ ปที ี่ 38 ฉบบั ท่ี 1 นี้ กองบรรณาธกิ าร ขอน�ำ เสนอบทความและเรอ่ื งราว ที่เก่ียวเนื่องกับภารกิจสำ�คัญที่ กรมการสัตว์ทหารบก และเหล่าทหารการสัตว์ ได้ดำ�เนินการ อาทิ โครงการอนุรักษ์และพัฒนากระเบือไทย, การพัฒนาสายพันธ์ุสุนัขทหารและความต่อเน่ืองของโครงการ ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง โคก หนอง นา โมเดล พร้อมทั้งบทความทน่ี ่าสนใจอกี มากมาย ซงึ่ หวังวา่ จะเป็นประโยชนต์ อ่ สามาชิกและผอู้ ่านทกุ ทา่ น ทงั้ น้หี ากท่านมขี อ้ เสนอแนะหรือพิจารณาเหน็ ว่ามีเรื่องใดท่ี ควรปรบั ปรงุ หรือพัฒนาคุณภาพของ วารสารการสัตว์ ใหด้ ยี ่งิ ข้ึนขอความกรุณาแจง้ มาท่ี กองบรรณาธกิ าร จกั ขอบคณุ ยิง่ พ.อ. จิรวัฒน์ มากทรัพย์ บรรณาธิการ วารสารการสัตว์ วารสารการสัตว์ 5 ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
Content สารบัญ กิจกรรม กส.ทบ. 1 กจิ กรรม กส.ทบ. 2 อันเน่อื งจากปก 3 รายนามคณะกรรมการดําเนินการวารสารการสตั ว 4 บรรณาธิการแถลง 5 การพฒั นาสายพันธสุ นุ ัข 7 ความกา วหนาโครงการ โคก หนอง นา โมเดล 11 โครงการอนรุ ักษกระบือไทย 16 คําถามยอดฮิตโรคไต 22 กิจกรรม กส.ทบ. 25 กจิ กรรม กส.ทบ. 26 กิจกรรม กส.ทบ. 27 บารมีธรรมพระมหากษตั รยิ 29 หลักสตู รสง ทางอากาศ รนุ ที่ 332 33 เรอ่ื งราวของ กองการสตั วฯ 36 โรคลัมป สกิน (Lumpy Skin Disease) 41 คนเกง ในเหลา ทหารการสัตว 54 ความประทบั ใจช้ันนายรอ ย31 56 ความประทับใจนายสิบชัน้ ตน กส. 29 59 กิจกรรม กส.ทบ. 61 กจิ กรรม กส.ทบ. 62 6 วารสารการสัตว ปที่ 38 ฉบับท่ี 1
การพัฒนาสายพันธุ์สุนัขทหาร โดย ศสท.กส.ทบ. การใหไ้ ดม้ าซง่ึ สนุ ขั ทหารทมี่ คี ณุ ลกั ษณะตามตอ้ งการ มาจากสองสว่ นส�ำคญั หนงึ่ เปน็ พฒั นาการทมี่ า จากการเลยี้ งดู รวมถึงขน้ั ตอนการฝกึ ต่างๆ และส่วนที่สอง คือ คณุ ลักษณะส�ำคญั ทถี่ ่ายทอดทางพันธกุ รรม การหาสายเลือดสุนัขที่มีลักษณะดีและสามารถถ่ายทอดลักษณะดีๆ น้ันไปสู่รุ่นลูกได้โดยปราศจากโรคที่ ถ่ายทอดทางพันธุ์กรรมต่างๆ เป็นสิ่งท่ีผู้เพาะพันธุ์สุนัขทุกคนปรารถนา โดยทั่วไปแล้ว สุนัขท่ีมีลักษณะดี โครงสร้างสวยงามหลายๆตัว ไม่สามารถถ่ายทอดลักษณะดีๆนั้นให้แก่รุ่นลูกได้ ในแวดวงผู้เพาะพันธุ์สุนัข ตา่ งๆ จงึ มคี วามพยายามในการเสาะหาสายพนั ธส์ุ นุ ขั ทม่ี ลี กั ษณะดเี ยยี่ มเขา้ มาอยใู่ นฟารม์ ของตนเองอยเู่ สมอ ทงั้ จากงานประกวดสนุ ขั การแขง่ ขนั สนุ ขั ตา่ งๆ ลกู สนุ ขั ทเี่ กดิ จากพอ่ หรอื แมท่ ม่ี ดี กี รเี ปน็ แชมปเ์ ปย้ี นจากงาน ประกวดต่างๆ จะสามารถเพ่มิ มูลคา่ ให้กับลูกสุนัขทีจ่ ะเพาะข้ึนมาจากพ่อแม่กลุ่มน้ีไดห้ ลายเท่า อย่างไรก็ดี การเพาะพนั ธส์ุ นุ ขั ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ รอบของระบบราชการ อาจมขี อ้ จ�ำกดั หลายอยา่ ง ท�ำไมส่ ามารถพฒั นาสาย พันธส์ุ นุ ขั ได้งา่ ยนักเหมอื นกับการพฒั นาสายพันธ์ทุ ่ีกระท�ำในระบบฟาร์มเอกชน โดยสง่ิ ให้ท่ีพอจะท�ำไดค้ ือ การคดั สรร หาสายเลือดท่มี ลี กั ษณะดขี ้ึนมาใช้เปน็ สนุ ัขพ่อพันธุ์แมพ่ นั ธ์ุ สง่ิ ทคี่ วรพจิ ารณาการพฒั นาสายพนั ธ์ุ อนั ดบั แรกจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจหลกั การผสมพนั ธโ์ุ ดยการผสม พนั ธ์ุสุนัขที่ใช้ในทางการทหาร จะเป็นการผสมพันธุแ์ บบคงสายพันธ์ุ (Pure breeding) กลา่ วคือเป็นการ ผสมเฉพาะภายในสนุ ขั พนั ธเ์ุ ดยี วกนั ซงึ่ จะตรงขา้ มกบั การผสมพนั ธแ์ุ บบนอกสายพนั ธ์ุ (Crossed breeding) การผสมพันธุ์สุนัขพันธุ์เดียวกันน้ียังแยกออกเป็น 2 แบบด้วยกันคือ ถ้ามีบรรพบุรุษร่วมอยู่ในสายตระกูล ภายใน 6 รนุ่ ตงั้ แต1่ ตวั ขนึ้ ไปแลว้ จะก�ำหนดวา่ เปน็ การผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู (Inbreeding) ถา้ ภายใน 6 รนุ่ ไมป่ รากฏมีบรรพบุรุษรว่ มกนั อยูเ่ ลยจะก�ำหนดว่าเปน็ การผสมพันธ์นุ อกสายตระกลู (Outbreeding) การผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู กบั นอกสายตระกลู นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคแ์ ตกตา่ งกนั กลา่ วคอื ถา้ เปน็ การผสม พนั ธใุ์ นสายตระกลู ซึ่งจะมีบรรพบุรษุ ร่วมกนั อยภู่ ายใน 6 ร่นุ นัน้ เป็นการผสมพนั ธซ์ุ อ้ นในสายเดิมเพอ่ื หวัง ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคใ์ หเ้ กดิ ในสนุ ขั ชนั้ ลกู เปน็ สว่ นใหญ่ โดยมากมกั จะกระท�ำในกรณที พี่ อ่ และแมม่ ลี กั ษณะ ดที ว่ั ๆไป เพอ่ื จดุ ประสงคใ์ นการขยายพนั ธเ์ุ ปน็ ส�ำคญั แตถ่ า้ ในกรณที ล่ี กั ษณะของตระกลู ทางแมย่ งั มลี กั ษณะ บางอยา่ งบกพรอ่ งอยู่ ควรแกไ้ ขสายตระกลู ในลกั ษณะนน้ั ๆใหด้ ขี นึ้ ผผู้ สมพนั ธจุ์ ะพยายามหาสนุ ขั ในตระกลู อนื่ ทมี่ ลี กั ษณะดเี ดน่ ในจดุ นนั้ ๆมาเปน็ คผู่ สม เพอื่ จะดงึ ลกั ษณะทดี่ ตี ามตอ้ งการจากตระกลู อน่ื มาใหก้ บั ตระกลู ของตน ซ่ึงการกระท�ำเหลา่ นีท้ �ำใหล้ กั ษณะบกพร่องของสายตระกูลของตนดีขน้ึ จงึ เรยี กได้วา่ เป็นการผสม พนั ธุเ์ พ่ือการพฒั นาพันธ์ุ การผสมพนั ธนุ์ อกสายตระกลู ตามทกี่ ล่าวมานจี้ ะยังไม่สนิ้ สุด ผู้ผสมพันธ์จุ ะด�ำเนนิ การตอ่ ๆไปเพอื่ ให้ลักษณะใหม่ท่ีต้องการมคี วามเสถยี ร วารสารการสตั ว์ 7 ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
การผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู (Inbreeding) ในทางวชิ าการอธบิ ายรายละเอยี ดดงั น้ี หากตวั บรรพบรุ ษุ รว่ มทเ่ี กย่ี วขอ้ งทางเครอื ญาตขิ องคผู่ สมอยใู่ นระดบั 1-2 รนุ่ แสดงวา่ สนุ ขั คผู่ สมนน้ั มบี รรพบรุ ษุ รว่ มทง้ั พอ่ และ แม่ คอื เปน็ พน่ี อ้ งครอกเดยี วกนั หรอื ระหวา่ งครอกพก่ี บั ครอกนอ้ ง ซงึ่ เปน็ การรว่ มในรนุ่ ท1่ี หรอื มบี รรพบรุ ษุ ร่วมในพอ่ หรือแมร่ วมทั้งพีน่ ้องของพอ่ หรอื แม่ตัวใดตัวหนึ่ง ตลอดจนคผู่ สมเป็นลูกของพีน่ ้องร่วมพ่อแม่กนั กต็ ามซงึ่ เปน็ การรว่ มในรนุ่ ท่ี 2 หรอื การผสมพนั ธใ์ุ นระหวา่ งตวั พอ่ แมร่ วมทงั้ พนี่ อ้ งของแมก่ บั ลกู ของตน เรยี ก การผสมพนั ธุแ์ บบนีว้ ่า การผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู ใกล้ชดิ ซง่ึ จะถ่ายทอดลักษณะของตัวบรรพบรุ ษุ ร่วมกนั อย่างรุนแรงดังนั้น ผู้ผสมพันธุ์ที่ต้องการใช้วิธีการผสมแบบนี้จึงต้องมีความรู้ความช�ำนาญ จึงจะกระท�ำได้ โดยจะเลือกคู่ผสมท่ีมีลักษณะบกพร่องน้อยท่ีสุดเพื่อลดค่าความเส่ียงของการผสมที่จะแสดงลักษณะไม่พึง ประสงค์มายังรนุ่ ลกู แบบชดั เจน ถา้ ตัวสนุ ัขมีบรรพบรุ ุษรว่ มในรุ่นที่3-4 ลักษณะนจ้ี ะเรียกว่าเปน็ การผสม พันธใุ์ นสายตระกูลใกล้ โดยการผสมพนั ธล์ุ กั ษณะน้ีอทิ ธิพลในการถา่ ยทอดคณุ ลกั ษณะจะไม่รุนแรงนัก ดงั นน้ั โอกาสการเกดิ ลกั ษณะดอ้ ยและลกั ษณะเดน่ ทรี่ นุ แรงจะนอ้ ยแตโ่ อกาสการเกดิ สนุ ขั ดใี นระดบั ปานกลางจะ คอ่ นขา้ งมาก ซง่ึ เปน็ วตั ถปุ ระสงคส์ �ำคญั ในการขยายพนั ธ์ุ ถา้ ตวั สนุ ขั มบี รรพบรุ ษุ รว่ มกนั ในรนุ่ ที่ 5-6 ลกั ษณะ นจ้ี ะเรียกวา่ เป็นการผสมพนั ธใุ์ นสายตระกลู ห่าง ตัวบรรพบุรุษรว่ มจะมีอทิ ธพิ ลถ่ายทอดลกั ษณะมาสู่รุ่นลูก นอ้ ย ท�ำให้ได้สุนัขดปี านกลางเป็นสว่ นใหญร่ วมทั้งความเส่ียงตอ่ ลักษณะดอ้ ยกจ็ ะมนี ้อยเชน่ กนั กรณกี ารผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู ดงั กลา่ วน้ี ในขอ้ มลู ของการบนั ทกึ พนั ธป์ุ ระวตั ิ จะก�ำหนดไวเ้ พยี งรนุ่ ท5่ี ของสนุ ขั ตวั นน้ั ๆ เทา่ นน้ั สว่ นในรนุ่ ท6ี่ ซง่ึ เปน็ สายตระกลู ของระดบั พอ่ แมน่ น้ั จะมอี ทิ ธพิ ลในการถา่ ยทอด สู่รุ่นลกู นอ้ ยมาก จึงถือวา่ ไมเ่ ปน็ การผสมพนั ธ์ใุ นสายตระกลู ดงั นัน้ จะเห็นว่าการใหค้ วามส�ำคัญกับใบพนั ธุ์ ประวัติเป็นส่ิงที่ส�ำคัญอย่างย่ิงเพราะผู้ผสมสามารถตรวจสอบผลการถ่ายทอดลักษณะของสุนัขแต่ละรุ่นได้ เมอื่ ไดท้ �ำการตรวจสอบสายพนั ธข์ุ องสนุ ขั แตล่ ะตวั วา่ สนุ ขั ดงั กลา่ วนน้ั มลี กั ษณะในสายพนั ธอ์ุ ยา่ งไรลกั ษณะ เดน่ ทป่ี รากฏภายนอกและลกั ษณะแฝงทมี่ อี ยใู่ นสายเลอื ด ทางรา่ งกายและลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี แี ละเสยี มอี ทิ ธพิ ล ในการถ่ายทอดมากน้อยเท่าใดรวมท้ังแนวโน้มของลักษณะที่จะแสดงในรุ่นลูก ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นข้อมูล ส�ำคญั ในการพจิ ารณาส�ำหรบั การเลอื กคสู่ นุ ขั ผสมวา่ จะเลอื กตวั ใด จงึ จะไดล้ กู ทมี่ ลี กั ษณะตามประสงค์ ทง้ั นี้ การทจ่ี ะไดล้ กั ษณะของลกู สนุ ขั ตามความตอ้ งการแนน่ อนนนั้ เปน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไดย้ ากเพราะการผสมเปน็ เรอ่ื ง ธรรมชาติ ยอ่ มมปี จั จยั อน่ื ๆเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งดว้ ย แตห่ ากใชห้ ลกั วชิ าการและการประเมนิ ทล่ี ะเอยี ดรอบคอบ กจ็ ะใหผ้ ลเปน็ ไปตามทต่ี ้องการไดม้ ากที่สุด นอกจากเรอื่ งของการตรวจสอบใบพนั ธป์ุ ระวตั แิ ละการบนั ทกึ การผสมแลว้ นน้ั ขอ้ ปฏบิ ตั ติ อ่ พอ่ พนั ธ์ุ และแมพ่ ันธุเ์ ปน็ ส่ิงท่ีส�ำคญั 8 วารสารการสัตว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
รปู ภาพแสดง การผสมพนั ธใ์ุ นสายตระกลู (Inbreeding)และการผสมพนั ธน์ุ อกสายตระกลู (Outbreeding) ที่มา : https://www.researchgate.net/figure/Crossing-design-for-generating-serial-in bred-and-outbred-lines-of-P-xylostella_fig2_281818043 ขอ้ ปฏิบัติของสุนัขพ่อพนั ธุ์ สง่ิ แรกทค่ี วรกลา่ วถงึ คอื สมดุ บนั ทกึ การผสมพนั ธ์ุ โดยมตี ารางสาำ หรบั การบนั ทกึ เมอ่ื มกี ารผสมพนั ธ์ุ อยู่ภายในสมุดนี้จะต้องทำาให้ทันสมัยอยู่เสมอและต้องบันทึกให้ครบถ้วนสมบูรณ์ด้วย นอกจากสมุดบันทึก การผสมยงั มแี บบเอกสารรบั รองการผสมพนั ธด์ุ ว้ ย รบั รองการผสมพนั ธน์ุ ห้ี นา้ แรกจะเปน็ ประวตั แิ ละรายการ ผสมพันธุส์ ว่ นด้านหลังเปน็ ใบพันธป์ุ ระวตั ิ มขี อ้ ปฏบิ ตั ทิ วั่ ไปทีส่ มาคมผเู้ พาะพันธุส์ ุนขั ต่างๆ กำาหนดไว้ คือให้ผสมพนั ธกุ์ บั สุนขั เพศเมยี ทีม่ อี ายุ ไม่น้อยกว่า 20 เดือน ท่ีมีสุขภาพดีและได้รับรองผลการประกวดในอันดับดีข้ึนไป กรณีเกี่ยวกับอายุนั้น มีข้ออนุโลมสำาหรับสุนัขเพศเมียที่มีความเจริญเติบโตเต็มท่ีและมีอายุ 18 เดือนไปแล้ว อาจผ่อนผันให้ วารสารการสตั ว 9 ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
โดยสขุ ภาพตอ้ งมคี วามสมบรู ณเ์ พยี งพอตอ่ การใหก้ �ำเนดิ ส�ำหรบั ผลการรบั รองการประกวดหรอื รบั รองพนั ธ์ุ ต้องอยู่ในระดับดี จึงจะรับผสมได้หากไม่เข้าเกณฑ์ดังกล่าวเจ้าของพ่อพันธุ์สามารถปฏิเสธการผสมพันธุ์ได้ ห้ามน�ำพ่อพันธุ์ผสมพันธุ์เกินจ�ำนวนที่ก�ำหนด กล่าวคือพ่อพันธุ์ต้องผสมได้ปีละไม่เกิน 60 ครั้ง พ่อพันธุ์ ทกุ ตวั ตอ้ งไดร้ บั รองขอ้ สะโพกและขอ้ ศอกทงั้ สนิ้ พอ่ พนั ธค์ุ วรมกี ารบ�ำรงุ เลย้ี งและฝกึ โดยถกู ตอ้ ง ตอ้ งมสี ขุ ภาพ ดีเมอ่ื ผสมพนั ธ์แุ ละปราศจากโรคตดิ ต่อ การดูแลสุขภาพและสขุ าภบิ าลท่ีเหมาะสมเพือ่ ใหก้ ารผสมพนั ธุเ์ ปน็ ไปได้ด้วยดแี ละปอ้ งกันการแพรโ่ รคตดิ ตอ่ ไปสูส่ นุ ขั เพศเมีย ขอ้ ปฏิบัติของสนุ ัขแม่พนั ธุ์ ก�ำหนดใหห้ า้ มผสมพนั ธส์ุ นุ ขั อายุ 20 เดอื น ถา้ เจา้ ของแมพ่ นั ธม์ุ คี วามประสงคจ์ ะน�ำแมพ่ นั ธข์ุ องตน ไปผสมกบั พอ่ สนุ ขั ทไี่ มไ่ ดร้ บั รองการคดั พนั ธ์ุ จะตอ้ งขออนญุ าตเปน็ พเิ ศษจากสมาคมผเู้ พาะพนั ธส์ุ นุ ขั แมพ่ นั ธ์ุ จะต้องผสมกับพ่อพันธุ์เท่าน้ันจะผสมกับสุนัขธรรมดาไม่ได้ แต่มีข้อยกเว้นกรณีท่ีพ่อสุนัขบางตัวเป็นสุนัข ช้นั เย่ยี ม แต่มาจากต่างประเทศทไ่ี มม่ กี ารคดั พันธ์ุจึงไม่สามารถเป็นพอ่ พันธุ์ เมอื่ จะมีการผสมพนั ธ์ุ เจ้าของ แม่พันธุ์ต้องแสดงหลักฐานต่างๆเก่ียวกับตัวสุนัขแม่พันธุ์ของตนรวมท้ังประวัติสุขภาพและความปลอดภัย จากโรคติดต่อของคอกให้กับเจ้าของสุนัขพ่อพันธุ์ให้ทราบล่วงหน้า เม่ือแม่สุนัขผสมจนคลอดและเลี้ยงลูก สุนขั ได้ 8 สปั ดาห์ สามารถจดทะเบียนครอก เพื่อควบคมุ สายพนั ธ์ุ การจดทะเบยี นครอกน้ีจะต่อเนื่องจาก การสักใบหูซึ่งนิยมสักหูเม่ืออายุ 7 สัปดาห์ การบันทึกข้อมูลแม่พันธุ์ก็จะมีสมุดบันทึกประจ�ำตัว เช่น การเรียกว่าสมุดประวัติการผสมพันธุ์ประจ�ำตัวสุนัข สมุดน้ีจะมีการบันทึกโดยละเอียดในการผสมพันธุ์ การตัง้ ครรภ์ การคลอดและความเปน็ ไปของลกู สุนขั การผสมพันธ์จุ ะตอ้ งบันทึกโดยละเอียดทัง้ ข้อมูลของ พอ่ และแมร่ วมทง้ั แบบการผสมพนั ธแ์ุ ละจดุ มงุ่ หมายในการผสมพนั ธค์ุ รงั้ นนั้ ซง่ึ จะใหผ้ คู้ วบคมุ การผสมพนั ธ์ุ ลงนามไวด้ ว้ ยและในระหวา่ งการตง้ั ครรภจ์ ะมกี ารบนั ทกึ สขุ ภาพ การเลยี้ ง การออกก�ำลงั กาย การใหเ้ วชภณั ฑ์ และถัดไปจะเป็นการบันทึกการคลอดว่าใช้ยาเร่งการคลอดหรือไม่ ระยะเวลาคลอด ความผิดปกติ ต่างๆ ซงึ่ ขอ้ มูลเหลา่ นี้จะตอ้ งมีการบันทึกให้ทันสมยั อยู่เสมอ 10 วารสารการสตั ว์ ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
โคก หนอง นาโครงการ กสษ.3 กส.ทบ. สบื เนอื่ งจากวารสารฉบบั ทผ่ี า่ นมา กสษ.3 กส.ทบ. ไดก้ ลา่ วถงึ หลกั เกษตรทฤษฎใี หม่ ของพระบาท สมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพอื่ นำามาสกู่ ารดำาเนนิ โครงการ โคก หนอง นา ของ กสษ.3 กส.ทบ. ให้ทราบแล้วนนั้ สำาหรบั ในฉบับนีจ้ ะไดก้ ลา่ วถึงขนั้ ตอนการดำาเนนิ การ และความคบื หน้าของการจดั ทำาโครงการ นะครบั นโยบายสกู่ ารปฏิบัติ จากการตรวจเย่ียมหน่วยทหารในพ้ืนท่ี ทภ.3 ของ ผบ.ทบ. เมื่อวันที่ 17 พ.ย. 63 ได้มีดำาริให้ กสษ.3 กส.ทบ. ดาำ เนนิ การจดั ทาำ โครงการ โคก หนอง นา โมเดล เพอื่ ใหเ้ ปน็ สถานทสี่ าำ หรบั ศกึ ษาเรยี นรขู้ อง นักเรยี น นสิ ิต นักศึกษา และประชาชนทวั่ ไป ทม่ี คี วามสนใจในดา้ นการเกษตรแบบพอเพียง ท่ีมุง่ เน้นการ บริหารจัดการพื้นทแี่ ละการจัดการน้ำาใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด และมีความยงั่ ยืน ในส่วนของ กสษ.3 กส.ทบ. ไดก้ ำาหนดแผนในการปฏิบตั ใิ นโครงการ ดังนี้ แผนการปฏิบัติ( ตัง้ แต่ 1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 ) วารสารการสตั ว 11 ปที่ 38 ฉบับที่ 1
1. การส�ำรวจ/ออกแบบพ้ืนท่ีและออกแบบผังแปลง ได้รับความอนุเคราะห์จาก อบจ.เชียงใหม่ ในการด�ำเนินการส�ำรวจพื้นท่ีเพื่อหาค่าต่างระดับ ในการวางแผนการจัดท�ำบ่อกักเก็บน้�ำและการกระจาย น้�ำสู่แปลงเพาะปลูกในพนื้ ทข่ี องโครงการไดอ้ ยา่ งทั่วถึง อีกทง้ั หนว่ ยยงั ไดร้ ับความอนุเคราะหจ์ าก ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกุล สังกัดภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั ซงึ่ เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการออกแบบ โครงการ โคก หนอง นา โมเดล เป็นผูอ้ อกแบบผังการบรหิ ารจัดการ โครงการฯ ใหก้ บั กสษ.3 กส.ทบ. 12 วารสารการสตั ว์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
2. การดำาเนินการปรับปรุงพื้นท่ีและสนับสนุนปัจจัยการผลิต หน่วยได้กำาหนดพ้ืนท่ีสำาหรับใช้ใน การดาำ เนินโครงการโคก หนอง นา โมเดล จาำ นวน 19 ไร่ ซ่งึ ด้านทิศเหนือติดกบั ผกษ.กสษ.3 กส.ทบ. และ ทิศใต้ตดิ กบั ศกร.ฯ ภาคเหนอื สำาหรบั การปรบั พ้ืนท่นี ัน้ อบจ.เชียงใหม่ ได้ใหก้ ารสนับสนนุ เครือ่ งจกั รกล พรอ้ มนาำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ และเจา้ หนา้ ทเี่ ขา้ ดาำ เนนิ การปรบั ปรงุ พนื้ ทโี่ ครงการฯ โดยเรมิ่ ดาำ เนนิ การตงั้ แต่ 1 เม.ย. 64 ทผ่ี ่านมา จนถงึ ปจั จุบนั ไดข้ ดุ ลอกบอ่ นำา้ และปรับแตง่ คนั ดินรอบบอ่ น้าำ ไปแล้ว จำานวน 5 บ่อ จากจาำ นวน ทงั้ หมด 9 บอ่ ประกอบกบั หนว่ ยไดเ้ รมิ่ ปลกู พชื พนื้ ฐานในการปอ้ งกนั การพงั ทลายของหนา้ ดนิ บรเิ วณขอบบอ่ เรยี บร้อยแล้ว ประกอบด้วย หญา้ แฝกและตะไคร้ สาำ หรับพชื พนั ธุ์ไมท้ ่จี ะนาำ มาใช้ในโครงการ ได้ขอรับการ สนบั สนนุ จากส่วนราชการในพื้นท่ี ประกอบดว้ ย สถานีเพาะชาำ กลา้ ไมแ้ ม่แตง, ศนู ย์เพาะชาำ กล้าไม้จังหวดั เชียงใหม่,สถานีพฒั นาทดี่ นิ จังหวัดเชียงใหม,่ ศูนยพ์ ัฒนาและรณรงค์การใชห้ ญ้าแฝกด่านป่าไมท้ ่ี 1 จังหวัด เชยี งใหม่ และมหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ วารสารการสตั ว 13 ปที่ 38 ฉบับท่ี 1
14 วารสารการสัตว์ ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
ปัจจุบนั การด�ำเนนิ โครงการมคี วามคบื หนา้ ไปกว่ารอ้ ยละ 40 ของโครงการ ส�ำหรบั การด�ำเนินการ ในห้วงต่อไป เมื่อ อบจ.เชียงใหม่ ได้ด�ำเนินการปรับปรุงพื้นท่ีเรียบร้อยหมดแล้ว หน่วยจะด�ำเนินการ ปลูกต้นไม้และพืชผัก รวมถึงการจัดท�ำฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามผังแนวทางการบริหารจัดการโครงการ โคก หนอง นา โมเดล ต่อไปครับ วารสารการสตั ว์ 15 ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
โครงการอนุรกั ษ์และพฒั นากระบือไทย โรงเรยี นทหารการสตั ว์ กรมการสัตวท์ หารบก เรียบเรียงโดย กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารการสตั ว์ กรมการสตั ว์ทหารบก โครงการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนากระบอื ไทย เปน็ ด�ำริของ เจ้าคณุ พระสินนี าฏ พิลาสกัลยานี ท่ีประสงค์ จะอนุรักษ์สายพันธุ์กระบือไทย โดยน�ำภูมิปัญญามาปลูกฝังและสนับสนุนวิถีชีวิตเกษตรกรแบบด้ังเดิม ในการใช้กระบอื ท�ำการเกษตร รว่ มกับพฒั นาสายพนั ธุก์ ระบือไทย เพ่อื ส่งเสรมิ รายไดใ้ ห้เกษตรกรตอ่ ไป แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์กระบือไทยน้ัน ปัจจุบันกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีเป้า หมายผสมเทียมขยายพันธุ์ลูกกระบือให้ได้ 1,999 ตัว โดยเน้นกระบือพันธุ์เนื้อเป็นหลัก เพื่อให้เกษตรกร สามารถขายสรา้ งรายได้ และน�ำภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการใช้ประโยชนก์ ระบอื เพือ่ การเกษตร พฒั นาตอ่ ยอด การเลยี้ งกระบอื สกู่ ารเกษตรทฤษฎใี หม่ โดยใชช้ อ่ื โครงการ “โคก หนอง นา ปา่ ควาย” ทงั้ น้ี มกี ลมุ่ เกษตรกร แสดงความประสงคร์ ว่ มกจิ กรรม ฯ จ�ำนวน 23 กลมุ่ 986 ราย โดยคดั เลอื กกระบอื สายพนั ธพ์ุ นื้ บา้ น จ�ำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ 1. กระบอื สายพันธน์ุ �้ำวา้ มกั พบในจงั หวัดนา่ น และจังหวัดนครนายก ลักษณะกล้ามเน้ือดี มคี วาม ทนต่อสภาพอากาศร้อนได้ดใี หล้ กู ดกมีน�ำ้ นมมาก สามารถพัฒนาเพอ่ื ผลติ นมกระบือไทยได้ กระบือสายพนั ธุน์ �้ำวา้ (ที่มาโดย กรมปศสุ ัตว์) 16 วารสารการสัตว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
2. กระบือนา้ำ มักพบการเล้ยี งในทะเลสาบสงขลา จงั หวดั สงขลา สามารถดาำ นำ้าลงไปกินหญา้ ใตน้ า้ำ ไดเ้ ปน็ กระบอื เลยี้ งปลอ่ ยแบบเชา้ ไป-เยน็ กลบั อาศยั และหากนิ อยใู่ นปา่ พรุ และในทะเลสาบสงขลาตอนบน ทำาให้ผู้คนเข้าใจว่ากระบือแถบน้ีเป็น “กระบือน้ำา” และเรียกว่า “ควายทะเล” นอกจากน้ีพบที่พื้นที่พรุ อาำ เภอสายบรุ ี จังหวดั ปัตตานี ดว้ ย กระบอื นำ้า (ทม่ี าโดย กรมปศุสตั ว)์ 3. กระบอื วง่ิ ชลบรุ ี เปน็ กระบอื ปลกั พน้ื เมืองของจงั หวดั ชลบรุ ี มกี ารนาำ ไปใช้แรงงานบีบคัน้ นำ้าอ้อย ทาำ น้าำ ตาล และหลังจากเสร็จสิ้นการทาำ ไร่ทาำ นา จงึ มกี ารนำากระบือมาวงิ่ แขง่ ขันจนเปน็ ประเพณวี ่ิงควายท่มี ี ชอ่ื เสียงโดง่ ดงั ให้กับจังหวดั ชลบุรี กระบือวิ่งชลบรุ ี (ทม่ี าโดย https://www.winnews.tv/news/12623) วารสารการสัตว 17 ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศสุ ตั ว์ มโี ครงการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นากระบอื ซงึ่ ไดด้ าำ เนนิ การ ดังกล่าวอยูแ่ ล้ว ในการนศ้ี นู ย์อำานวยการใหญจ่ ติ อาสาพระราชทาน ไดป้ ระสานเพ่ือขอใหก้ ระทรวงเกษตร และสหกรณ์ จัดหาพ่อแม่พันธุ์กระบือโดยจัดทำาเป็นโครงการจิตอาสาพระราชทานไถ่ชีวิตกระบือ และให้ มีการหมุนเวียนกระบอื ท้ัง 3 สายพนั ธ์ุ ซึ่งมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานทรัพยส์ ว่ นพระองคฯ์ มาเป็น คา่ ใชจ้ า่ ยในการไถช่ วี ติ กระบอื เพอื่ นาำ มาแจกจา่ ยใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทดี่ าำ เนนิ การโครงการ โคก หนอง นา โมเดลของหนว่ ยตอ่ ไป กองทัพบกจึงสนองพระปณิธานดังกล่าว โดยผู้บัญชาการทหารบก ได้อนุมัติให้มีการสนับสนุน โครงการอนุรักษ์และพัฒนากระบือไทย ของศูนย์อำานวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน ทั้งน้ีได้ส่ังการให้ กรมการสัตว์ทหารบก ใช้พื้นที่ของ โรงเรียนทหารการสัตว์ กรมการสัตว์ทหารบก อำาเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก สนับสนุนโครงการอนุรักษ์และพัฒนากระบือไทย เนื่องจากมีความพร้อมด้านบุคลากร องค์ความรู้ ประสบการณ์ และสามารถบูรณาการ การเลี้ยงกระบือร่วมกับกิจกรรมธนาคารโค กระบือ ของโครงการเกษตรรวมใจ อันเนื่องมาจากพระราชดำาริฯ ได้ในขั้นเริ่มจัดต้ังโครงการ ซึ่งได้กำาหนดการ ดาำ เนนิ งานแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะท่ี 1 การเตรียมสถานท่ีรองรับกระบือพระราชทาน โดยการปรับปรุงโรงเรือนเลี้ยงกระบือ ช่วั คราว ซงึ่ เดมิ เป็นโรงเรือนกระบือของโครงการเกษตรรวมใจ อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำารฯิ และกอ่ สรา้ ง ทอ่ ลอดและถนนขา้ มคลอง สาำ หรับไปยงั แปลงปลอ่ ยและแปลงแทะเลม็ งานปรับปรุงอาคารและสถานที่ ระยะที่ 1 18 วารสารการสัตว ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
ระยะท่ี 2 การเตรียมโรงเรือนสำาหรับการอนุรักษ์กระบอื ไทย โดยการปรับปรงุ โรงเรือนซึ่งเปน็ โรง โคนมยืนโรงเดิม, โรงเรือนกันแดดกันฝน, การปรับพื้นท่ีเพื่อเป็นแปลงแทะเล็ม, การก่อสร้างรั้วคาวบอย 3 ชน้ั และก่อสร้างอาคารหลังคาเพิงหมาแหงนในแปลงแทะเล็ม งานปรับปรงุ อาคารและสถานที่ ระยะที่ 2 ระยะท่ี 3 การกอ่ สร้างโรงเรอื นกระบือสาำ หรับพัฒนากระบอื ไทย เพอ่ื ให้ประชาชนทมี่ ีความสนใจ เข้ามาศึกษาดูงานและขยายผลต่อไป พน้ื ทก่ี อ่ สร้างโรงเรือนกระบอื ในระยะ ที่ 3 วารสารการสัตว 19 ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
การดำาเนินงานปรับปรุงและก่อสร้างโรงเรือน สถานที่ สำาหรับใช้ในโครงการฯ กองทัพบกได้ให้ กองทพั ภาคที่ 1 โดย กองพนั ทหารช่างที่ 2 กองพลทหารราบท่ี 2 รกั ษาพระองค์ เปน็ หน่วยดาำ เนินการ สาำ รวจ จดั ทาำ งบประมาณในการปรบั ปรงุ กอ่ สรา้ ง โดยใหค้ วามเรง่ ดว่ นในระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2 ตามลาำ ดบั เพอื่ ใหท้ นั ในการรองรับกระบือพระราชทาน 20 วารสารการสตั ว ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
ช.พัน 2 เข้าสาำ รวจพ้ืนทเ่ี พอื่ ดำาเนินการปรับปรุง กอ่ สรา้ ง รร.กส.กส.ทบ. สง่ เจา้ หน้าท่ีศกึ ษาดูงาน ณ สอนศิริฟารม์ ควายไทย จว.ปราจนี บุรี ในขั้นต้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ จะนำาส่งกระบือพระราชทานเพศเมีย จำานวน 4 ตัว พร้อมใบพันธุ์ประวัติ ซึ่งกระบือท้ัง 4 ตัวน้ี จะดำาเนินการผสมพันธุ์กับน้ำาเชื้อท่ีมีคุณภาพ จากกรมปศสุ ตั ว์หรือของเอกชน เพอ่ื ใหไ้ ด้ลกู ที่มีขนาดใหญ่กว่ากระบอื ท่วั ไป สามารถนำาไปขายพันธุ์ฝึกให้ มีความเชอื่ ง และไถนาได้ เพอ่ื เปน็ การสนองตอ่ พระปณธิ านตามโครงการ “โคก หนอง นา ปา่ ควาย” กรมการสตั วท์ หารบก ขอตง้ั ปณธิ านวา่ จะดาำ เนนิ งานในโครงการการอนรุ กั ษ์และพัฒนากระบอื ไทย รวมทง้ั ขยายผลของโครงการ ให้เจรญิ ก้าวหนา้ สบื ไป วารสารการสตั ว 21 ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
โรคไตค�ำถามยอดฮิต... เรยี บเรยี งโดย ประจ�ำกองจดั การ ถาม: อาการใดบ้างทีเ่ จ้าของพอสังเกตุไดว้ า่ สนุ ัข และแมว เป็นโรคไต และระบบทางเดนิ ปัสสาวะ ตอบ: อาการของโรคไต พบวา่ สนุ ขั มกั จะแสดงอาการซมึ เบอ่ื อาหาร และอาเจยี น ถา้ เปน็ ไตวายเฉยี บพลนั จะพบวา่ สุนขั จะปัสสาวะนอ้ ย หรอื สปี ัสสาวะผิดปกติ เช่น มเี ลอื ดปน สนุ ัขหอบ และเป็นภายในเวลาไมน่ าน คือ ประมาณ 1-2 สัปดาห์ แตถ่ า้ เปน็ ไตวายเร้ือรัง สนุ ขั มกั มีอายมุ าก จะมรี า่ งกายซบู ผอม กนิ นำ้� เก่ง ปสั สาวะบ่อย ไมม่ ี แรง ซดี และมอี าการอาเจยี น ถา้ เปน็ โรคของระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะอนื่ เชน่ นว่ิ จะสงั เกตเุ หน็ ความผดิ ปกตขิ องการ ถา่ ยปัสสาวะ เชน่ ถ่ายล�ำบาก ปัสสาวะมเี ลอื ด หรอื หนองปน และถา้ ขับของเสยี ทางปัสสาวะไม่ได้ จนค่าของเสยี ในเลอื ด คือ ยเู รยี ไนโตรเจน (BUN) และ ครเี อทินีน (Creatinine) เพิม่ ขน้ึ ก็จะมอี าการอาเจยี น เช่น เดียวกบั สัตว์ ท่ีเปน็ โรคไต ถาม: ค่าใดในเลอื ดทเี่ ปน็ ตัวบง่ บอกวา่ สุนขั และแมวเป็นโรคไตวาย หรือมีความผดิ ปกติของระบบทาง เดินปสั สาวะ ตอบ: คา่ ส�ำคญั ในเลอื ดทเี่ ปน็ ตวั บอกวา่ เปน็ โรคไตวาย คอื ของเสยี ทเี่ กดิ จากเมแทบอลซิ มึ ของโปรตนี คอื ยูเรียไนโตรเจนท่ีมกั เรยี กวา่ Blood urea nitrogen 18 (BUN) ยเู รยี จะต้องถกู กรองทางไต และขบั ท้ิงจากเซลล์ ท่อไตด้วย และอีกค่าหน่ึงที่ส�ำคัญ คือ ครีเอทินีน (Creatinine; Cr) ซึ่งจะกรองผ่านไตได้โดยอิสระ เมื่อไตหยุด ท�ำงาน จงึ พบการเพิม่ ขน้ึ ของคา่ ทั้ง 2 ในเลอื ด คา่ ปกติในสุนขั และแมว อยา่ งไรก็ตามเจา้ ของพงึ ระลึกไว้เสมอวา่ ค่า BUN แปลเปล่ียนตามอาหารโปรตีนที่สัตว์กิน และสภาพน�้ำในร่างกาย ค่าน้ีจึงไม่เที่ยงตรงนัก ส่วนค่า Cr. จะข้นึ กบั ปริมาณกลา้ มเนอื้ สตั ว์ ถ้ากล้ามเนอ้ื นอ้ ยมาก จากรา่ งกายท่ีซบู ผอมคา่ อาจต่ำ� ลงไดใ้ นการพจิ ารณาค่าท้ัง สองมิได้พิจารณาจากค่าปกติเทา่ นั้นควรพจิ ารณาจากค่าเดมิ ท่สี ัตวเ์ คยตรวจมากอ่ น และต้องน�ำ อายุ เพศ พันธ์ุ มาพิจารณาร่วมดว้ ย ถา้ คา่ เพมิ่ สูงข้นึ อยา่ งรวดเรว็ จาก 0.9 มก/ดล เปน็ 1.7 มก/ดล ก็บง่ บอกการลดลงของการท�ำ หน้าทข่ี องไตแล้ว นอกจากน้คี า่ ทัง้ 2 ยังตรวจจบั โรคไตไดช้ ้าหรือมคี วามไวต�ำ่ นน่ั คอื กวา่ จะเพ่มิ สงู เกนิ ค่าปกติไต จะตอ้ งเสยี หายเกนิ กว่า 75% แล้ว ดงั นัน้ จึงควรมคี า่ เลอื ดอน่ื ๆมาพจิ ารณาด้วย เชน่ ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม และ ควรมกี ารตรวจวเิ คราะห์ปัสสาวะควบคู่กันไป BUN Cr. สุนขั 7-25 มิลลกิ รมั /เดซิลติ ร 0.5-1.4 มลิ ลิกรมั /เดซลิ ติ ร แมว 18-33 มิลลิกรัม/เดซลิ ติ ร 0.7-1.8 มลิ ลกิ รัม/เดซลิ ติ ร ถาม: ขอทราบสาเหตุว่า ท�ำไมสนุ ัข และแมวจึงเป็นโรคไตวายได้ ตอบ: สาเหตขุ องโรคไตวายไมเ่ ปน็ ทที่ ราบแนน่ อนในทางปฏบิ ตั ิ แตเ่ ราทราบวา่ ถา้ สนุ ขั และแมวไดร้ บั สารพษิ หรอื ทอกซนิ โดยเฉพาะทส่ี รา้ งจากแบคทเี รยี รวมทง้ั ไดร้ บั ยาบางชนดิ ซง่ึ มผี ลขา้ งเคยี งถา้ ใหใ้ นขนาดสงู เปน็ เวลานาน จะท�ำใหเ้ กิดไตวายเฉียบพลันได้ ยาส�ำคญั ท่ีควรค�ำนึงถงึ คือ 22 วารสารการสัตว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
• ยาปฏชิ ีวนะในกล่มุ อะมโิ นไกลโคไซด์ (aminoglycoside) เช่น เยนทามัยซนิ (gentamicin) ซึง่ มกั ใช้ รักษาโรคผวิ หนงั หูอกั เสบ และโรคติดเชือ้ อนื่ ๆ • ยาในกลมุ่ ลดอกั เสบทไ่ี มใ่ ชส่ เตอรอยด์ (Non-steroidal antiinflammatory drugs) หรอื NSIADs ซง่ึ มกั ใชร้ กั ษาโรคกระดกู ขอ้ และเปน็ ยาลดไข้ ยาในกลมุ่ นเี้ ปน็ อนั ตรายถา้ ใหร้ ว่ มกบั ยาขบั ปสั สาวะ หรอื ใหใ้ นสตั วอ์ ายมุ าก • ยาปฏชิ ีวนะกลมุ่ Cefalosporin มักใชร้ กั ษาโรคผวิ หนังแต่เปน็ พิษต่อไตไดถ้ ้าไดร้ ับยาตอ่ เนื่องเป็นเวลา นานในสุนัขอายุมาก นอกจากนไี้ ตวายเฉยี บพลนั อาจเกิดจากการไดร้ บั พษิ จากสัตว์ เชน่ งูแมวเซา ซึ่งจะท�ำใหไ้ ต วายภายใน 1-2 วนั สาเหตุของไตวายเร้อื รงั ส่วนใหญม่ กั เกดิ ในสุนขั อายมุ ากทไ่ี ตเร่ิมเส่ือม หน่วยไตท่ที �ำหน้าที่ใน การกรอง และขบั ทิ้งของเสยี เริม่ มจี �ำนวนลดลง ประกอบกบั สตั วม์ สี ภาวะรา่ งกายท่เี ส่อื มถอย และอาจมภี าวะน�ำ้ ในรา่ งกายนอ้ ยลง พบพังผดื เกดิ ในสว่ นชอ่ งวา่ งระหวา่ งเซลลเ์ นอื้ ไต จงึ ท�ำใหไ้ ตมลี กั ษณะเล็ก หดลงบางคร้ังพบไต วายเร้ือรังจากการที่สัตว์ป่วยเป็นไตวายเฉียบพลัน และไตเกิดการซ่อมแซมและรักษาจนเริ่มกลับมาท�ำหน้าท่ีได้ แต่กระบวนการซ่อมแซมไม่สมบูรณ์ จึงพบว่าไตจะยังคงมีภาวะเสื่อมอยู่ และเข้าสู่สภาพไตวายเร้ือรังได้ ในแมว น้ันสภาวะไตวายเร้ือรังพบในแมวอายุมาก และแมวเป็นสัตว์กินอาหารโปรตีนสูง จึงเกิดการกรองที่มากกว่าปกติ เมอ่ื จ�ำนวนหน่วยไตลดนอ้ ยลงการกรองดว้ ยความดันสงู จะท�ำใหไ้ ตเสยี หายเร็วขึน้ อย่างไรก็ตามแมวทเ่ี ป็นไตวาย และไดร้ บั การควบคุมดูแลแตเ่ รมิ่ แรกมักมชี วี ิตอยู่ได้นาน ผดิ กับสนุ ัขทอี่ าการไตวายจะด�ำเนนิ ไปรวดเร็ว และเขา้ สู่ ระยะสุดท้ายเร็วกวา่ ถาม: การรกั ษาโรคไตเมอื่ ภาวะเริ่มแรก ท�ำไมสัตวแพทยจ์ งึ ตอ้ งให้น�้ำเกลอื แกส่ ัตว์เกอื บทุกวนั ตอบ: เมื่อเป็นโรคไตวาย สัตวแพทย์มักจะให้น�้ำเกลือแก่สัตว์ทุกวัน ปัจจัยหลักที่สัตวแพทย์จ�ำเป็นต้อง ทราบคอื สตั วป์ ว่ ยเปน็ โรคไตจากการขาดนำ้� หรอื ไม่ ดงั นนั้ สตั วแพทยจ์ �ำเปน็ ตอ้ งเตมิ นำ�้ เกลอื ใหส้ ตั วเ์ พอ่ื ใหม้ ปี รมิ าณ น�ำ้ เพยี งพอก่อนและเพ่ิมเลอื ดไปเล้ียงไตเพื่อเพิ่มการกรอง และจะเพม่ิ การขบั ของเสยี ออกไป แตใ่ นภาวะไตระยะ เฉียบพลันจ�ำเป็นต้องหาว่าสัตว์ปัสสาวะน้อยหรือไม่ เพราะถ้าให้น้�ำเกลือโดยสัตว์ปัสสาวะน้อยหรือไม่ปัสสาวะ จะเป็นสาเหตุให้มีน�้ำเกิน เกิดอาการบวมน้�ำ หรือเกิดอาการน�้ำท่วมปอดได้ ในภาวะไตวายเร้ือรังสัตว์ป่วยจะมี การสูญเสียน�้ำจากร่างกาย เกิดการขาดน้�ำอยู่แล้ว เน่ืองจากไตไม่สามารถสงวนน�้ำไว้ได้ ถ้าไม่มีการเติมน�้ำเกลือ และสัตว์ป่วยกนิ น้ำ� น้อย รา่ งกายจะสูญเสียน้�ำไปกับปสั สาวะ เม่อื ขาดนำ�้ จะเกดิ ภาวะไตวายรนุ แรงขึ้นอกี จึงต้อง ท�ำการเตมิ นำ้� เกลอื เพอื่ ทดแทนนำ�้ ทข่ี าด และเรง่ เลอื ดไปไตเพอื่ เรง่ การขบั ของเสยี ออก ในกลมุ่ นสี้ ตั วจ์ ะไดร้ บั นำ�้ เกลอื ในชว่ ยเวลาหน่งึ ใหข้ องเสียเริม่ ลดลง แลว้ จึงมีการจัดการอน่ื ๆ เชน่ ใหอ้ าหารโปรตีนตำ่� เพ่ือลดของเสียลง เป็นต้น ถาม: สนุ ขั และแมวทเ่ี ปน็ ไตวายเรอ้ื รงั ตอ้ งฉดี ฮอรโ์ มนเพราะมภี าวะโลหติ จาง ท�ำไมจงึ เกดิ ภาวะโลหติ จาง และฮอรโ์ มนทฉ่ี ดี คอื อะไร ตอบ: สนุ ัข และแมวท่ีเป็นโรคไตวายเรอื้ รังจะขาดฮอรโ์ มนทส่ี ร้างจากไต ชือ่ อิริโทรพอยอีทนิ (erythro- poietin; Epo) ฮอรโ์ มนนจี้ ะมฤี ทธไิ์ ปกระตนุ้ ไขกระดกู ใหส้ รา้ งเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง ดงั นน้ั สตั วท์ ขี่ าดฮอรโ์ มนนจี้ งึ เปน็ โรคโลหติ จาง แบบลดการสรา้ งเม็ดเลอื ด สัตว์จ�ำเปน็ ต้องไดร้ ับฮอรโ์ มนทดแทนจากภายนอก ซึง่ ในประเทศไทยยัง ใช้ฮอรโ์ มนจากคนซง่ึ ท�ำโดยอาศยั recombinant DNA technology ขอ้ เสยี คอื ฮอร์โมนจากคนอาจกระตนุ้ ให้ ร่างกายสตั ว์สรา้ งแอนติบอดีตอ่ ตา้ น ท�ำใหส้ ัตวไ์ ม่ตอบสนองตอ่ ฮอรโ์ มนเม่ือใช้ไประยะหนง่ึ วารสารการสตั ว์ 23 ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
ถาม: มียาอะไรบา้ งที่ใชร้ ักษาโรคไตวายโดยเฉพาะ ตอบ: ไมม่ ยี าจ�ำเพาะท่ีใช้รักษาโรคไตวาย อย่างไรก็ตามถา้ ไตเสยี หายจ�ำเป็นตอ้ งให้ไตท�ำหน้าท่ีไดโ้ ดยใช้ พลงั งานนอ้ ยลง เหมอื นเปน็ การลดการท�ำหนา้ ทเี่ พอื่ ใหไ้ ตพกั สตั วป์ ว่ ยอาจไดร้ บั สารนำ้� หรอื นำ้� เกลอื เปน็ หลกั เพอ่ื เพมิ่ การขบั ทง้ิ ยเู รียในปสั สาวะ จากการศึกษาพบว่าการให้นำ�้ มันปลา (Fish oil) แกส่ ตั ว์จะช่วยลดการอักเสบที่ไต และท�ำใหส้ ารเคมีท่เี กดิ จากการอักเสบ และเปน็ พษิ ตอ่ ไตลดลง มีการให้ยาลดความดัน กลมุ่ ที่ยบั ย้งั เอ็นไซม์สร้าง แองจิโอเทนซนิ ทีเ่ รยี ก ACE (Angiotensin Converting Enzyme) inhibitor ซึ่งนอกจากลดความดันในหลอด เลอื ดทไ่ี ตแลว้ ยงั ชลอความรนุ แรง และการด�ำเนนิ ไปของโรคไตวายได้ ยาในกลมุ่ แอลฟาคโี ทแอซดิ เชน่ คโี ทสเทอรลิ (Ketosteril) จะช่วยลดการสร้างยูเรียซ่ึงเป็นของเสีย ซึ่งเป็นการช่วยทางอ้อม นอกจากนี้อาจมีการให้วิตามินอี และ ซี ซ่ึงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระโดยต้านขบวนการเกิดออกซิเดชันในเซลล์ไตที่เช่ือว่ามีส่วนในการท�ำลายไต มกี ารใหย้ าบ�ำรงุ เลอื ด และใหฮ้ อรโ์ มนทสี่ รา้ งจากไต เชน่ ฮอรโ์ มนอริ โิ ทรพอยอที นิ เพอื่ กระตนุ้ การสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง และให้วิตามินดี ในรูปที่ออกฤทธ์ิได้ เพื่อทดแทนวิตามินดีที่ขาดในภาวะไตวาย ดังนั้นจะเห็นว่าไม่มียาโดยตรงที่ ใหเ้ พ่ือรักษาโรคไต แตจ่ ะมยี าท่ีช่วยท�ำใหไ้ ตท�ำงานไมห่ นกั เกนิ ไปในขณะซ่อมแซม และใหส้ ารหรือฮอร์โมนทข่ี าด ทดแทนในขณะท่ีเกดิ โรคไต ถาม: ท�ำไมสุนขั ที่มีปญั หาโรคไตจึงต้องกนิ อาหารทีม่ ีโปรตีนตำ�่ หรอื กนิ อาหารเฉพาะของโรคไต ตอบ: สุนขั ท่ีเปน็ โรคไตควรกนิ อาหารโปรตีนต่�ำ ดว้ ยเหตผุ ล 2 ประการคอื 1. อาหารโปรตนี เมอื่ ผา่ นการเมแทบอลซิ มึ จะไดส้ ารแอมโมเนยี ซง่ึ จะเปลยี่ นเปน็ ยเู รยี ขบั ทงิ้ ทางปสั สาวะ การกนิ อาหารที่มโี ปรตีนสูงจะเรง่ การสร้างยเู รีย ท�ำใหข้ องเสียยิ่งเพม่ิ มากขึน้ 2. โปรตนี ประกอบดว้ ยกรดอะมโิ นหลายตวั ซง่ึ บางตวั มฤี ทธข์ิ ยายหลอดเลอื ดทไี่ ต การกนิ อาหารโปรตนี สงู จะเพม่ิ อตั ราการกรองผา่ นกลอเมอรลู สั ท�ำใหค้ วามดนั ของหลอดเลอื ดเพมิ่ ขนึ้ ในระยะแรก ถา้ สตั วเ์ ปน็ โรคไต และมี จ�ำนวนหนว่ ยไตทที่ �ำงานไดเ้ หลอื อยนู่ อ้ ยจะไปเพมิ่ การท�ำงานของหนว่ ยไตทเ่ี หลอื ใหท้ �ำงานเกนิ จดุ จ�ำกดั ท�ำใหเ้ กดิ ความเสียหายของหลอดเลือด และหน่วยไตที่เหลอื น้ันมีผลท�ำใหไ้ ตวายรุนแรงขน้ึ ถาม: เมื่อรักษาโรคไตแล้ว ค่าของเสียในเลือดกลับลดลงเป็นปกติหรือเกือบปกติ แต่ท�ำไมสัตวแพทย์ จึงยงั คงใหเ้ ฝา้ ระวังเร่อื งโรคไตและมกั บอกว่าไตอาจจะกลบั มาท�ำงานได้ไมส่ มบรู ณ์ ตอบ: การทีค่ า่ ของเสียในเลือด คือ BUN และ Cr กลบั มาเปน็ ปกตมิ ไิ ด้หมายความวา่ การท�ำงานของไต กลบั มาเป็น 100 % โดยสมบรู ณ์ ท้ังนี้เนอ่ื งจากคา่ ทง้ั 2 มีความไวตอ่ การบ่งชีโ้ รคไตจ�ำกดั ถึงแมจ้ ะมีความจ�ำเพาะ ต่อโรคสูง ถ้าไตไม่เสียหายเกิน 75% ค่าน้ีก็จะไม่เพิ่มข้ึน ดังน้ันถ้าค่าน้ีกลับมาเป็นปกติก็มิได้หมายความว่าไต จะกลับมาท�ำหน้าท่ีได้สมบูรณ์ สัตวแพทย์ และเจ้าของสัตว์จึงควรเฝ้าระวัง โดยการสังเกตอาการสัตว์เป็นระยะ อาจจ�ำเป็นต้องเฝ้าระวังอาหารโปรตีน และสภาพน�้ำในร่างกายสัตว์ นอกจากน้ีควรท�ำการเจาะเลือดเช็คสุขภาพ และคา่ ของเสียในเลือดเปน็ ระยะเพือ่ เฝา้ ระวังการเสื่อมของไต ควรท�ำการตรวจเมด็ เลอื ดแดงในกรณไี ตวายเรอื้ รงั เพ่ือปรับขนาดของฮอร์โมนที่ฉีดให้สัตว์ ตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะเป็นระยะ เพื่อดูการท�ำหน้าที่ของหลอดไตฝอย และสภาวะน�ำ้ ในรา่ งกาย และมคี วามระมัดระวงั เป็นพิเศษในการใหย้ าต่อสัตว์ท่เี คยเปน็ โรคไตโดยเฉพาะยาท่เี ปน็ พษิ ต่อไตหรือขับท้งิ ท่ีไตหรือผา่ นการเมแทบอลิซึมท่ไี ต 24 วารสารการสตั ว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
เมื่อวันท่ี 3 มี.ค. 64 พ.อ. พนาเวศ จันทรังษี รอง จก.กส.ทบ. (1) เป็นประธานในพิธีปิดการศึกษาหลักสูตร นายสบิ ช้ันตน้ ทหารการสตั ว์ ร่นุ ท่ี 29 (1/64) ณ อาคารเกษตรรวมใจ รร.กส.กส.ทบ. อ.เมืองนครนายก จว.นครนายก เมื่อวันท่ี 11 มี.ค. 64 พ.อ. พนาเวศ จนั ทรงั ษี รอง จก.กส.ทบ. (1) ให้การตอ้ นรบั พล.ต. สมบุญ เกตุอินทร์ ผอู้ าำ นวยการสาำ นกั งานวจิ ยั และพฒั นาการทางทหารกองทพั บก และคณะ ในโอกาสเดนิ ทางตรวจเยยี่ ม/เยยี่ มชมหนว่ ยงาน เพื่อการวิจัยและพัฒนาการทางทหารของกองทัพบก ประจำาปีงบประมาณ 64 เพ่ือวางแผนและประสานความร่วมมือ ด้านการวิจัยและพัฒนากับกรมการสตั วท์ หารบก ณ กส.ทบ. (ส่วนกลาง น.ฐ.) เมื่อวันท่ี 26 มี.ค. 64 พ.อ. เฉลมิ เกียรติ ทองศริ ิ รอง จก.กส.ทบ. (2) เปน็ ประธานในพิธี เปดิ การตรวจสอบ การฝึกครูทหารใหม่ รุ่นปี 2564 ผลัดที่ 1 ณ ด้านหนา้ อาคารกองบริการ กส.ทบ. (สว่ นกลาง น.ฐ.) วารสารการสตั ว 25 ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
เมือ่ วันที่ 23 - 24 มนี าคม 64 พล.ต. วิชัย ธารฉี ตั ร จก.กส.ทบ. เดนิ ทางตรวจเย่ยี มฯ รบั ฟงั การบรรยายสรุป และมอบโอวาทให้กับกำาลังพลหน่วยทหารการสัตว์ ท่ีปฏิบัติราชการสนาม ณ ร้อย.สท.อโณทัย ค่ายสมเด็จพระสุริโยทัย ต.บ่อทอง อ.หนองจิก จว.ปตั ตาน,ี ตรวจเย่ียมฯ มว.สท.3 หมู่ สท.2 รอ้ ย.สท.อโณทยั คา่ ยกรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ ต.มะรือโบออก อ.เจาะไอร้อง จว.นราธิวาส, ตรวจเย่ียมฯ ฉก.ทพ.47 ต.ยะหา อ.ยะหา จว.ยะลา และตรวจเย่ียมฯ ฉก.ทพ.30 ต.ตล่ิงชนั อ.บนั นังสตา จว.ยะลา เมือ่ วนั ที่ 26 มี.ค. 64 พล.ต. วชิ ัย ธารีฉตั ร จก.กส.ทบ. เดนิ ทางตรวจเย่ยี มฯ รบั ฟงั การบรรยายสรปุ และมอบ โอวาทใหก้ บั กาำ ลงั พลหนว่ ยทหารการสตั ว์ ทป่ี ฏบิ ตั ริ าชการสนาม ดงั นี้ รบั ฟงั การบรรยายสรปุ ณ บก.ฉก.ร.25, ตรวจเยย่ี มฯ และมอบโอวาทกาำ ลงั พล ณ บก.มว.สท.กกล.เทพสตร,ี ตรวจเยย่ี มฯ ชดุ สท. ประจาำ จดุ ตรวจปากทรง (ต.ปากทรง อ.พะโตะ๊ จว.ชมุ พร), ตรวจเยยี่ มฯ ชุด สท.ประจำาดา่ นพละ (ต.เขาไชยราช อ.ปะทิว จว.ชุมพร), ตรวจเยยี่ มฯ ชุด สท. ประจาำ จดุ ตรวจ สุขสาำ ราญ กม.70 (ต.นาคา อ.สขุ สาำ ราญ จว.ระนอง) และตรวจเยีย่ มฯ ชุด สท. ประจำาจดุ ตรวจเกาะสะระนยี ์ (ต.ปากน้าำ อ.เมอื งระนอง จว.ระนอง) 26 วารสารการสตั ว ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
เมอ่ื วนั ท่ี 26 ม.ี ค. 64 พ.อ. พนาเวศ จนั ทรงั ษี รอง จก.กส.ทบ. (1) เปน็ ประธานในพธิ ี วนั สถาปนา ครบรอบปที ี่ 53 ศสท.กส.ทบ. ณ ศสท.กส.ทบ. อ.ปากช่อง จว.นครราชสมี า เม่ือวนั ที่ 29 – 30 ม.ี ค. 64 พ.อ. มนสั โหย่งไทย เสธ.กส.ทบ. ใหก้ ารตอ้ นรบั พ.อ. เกษม ปน่ิ แก้ว ผู้อำานวยการ กองตรวจการจัดหา จเรทหารบก ในโอกาสเดินทางตรวจการจัดหา ประจำาปีงบประมาณ 2564 ของหน่วย กส.ทบ. ณ กส.ทบ. (ส่วนกลาง น.ฐ.) เมอ่ื วนั ที่ 1 เม.ย. 64 พล.ต. วชิ ยั ธารฉี ตั ร จก.กส.ทบ. กรณุ ามอบหมายให้ กกพ.กส.ทบ. ดาำ เนนิ การจดั หาและมอบ ไขไ่ กใ่ ห้กบั กำาลงั พล กส.ทบ. (สว่ นกลาง น.ฐ.) เพอื่ เปน็ ขวัญและกำาลังใจ ตลอดจนบรรเทาความเดือดร้อนใหก้ บั ครอบครัว ในห้วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid - 19) ณ กส.ทบ. (ส่วนกลาง น.ฐ.) วารสารการสัตว 27 ปที่ 38 ฉบับที่ 1
เครื่องชา งหนัง อุปกรณใชสําหรบั ผลติ เคร่อื งหนัง ผลติ ภณั ฑด ูแลรกั ษาเคร่อื งหนงั ผลิตเครอ่ื งสตั วภัณฑ ส่งิ อุปกรณป ระจาํ ตวั สตั ว เครือ่ งมอื เครื่องใช ในการเลยี้ งและการฝก สัตว 85,87,89 ถ.นครสวรรค แขวงวัดโสมนัส เขตปอ มปราบศัตรพู าย กรงุ เทพมหานคร 10100 โทร. 02 629 8822 28 วารสารการสัตว ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
บารมีธรรมพระมหากษตั รยิ โดย อศจ.กส.ทบ. ราชา มุขังมนสุ สานงั พระราชาเป็นประมขุ ของคนทั้งหลาย ในพระไตรปิฎกไดก้ ล่าวถึงการไดเ้ กดิ มาเปน็ กษตั ริย์หรอื เกิดในราชวงศ์ เพราะบุคคลผนู้ นั้ เคยได้สรา้ งทานบารมี ศีลบารมี ปัญญาบารมีที่ย่ิงยวดกว่าทุกคนในสมัยที่ตนได้เกิดมาแล้วได้เป็นกษัตริย์ คือเป็นกุศลกรรมท่ีทำาไว้อย่างย่ิงยวด กว่าใครๆในบารมีทั้งสบิ ในอดตี ชาติเมือ่ มาเกิดในชาติน้จี งึ ไดเ้ สวยบญุ เสวยอาำ นาจเหนอื กว่าคนทวั่ ไป ทา่ นกล่าวไว้ว่า คนทจ่ี ะได้เกดิ เปน็ กษตั รยิ ์ตอ้ งเคยรกั ษาศีล 8 มาอย่างย่งิ ยวดในอดีตชาติ อานสิ งส์แห่งการรักษา อโุ บสถหรอื รกั ษาศลี แปดทต่ี นเคยบาำ เพญ็ ไวเ้ หนอื กวา่ ใครๆ หากไดเ้ กดิ มาเปน็ มนษุ ยจ์ ะทาำ ใหม้ ตี บะเดชะมอี าำ นาจเหนอื ใคร ในยคุ สมยั ของตน จนกวา่ จะหมดบุญหมดบารมีทีเ่ คยสง่ั สมไว้ ยกตัวอย่างให้เห็นเปรียบเหมือนบุคคลท่ีเคยยากจนเข็ญใจ แต่ยึดมั่นในสุจริต ส่ังสมกรรมดีสร้างบุญกุศลไว้มิได้ ขาด แลว้ ก็พากเพยี รอตุ สาหะ สร้างอนาคตสร้างฐานะแสวงหาความก้าวหน้า ในเวลาตอ่ มาเขาก็ได้รบั เสวยผลแห่งกรรมดี และความพากเพียรของเขา จนกลายเป็นคนรำา่ รวยหรือเปน็ ขา้ ราชการผู้ใหญใ่ นภายหลงั จากทีเ่ คยมชี วี ิตอดอยากยากจน กก็ ลายเปน็ อยทู่ า่ มกลางความอดุ มสมบรู ณแ์ ละสะดวกสบาย เปน็ ทเี่ คารพเกรงอกเกรงใจของคนทงั้ หลาย เพราะไดเ้ สวยผล แหง่ กรรมดแี ละความขยนั หมั่นเพยี รท่ีตนกระทาำ บำาเพญ็ มา แตก่ ารจะไดเ้ ป็นกษตั ริย์ มใิ ชก่ ารสรา้ งความดเี พียงในชาตนิ ี้ แตต่ ้องเคยสรา้ งความดีและเคยบาำ เพญ็ บารมอี ยา่ ง ยง่ิ ยวดมาแลว้ ตง้ั แตอ่ ดตี ชาติ จงึ ทาำ ใหไ้ ปเกดิ ในตระกลู ทส่ี งู สง่ กวา่ คนทว่ั ไป หรอื บางพระองคแ์ มเ้ กดิ ในสามญั ชน แตก่ จ็ ะเกดิ เหตุการณ์พลกิ ผันของบ้านเมอื งทำาให้ตนเองข้ึนเป็นกษตั รยิ ์จนได้ อย่างเชน่ สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช พระ มหากษตั รยิ ผ์ สู้ ถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทรข์ องไทย หรอื พระเจา้ บเุ รงนองของพมา่ เปน็ ตน้ นก้ี เ็ พราะอาำ นาจแหง่ บญุ บารมที ส่ี งั่ สม ไว้ในอดีตชักนำาให้เป็นไป ซินแสจึงได้ทำานายพระภิกษุทองด้วงไว้สมัยบวชเป็นพระภิกษุบิณฑบาตด้วยกันกับพระภิกษุสิน วา่ ต่อไปภายหนา้ จะได้เปน็ กษัตริย์ทงั้ คู่ แล้วก็เปน็ จรงิ ทุกอยา่ งตามคาำ ทาำ นาย ดว้ ยเหตุนี้คนทเี่ ปน็ กษัตรยิ ์ จิตใจจงึ ไมเ่ หมือนคนสามญั ธรรมดา ถ้าจะกว้างขวางก็กวา้ งขวางเหนอื ใคร หากต้อง โหดรา้ ยกโ็ หดรา้ ยไมม่ ใี ครเหมอื น เมอื่ เมตตากท็ รงมเี มตตามหาศาล เมอ่ื ถงึ คราวกลา้ หาญ กเ็ ดด็ เดย่ี วกลา้ หาญผดิ จากมนษุ ย์ ทัว่ ไป นีค้ ือนำ้าใจของคนที่เกดิ มาเพอื่ เปน็ กษตั ริย์ การเกดิ มาเปน็ กษตั รยิ ์ เปน็ ดว้ ยบญุ บารมที บ่ี คุ คลนนั้ ไดบ้ าำ เพญ็ ไว้ แลว้ มาเสวยผลบญุ ในชาตนิ ี้ จงึ ไมเ่ กยี่ ววา่ ในชาติ ปจั จบุ นั นี้ จะกระทาำ กรรมดหี รอื ชว่ั อยา่ งไร ตราบใดทบ่ี ญุ ญาภสิ มภารทท่ี รงบาำ เพญ็ ไวย้ งั คา้ำ จนุ เกอื้ หนนุ อยู่ กษตั รยิ พ์ ระองคน์ น้ั ยอ่ มทรงครองบลั ลงั ก์ไปได้ตลอดจนกว่าจะหมดบุญ คนทเี่ กดิ เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ ตามกฎแหง่ กรรมยอ่ มถอื วา่ ไดส้ รา้ งบญุ บารมขี า้ มภพขา้ มชาตมิ ามากกวา่ คนทเ่ี กดิ มา เปน็ ประธานาธบิ ดี เพราะตาำ แหนง่ ประธานาธบิ ดยี งั มวี าระกาำ หนดไว้ อยไู่ ดไ้ มก่ ปี่ กี ต็ อ้ งลงจากตาำ แหนง่ หลกี ทางใหค้ นอน่ื ตามกฎ กตกิ า สว่ นการเปน็ พระมหากษตั รยิ น์ นั้ เสวยอาำ นาจบารมไี ปจนกวา่ จะสรรคต นค้ี อื ผลแหง่ การสรา้ งบารมที บ่ี าำ เพญ็ ไวแ้ ตกตา่ งกนั การเป็นประธานาธิบดี จะได้รับการยอมรับนับถือในความรู้ความสามารถจากคนท่ัวไปที่เป็นไปตามกฎกติกา แตจ่ ะไม่เกดิ บารมีใหผ้ ู้คนรสู้ ึกเทดิ ทนู จงรกั ภกั ดี และยกไวใ้ นฐานะทีส่ งู สง่ เหมือนการเปน็ กษตั รยิ ์ นี้คือผลจากการบำาเพญ็ บารมศี ลี แปดทบี่ าำ เพญ็ อยตู่ ลอดชวี ติ ในชาตนิ นั้ สว่ นคนทเ่ี กดิ เปน็ ประธานาธบิ ดกี เ็ คยบาำ เพญ็ มาเหมอื นกนั แตบ่ าำ เพญ็ ศลี แปด ระยะสน้ั ๆหรอื ทาำ ไดช้ ่วั คราว จงึ เสวยตาำ แหนง่ อย่างถูกจาำ กดั เวลา และคนทมี่ คี วามสามารถเท่าเทยี มกับตนกม็ ีอยมู่ ากมาย จึงทำาให้ครองตำาแหน่งยาวนานไม่ได้ในยุคสมัยและในประเทศของตน เพราะคนหน่ึงบำาเพ็ญความดีเพียงช่วงใดช่วงหน่ึง จงึ เสวยตาำ แหนง่ ไดเ้ พยี งชวั่ คราวอยถู่ าวรไมไ่ ด้ สว่ นคนเกดิ มาเปน็ กษตั รยิ น์ นั้ ทา่ นเคยบาำ เพญ็ บารมมี าแตอ่ ดตี อยา่ งอกุ ฤษฎ์ ยง่ิ กว่าใครจนตลอดชีวิต เมื่อเกิดมาจึงทรงอย่ใู นฐานะที่อยเู่ หนือกว่าใครๆ ในยคุ สมัยนั้นๆทต่ี นได้เป็นกษตั ริย์ตราบส้นิ ชวี ิต หรือหมดบารมีสถาบันพระมหากษัตริย์จะหมดไปจากประเทศใด ก็เมื่อในยุคนั้นสมัยนั้นไม่มีบุคคลใดที่บำาเพ็ญบุญบารมี วารสารการสัตว 29 ปที่ 38 ฉบับท่ี 1
อยา่ งยงิ่ ยวดมาเกดิ จนถงึ ขน้ั พอจะด�ำรงฐานะอนั สงู สง่ ถงึ ขน้ั เปน็ กษตั รยิ ใ์ หค้ นทง้ั ประเทศยอมรบั ในพระบารมไี ด้ แตห่ ากยงั มบี คุ คลทที่ รงบญุ บารมถี งึ ขนั้ นอี้ ยตู่ ราบใด สถาบนั กษตั รยิ จ์ ะยงั ไมม่ ใี ครมาท�ำลายหรอื ท�ำใหส้ ญู สลายไปจากประเทศนน้ั ๆได้ นี้คือเหตุผลท่ีท�ำให้พระมหากษัตริย์ไม่ว่าจะเป็นประเทศใด จึงเป็นศูนย์รวมจิตใจและอยู่ในฐานะที่สูงส่งที่พิเศษ นา่ อัศจรรย์ เราเรียกส่งิ นว้ี ่า “พระบารมปี ระจ�ำองค์ของพระมหากษตั ริย์” บารมีของพระมหากษัตริย์นจ้ี งึ ไมเ่ หมือนใคร ทรงเป็นที่ตั้งแหง่ ความจงรกั ภักดีและความเทิดทูน ที่ไมม่ ตี �ำแหน่ง ใดในโลกจะเทียบได้ หากเราไม่เขา้ ใจกฎแห่งกรรมท่ีบุคคลบ�ำเพ็ญมาข้ามภพขา้ มชาติ เราจะไมม่ วี นั เข้าใจความเป็นบุคคล พเิ ศษทม่ี อี �ำนาจเหนือใครในแผ่นดนิ อีกประการหนึ่ง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นบุรุษอาชาไนย ค�ำว่า อาชาไนย หมายถึง ผู้ท่ีได้รับการฝึกฝนอบรม ตนเองฝึกมาดแี ล้ว ฉลาด มสี ติ สมั ปชัญญะ เปน็ ผ้วู ่างา่ ยสอนงา่ ย สามารถรับรคู้ �ำส่ังไดอ้ ย่างรวดเร็ว วอ่ งไว รหู้ นทางความ เสอื่ ม - ความเจรญิ ของชวี ติ ตน และ ด�ำเนนิ ไปตามความเจรญิ แหง่ ชวี ติ นน้ั จงึ เปรยี บไดก้ บั มา้ อาชาไนยของพระราชาซงึ่ เปน็ ม้าท่ฉี ลาดมาก มีปรากฏอยูใ่ นโลก 4 จ�ำพวก คือ มา้ ประเภทที่ 1 เวลาเจ้าของยกปฏกั ขนึ้ มนั กร็ ทู้ ันทีว่าให้ท�ำอะไร มา้ อาชาไนยสอนตวั เองได้ว่า วันน้ีนายสารถี ผู้ฝึกมา้ จะให้ท�ำอะไร เราจะตอบแทนบุญคุณนายสารถี ใหเ้ ต็มก�ำลงั ความสามารถ แล้วรบี วิง่ ออกมาหานายสารถี เตรยี ม พร้อมท่จี ะรับฟังค�ำสัง่ พรอ้ มจะออกไปท�ำภารกจิ ทนั ที มา้ ประเภทท่ี 2 เจา้ ของยกปฏกั ขน้ึ กย็ งั ยนื นง่ิ แตเ่ มอ่ื ถกู ปฏกั แทงถกู ขมุ ขน มนั ถงึ จะไป มา้ อาชาไนย เหน็ เงาของ ปฏกั แล้ว กย็ งั ยนื นิ่งๆ ตามปกติเหมือนไม่รับรูค้ �ำส่ัง แต่เมื่อถูกปฏักแทงถูกขุมขนจงึ สลดสังเวชว่า วนั น้ีนายสารถผี ู้ฝึกมา้ จะ ใหเ้ ราท�ำอะไร เราจะตอบแทนบญุ คุณนายของเรา มา้ ประเภทที่ 3 เจ้าของลงปฏกั แทงถงึ ผวิ หนงั แลว้ มนั ถึงจะไป ม้าอาชาไนย เห็นเงาของปฏกั แล้ว ถกู ปฏักแทง ถูกขุมขน กย็ งั ไมส่ ลดสงั เวช แตเ่ มอื่ ถูกปฏกั แทงถงึ ผวิ หนงั จงึ ค่อยนกึ ขึน้ ได้ พร้อมที่จะท�ำตามทน่ี ายสารถีบอกทกุ อย่าง มา้ ประเภทท่ี 4 เจา้ ของลงปฏกั แทงถงึ กระดกู แลว้ มนั ถงึ จะไป มา้ อาชาไนย เมอ่ื ไดเ้ หน็ เงาของปฏกั กไ็ มส่ ลดสงั เวช ถกู ปฏักแทงถกู ขุมขนก็ยงั ไมส่ ะทกสะท้าน แมถ้ กู ปฏกั แทงถงึ ผวิ หนังกย็ งั ไม่สะดงุ้ แตเ่ ม่ือถกู ปฏกั แทงถงึ กระดกู จงึ ยอมให้ นายสารถีไดฝ้ ึกไดใ้ ชง้ าน จึงเป็นเชน่ เดียวกับ บุรุษอาชาไนยในโลกนี้ กม็ ีอยู่ 4จ�ำพวก เหมือนกับมา้ อาชาไนย คือ บุรุษประเภทท่ี1 เมื่อได้รับฟังค�ำเตือนในเร่ืองผลกรรม ก็ระลึกรู้ได้ทันทีว่าต้องท�ำส่ิงท่ีถูกที่ควร เป็นผู้ที่มีบุญมี ปญั ญามาก บางคนไดย้ นิ เทา่ นนั้ เองกร็ สู้ กึ แลว้ วา่ ตอ้ งท�ำอะไร เชน่ เพยี งไดข้ า่ วคนเจบ็ คนตายกร็ สู้ กึ สลดใจ จงึ เรม่ิ ตง้ั ความเพยี ร สังขารร่างกายเป็นส่ิงไม่เท่ียงไม่แน่นอน จึงเริ่มต้ังความเพียร ด�ำเนินชีวิตอยู่บนท่ีตั้งของความไม่ประมาท ต้ังใจประพฤติ ปฏบิ ัตธิ รรม เพอ่ื ใหห้ ลุดพน้ จากความทกุ ขท์ รมานในสงั สารวัฏ บรุ ษุ ประเภทท่ี 2 เมอื่ ไดร้ บั ฟงั ถงึ ความทกุ ขข์ องผอู้ น่ื กย็ งั ไมส่ ลด แตเ่ มอื่ ไดเ้ หน็ ผลกรรมกบั ตาของตน จงึ ระลกึ รไู้ ด้ วา่ ตอ้ งท�ำสงิ่ ทถี่ กู ทคี่ วร ไดย้ นิ ไดฟ้ งั วา่ มคี ณุ ตาใกลบ้ า้ นปว่ ยเปน็ โรคคนแก่ มหี ลายโรคตดิ ตวั รกั ษาไมห่ าย ทนทกุ ขท์ รมานและ ไดเ้ สยี ชวี ติ ไปในทส่ี ดุ เมอ่ื ไดฟ้ งั กย็ งั ไมร่ สู้ กึ สลดใจอะไร เพราะคดิ วา่ เปน็ เรอ่ื งไกลตวั ตอ่ มาไดเ้ หน็ เพอ่ื นปว่ ยหนกั และเสยี ชวี ติ ในวยั กลางคน จึงเกิดความสลดใจ ชีวติ เป็นของไมเ่ ทย่ี ง ไม่แน่นอน จึงเรม่ิ ต้ังความเพียร ปฏบิ ตั ธิ รรม ฟงั ธรรม สง่ั สมบุญ ไมป่ ระมาทในการใชช้ วี ิต บุรุษประเภทที่ 3 บรุ ุษผมู้ ีญาตพิ ี่น้องต้องรับผลกรรม จึงระลกึ รู้ไดว้ า่ ต้องท�ำสงิ่ ท่ีถกู ที่ควร เม่อื ได้เห็นญาติ หรือ บุคคลอันเปน็ ท่รี กั ของตัวเอง ประสบกับความทุกข์ หรอื ได้ตายจากเราไป จงึ เกดิ ความสลดสงั เวช ในการพลัดพรากจาก ญาติหรือบคุ คลอนั เปน็ ทีร่ กั ไป และ เหน็ ถึงความไมเ่ ทีย่ งของสังขารร่างกาย สักวนั ความตายกต็ ้องเกดิ ขนึ้ กบั ตวั เราเช่นกนั ไม่วนั ใดกว็ นั หนึง่ จงึ ต้งั ใจท�ำความเพยี ร นั่งสมาธิ ศกึ ษาธรรม เพือ่ ท�ำพระนพิ พานให้แจง้ บรุ ุษประเภทที่ 4 บุรษุ ทไี่ มไ่ ดย้ นิ ดว้ ยหู ไมเ่ หน็ ดว้ ยตา เหตกุ ารณ์อันเศรา้ สลดกไ็ ม่เกดิ ขนึ้ กบั หมู่ญาติ แตต่ นเอง เป็นผู้ประสบกับความทุกข์ จึงระลึกรู้ได้ว่าต้องท�ำส่ิงที่ถูกท่ีควร เม่ือมีภัยมาถึงตัวเองแล้ว ประสบกับความทุกข์ ความไม่ เทยี่ งของสงั ขาร โรครา้ ยตา่ งรมุ แทบเอาชวี ติ ไมร่ อด เกดิ ความกงั วลขนึ้ มาวา่ เวลาตายไป จะเอาอะไรไปเปน็ ทพี่ งึ่ จงึ เรมิ่ คดิ ได้ แลว้ ต้ังสติ ท�ำความเพียร ศกึ ษาธรรม ปฏบิ ัตธิ รรม จะไดเ้ ปน็ ผ้มู สี คุ ติสวรรค์ และนพิ พานเป็นที่ไป วารสารการสัตว์ 30 ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
เราทกุ คนสามารถฝกึ ตนเองใหม้ คี วามเป็นอาชาไนยประเภทที่ 1ได้เช่นกัน ผทู้ สี่ ามารถตักเตือนตนเองได้ ไม่ต้อง รอใหใ้ ครต้องมาชีแ้ นะวา่ กล่าว มใี จรกั ในการฝกึ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ งตนเอง คอยระมัดระวัง เร่อื งไหนท่หี ้ามไมใ่ ห้ท�ำ ก็จะไม่ ท�ำ มสี ัจจะ สว่ นเรื่องไหนท่ีท�ำได้ ก็พยายามท�ำตามเตม็ ความสามารถไมใ่ ห้บกพร่อง นบั วา่ เปน็ เร่อื งของบุรษุ อาชาไนย ม้า อาชาไนย โคอาชาไนย และ ชา้ งอาชาไนย เราจงึ ไมค่ วรประมาทในการใชช้ วี ติ ทไี่ มม่ อี ะไรแนน่ อน มงุ่ สรา้ งแตค่ วามดี นอ้ มน�ำ ธรรมมาปฏิบตั ิ เพราะบคุ คลท่ีมใี จเป็นธรรมะย่อมไมต่ กไปในท่ชี ั่ว ขอนอ้ มน�ำเอาพระบรมราโชวาทอันเปน็ บอ่ เกิดแหง่ ความรคู้ ู่คณุ ธรรมมาเสริมสรา้ งบารมี ความตอนหน่ึงว่า “…การท่ีจะท�ำงานให้สัมฤทธิ์ผลที่พึงปรารถนา คือ ท่ีเป็นประโยชน์และเป็นธรรมด้วยนั้น จะอาศัยความรู้แต่ เพยี งอย่างเดียวมไิ ด้ จ�ำเปน็ ต้องอาศัยความสจุ ริต ความบรสิ ทุ ธิใ์ จ และความถูกต้องเปน็ ธรรมประกอบด้วย เพราะเหตุว่า ความรนู้ น้ั เปน็ เหมอื นเครอ่ื งยนต์ ทท่ี �ำใหย้ วดยานเคลอ่ื นไปไดป้ ระการเดยี ว สว่ นคณุ ธรรมดงั กลา่ วแลว้ เปน็ เหมอื นหนง่ึ พวง มาลยั หรอื หางเสอื ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ทนี่ �ำพาใหย้ วดยานด�ำเนนิ ไปถกู ทาง ดว้ ยความสวสั ดี คอื ปลอดภยั จนบรรลถุ งึ จดุ หมายทพ่ี งึ ประสงค์ ดงั นน้ั ในการทจี่ ะประกอบการงานเพอื่ ตนเพอื่ สว่ นรวมตอ่ ไป ขอใหท้ กุ คนส�ำนกึ ไวเ้ ปน็ นจิ โดยตระหนกั วา่ การงาน สังคม และบ้านเมอื งนัน้ ถา้ ขาดผู้มีความรู้เปน็ ผบู้ ริหารด�ำเนนิ การ ย่อมเจริญกา้ วหนา้ ไปไดโ้ ดยยาก แตถ่ า้ งานใด สงั คมใด และบา้ นเมอื งใดกต็ าม ขาดบคุ คลผูม้ ีคุณธรรมความดีสจุ รติ แลว้ จะด�ำรงอยมู่ ิได้เลย…” (พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในพิธี พระราชทานปรญิ ญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั รามค�ำแหง 8 ก.ค. 20) การมีความรคู้ ูค่ ณุ ธรรม จงึ เปน็ สิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับบคุ คลผูแ้ สวงหาความส�ำเรจ็ ในชวี ติ เพราะการงานสงั คม และ บา้ นเมอื งนน้ั ถา้ ขาดผมู้ คี วามรเู้ ปน็ ผบู้ รหิ ารด�ำเนนิ การ ยอ่ มเจรญิ กา้ วหนา้ ไปไดโ้ ดยยาก แตถ่ า้ งานใด สงั คมใด และบา้ นเมอื ง ใดกต็ าม ขาดบคุ คลผมู้ คี ณุ ธรรมความดสี จุ รติ แลว้ จะด�ำรงอยมู่ ไิ ดเ้ ลย คนเราจงึ ตอ้ งมที งั้ คณุ ภาพและคณุ ธรรม คนมคี ณุ ภาพ หมายถงึ คนทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ ความช�ำนาญ ในวชิ าชพี จนสามารถเลย้ี งตนเองและครอบครวั คนมคี ณุ ธรรม หมายถงึ เป็นคนดี คิดดี และประพฤติดี ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่นในสังคม และมีเมตตากรุณาตนเอง และผู้อ่ืน เป็นคนใฝ่รู้ อยู่เสมอ รู้จักตนเอง เสียสละเพ่ือส่วนรวม มองการณ์ไกล ไม่ประมาท และมีศีลธรรม มีความรับผิดชอบประจ�ำอยู่ใน ตวั บคุ คลอยา่ งมคี ณุ ภาพ และคณุ ธรรม ซงึ่ จะเหน็ ไดจ้ ากแบบอยา่ งพระราชจรยิ วตั ร และพระราชกรณยี กจิ ทส่ี ะทอ้ นถงึ คณุ ธรรม ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยึดเป็นคุณธรรมประจ�ำพระองค์ทรงต้ังพระราชปณิธานอันแน่วแน่ที่จะทรงปฏิบัติ หนา้ ที่พระมหากษัตริย์ โดยอาศัยธรรมะแหง่ พระพทุ ธศาสนา น่ันคอื ราชธรรมหรอื ธรรมะของพระราชา (ทศพธิ ราชธรรม) คุณธรรมจริยธรรม คือ ส่ิงที่เป็นคุณงามความดีที่ควรประพฤติปฏิบัติ เพราะจะน�ำความสุข ความเจริญ ความ มน่ั คงมาสปู่ ระเทศชาตสิ งั คมและบคุ คลโดยสว่ นรวมเปน็ รากฐานในการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ และเปน็ การสรา้ งสมวาสนา บารมแี กต่ น เชน่ 1. ความจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ประเทศชาติ นบั วา่ มพี ระคณุ อยา่ งมหาศาล เพราะเปน็ สถานท่ี ทเี่ ราทกุ คนอยอู่ าศยั อยา่ งผาสกุ ตงั้ แตเ่ กดิ จนตาย ใหเ้ ราไดป้ ระกอบอาชพี เลย้ี งชวี ติ ใหเ้ ราไดภ้ าคภมู ใิ จในเกยี รตแิ ละศกั ดศิ์ รที ี่ มชี าตเิ ปน็ ของตนเอง ไมเ่ ปน็ ทาสใคร เราตอ้ งมคี วามซอื่ สตั ยต์ อ่ ชาติ รกั และหวงแหน ยอมสละเลอื ดเนอ้ื และชวี ติ เพอ่ื ใหช้ าติ เปน็ เอกราชสบื ไป ปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ใู้ ดมาท�ำลาย ปกปอ้ งชอ่ื เสยี งไมใ่ หใ้ ครมาดแู คลน และประพฤตติ นใหถ้ กู ตอ้ งตามกฎหมาย และขนบธรรมเนียม ประเพณีของชาติบ้านเมือง ศาสนา เป็นท่ีพึ่งทางกายและทางจิตใจ ท�ำให้มนุษย์ด�ำรงชีพร่วมกันใน สังคมอยา่ งมีสนั ติสขุ เรามหี นา้ ทท่ี �ำนบุ �ำรงุ พระศาสนาใหม้ ัน่ คงสถาพรสบื ตอ่ ไป ดว้ ยการปฏบิ ัตติ ามค�ำสง่ั สอนขององค์พระ ศาสดา สรา้ งและบูรณะ ศาสนาสถาน ฟงั ธรรม และปฏิบัติธรรมอย่เู ป็นนจิ ประพฤตติ ่อผู้อืน่ ดว้ ยความสุจริต ท้ัง กาย วาจา และใจ องคพ์ ระมหากษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ศูนย์รวมของชาวไทยทัง้ ประเทศ พระองคท์ รงเป็นผู้น�ำและผู้ปกป้องชาติและศาสนา ทรงบ�ำบัดทุกขแ์ ละบ�ำรุงสขุ ให้แกร่ าษฎรดว้ ยความเสียสละในทกุ ๆ ดา้ น เราตอ้ งเทิดทนู พระองค์ไวส้ งู สุด รบั ใชส้ นองพระ มหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งเตม็ ความสามารถ ประพฤตติ นเปน็ คนดไี มเ่ ปน็ ภาระแกพ่ ระองค์ และถา้ มคี วามจ�ำเปน็ แมช้ วี ติ ของเรา เองก็สามารถจะถวายพลชี ีพไดเ้ พื่อความเปน็ ปึกแผ่นและยงั่ ยืนของสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ วารสารการสัตว์ 31 ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
2. ความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ หมายถงึ การปฏบิ ัตกิ จิ การงานของตนเอง และทไ่ี ดร้ บั มอบหมายดว้ ยความมานะ พยายาม อทุ ิศก�ำลังกาย ก�ำลงั ใจอยา่ งเตม็ ความสามารถ ไมเ่ ห็นแกค่ วามเหนด็ เหนือ่ ยจนงานประสบความส�ำเร็จตรงตาม เวลา บังเกิดผลดีต่อตนเองและส่วนรวม ท้ังน้ีรวมไปถึงการรับผิดเมื่องานล้มเหลว พยายามแก้ไขปัญหาและอุปสรรคโดย ไม่เกย่ี งงอนผู้อื่น 3. ความมรี ะเบียบวินยั หมายถงึ การเป็นผรู้ ู้และปฏิบัติตามแบบแผนทต่ี นเอง ครอบครวั และสงั คมก�ำหนดไว้ โดยที่จะปฏเิ สธไมร่ ับร้กู ฎเกณฑ์หรือกตกิ าตา่ ง ๆ ของสงั คมไมไ่ ด้ คณุ ธรรมขอ้ นตี้ ้องใช้เวลาปลกู ฝงั เปน็ เวลานาน และตอ้ ง ปฏิบัติสม�่ำเสมอจนกว่าจะปฏิบัติเองได้ และเกิดความเคยชิน การมีระเบียบวินัยช่วยให้สังคมสงบสุข บ้านเมืองมีความ เรียบรอ้ ย เจรญิ ร่งุ เรือง 4. ความซ่อื สตั ย์ หมายถึง การปฏบิ ัตติ น ทางกาย วาจา จิตใจ ทตี่ รงไปตรงมา ไม่แสดงความคดโกงไม่หลอกลวง ไมเ่ อาเปรยี บผอู้ นื่ ลนั่ วาจาวา่ จะท�ำงานสง่ิ ใดกต็ อ้ งท�ำใหส้ �ำเรจ็ เปน็ อยา่ งดี ไมก่ ลบั กลอก มคี วามจรงิ ใจจนเปน็ ทไ่ี วว้ างใจของ คนทกุ คน 5. ความเสียสละ หมายถงึ การปฏบิ ตั ิตนโดยอุทศิ ก�ำลังกาย ก�ำลงั ทรัพย์ ก�ำลังปญั ญา เพอื่ ชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ และ สังคมด้วยความตั้งใจจรงิ มีเจตนาท่ีบริสุทธิ์ คณุ ธรรมดา้ นน้เี ปน็ การสะสมบารมีให้แกต่ นเอง ท�ำใหม้ คี นรักใครไ่ วว้ างใจ เป็น ที่ยกยอ่ งของสงั คม ผคู้ นเคารพนับถอื 6. ความอดทน หมายถงึ ความเปน็ ผทู้ มี่ จี ติ ใจเขม้ แขง็ ไมท่ อ้ ถอยตอ่ อปุ สรรคใด ๆ มงุ่ มน่ั ทจ่ี ะท�ำงานใหบ้ งั เกดิ ผลดี โดยไมใ่ ห้ผูอ้ ื่นเดอื ดร้อน 7. การไมท่ �ำบาป คอื การงดเวน้ พฤตกิ รรมทช่ี ว่ั รา้ ย สรา้ งความเดอื ดรอ้ นใหผ้ อู้ นื่ เพราะเปน็ เรอ่ื งเศรา้ หมองของจติ ใจ 8. ความสามคั คี คอื การทท่ี กุ คนมคี วามพรอ้ มกาย พรอ้ มใจ และพรอ้ มความคดิ เปน็ นำ�้ หนงึ่ ใจเดยี วกนั มจี ดุ มงุ่ หมาย ที่จะปฏบิ ัติงานใหป้ ระสบความส�ำเร็จ โดยไม่มกี ารเกีย่ งงอนหรือคดิ ชงิ ดชี งิ เดน่ กัน ทุกคนมุ่งท่จี ะใหส้ ังคมและประเทศชาติ เจรญิ รงุ่ เรอื ง มคี วามรกั ใครก่ ลมเกลยี วกนั ดว้ ยความจรงิ ใจ ไมเ่ หน็ แกต่ วั วางตนเสมอตน้ เสมอปลายกห็ มายถงึ ความสามคั คดี ว้ ย ฉะนัน้ แล้ว ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ นบั เปน็ คุณสมบตั ิของผมู้ วี าสนาเพ่อื สรา้ งสมบารมี มชี ีวติ มใี ห้ดีต้องมชี าต ิ ชาติวิลาสนั้นต้องมีศรีศาสนา สองนั้นจะดตี อ้ งมธี รรม–ราชา เป็นหวั หนา้ และตัวอย่างทุกอย่างไป ประเทศชาติเหมอื นรา่ งกายใหค้ ดิ ด ู ไม่มีกายใจจะอยู่อย่างไรได้ ศาสนานัน้ เหมอื นใจฝ่ายนามกาย ไม่มีใจกเ็ หมอื นตายซากก่ายนอน. มหากษตั รยิ เ์ หมือนสติและปญั ญา ทบ่ี ัญชากายและใจใหเ้ ปน็ สมร รว่ มกันไปคลา้ ยกบั งานสหกรณ ์ ไมม่ ้วยมรณไ์ ทยเจรญิ เกนิ เปรยี บเอยฯ และท่ีสุดแห่งความโชคดี ที่พวกเรามีธรรมิกราชาทรงเป็นพระประมุขพร้อมด้วยองค์ประกอบ 3 ประการนี้ คอื ประเทศชาติ พระพุทธศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ มคี วามจ�ำเปน็ อย่างยง่ิ เหมอื นกบั ไม้สามขา ถึงองิ กนั อยูไ่ ดก้ ็ไมล่ ้ม หากปลดออกเสียขาหนึ่งก็จะต้องล้มประเทศชาติหน่ึง ศาสนาหน่ึง พระมหากษัตริย์หนึ่ง จะอยู่ตามล�ำพังไม่ได้ประเทศ ชาติกจ็ ะอยูโ่ ดยปราศจากพระพทุ ธศาสนาไม่ได้ ปราศจากพระมหากษัตริย์คอื ผู้น�ำน้ีไม่ได้ ศาสนากม็ ีอยูไ่ มไ่ ดโ้ ดยปราศจาก ประเทศชาตหิ รอื ปราศจากผอู้ ปุ ถมั ภ์ พระมหากษตั รยิ ก์ ม็ อี ยไู่ มไ่ ด้ โดยทปี่ ราศจากประเทศชาตหิ รอื ศาสนา องคท์ ง้ั 3 อยา่ งน้ี จ�ำเป็นทจี่ ะตอ้ งมพี ร้อมเพรียงกนั ประเทศชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมเป็น อัตภาพไทย อันไพศาล อัตภาพไทยรวมอยู่ด้วยองค์ประกอบ 3 ประการจงึ ไพศาลจงึ มน่ั คงแขง็ แรงจงึ ใหญห่ ลวงและปลอดภยั ภายใตร้ ม่ เงาพระบารมธี รรมแหง่ องคพ์ ระราชาผมู้ บี ญุ ญาธกิ าร 32 วารสารการสตั ว์ ปีท่ี 38 ฉบับท่ี 1
หลักสูตรส่งทางอากาศ รนุ่ ที่ 332 รร.สพศ.ศสพ. โดย พลทหาร พรพชิ ัย ไชยะโยธา เมอ่ื วนั ท่ี 15 มี.ค. 64 พ.อ. พนาเวศ จันทรงั ษี รอง จก.กส.ทบ.(1) มอบรางวลั เพ่ือเปน็ การสรา้ ง ขวัญและก�ำลังใจ ให้กับ พลฯ พรพิชัย ไชยะโยธา ทหารกองประจ�ำการ รุ่นปี 2562 ผลัดที่ 1 สังกัด กองรอ้ ยบรกิ าร กองบรกิ าร กรมการสตั วท์ หารบก ทสี่ ามารถผา่ นการคดั เลอื กและส�ำเรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู ร ส่งทางอากาศ รุ่น 332 โรงเรียนสงครามพิเศษ ศนู ย์สงครามพเิ ศษ และรอเขา้ เป็นนกั เรยี นนายสบิ ทหารบก เหล่าทหารราบ ยศ, ช่ือ, พลทหาร พรพิชยั ไชยะโยธา ต�ำแหนง่ พลบริการ การศึกษาก่อนรับราชการ - ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รร.ดงยางวิทยาคม การศึกษาเมือ่ เข้ารบั ราชการ - หลักสตู รสง่ ทางอากาศ รุน่ ที่ 332 รร.สพศ.ศสพ. เมอื่ จบการศกึ ษาระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กระผม ไปสอบ นกั เรยี นจา่ ทหารเรอื ดว้ ยความฝนั ทอี่ ยากรบั ราชการ แต่ กไ็ มส่ �ำเรจ็ สอบไมผ่ า่ น จงึ ไดท้ �ำงานอยทู่ ี่ กทม. กอ่ นเปน็ เวลา 1 ปี ซึ่งตอนน้ันผมอายุได้ 20 ปี และอายุครบเกณฑ์ทหาร 21 ปี กระผมจงึ ได้ เขา้ รบั การเกณฑโ์ ดยรอ้ งขอเลอื กลง มทบ. 11 กทม. และไดม้ าลงท่เี หล่าทหารการสัตว์ ท่ี จว.นครปฐม จากนั้น ผมไดเ้ ขา้ รับการฝกึ ทหารใหม่ 2 เดอื น 10 วัน ในระหว่างฝกึ กระผมไดอ้ ยู่ หมู่ 4 หมวด 2 เปน็ หมูท่ ม่ี คี า่ บเี อม็ ไอ เกิน ตอนน้นั น�ำ้ หนักผม 98 กิโลกรมั วารสารการสตั ว์ 33 ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
ซง่ึ อว้ นมากและหลงั จากทฝี่ กึ ทหารใหมเ่ สรจ็ นำ้� หนกั ผมลดลงเหลอื 76 กโิ ลกรมั ซง่ึ เปน็ ผลดมี าก ชว่ งการฝกึ ทหารใหมท่ �ำใหผ้ มมรี ะเบยี บวนิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบและไดร้ จู้ กั เพอ่ื นใหม่ ไดเ้ จอครฝู กึ ทดี่ ี ไดเ้ จอในสงิ่ ทไี่ มเ่ คย เจอ จากร่างกายอ่อนแอกก็ ลายเปน็ แข็งแรง ไดพ้ ัฒนาตนอง ได้เรียนรู้วชิ าการทางทหาร ไดเ้ รยี นรูห้ ลายส่งิ และเกิดเป็นแรงบนั ดาลใจให้อยากรบั ราชการทหารเพมิ่ มากขึน้ หลังจากฝึกเสร็จผมก็ขึ้นกองร้อย พอถึงช่วงที่ กองทัพบก ได้เปิดสอบนักเรียนนายสิบทหารบก พ.ศ.2563 จึงได้เขา้ รบั การทดสอบ แตก่ ็ยงั สอบไม่ผ่านด้วยเหตผุ ลทว่ี า่ ดึงขอ้ ได้แค่ 1 ครั้ง ผมกเ็ สยี ใจอยู่นดิ หนอ่ ย แตก่ ไ็ มย่ อมแพก้ ลบั มาทห่ี นว่ ยและไดพ้ ฒั นารา่ งกายใหแ้ ขง็ แรงมากกวา่ เดมิ ดว้ ยใจทอ่ี ยากรบั ราชการ ทหารและตอนนนั้ มก็ใกลจ้ ะปลดประจ�ำการแล้ว แต่ โควิด – 2019 ก�ำลงั แพรร่ ะบาดอย่างหนกั ผบ.ทบ. จึงเชิญชวนให้พลทหารสมัครใจรับราชการต่อ นึ่งผมก็คิดว่าอยากลองสอบนักเรียนนายสิบดูอีกสักครั้ง จึงได้ยนื ค�ำร้องขอสมคั รรบั ราชการตอ่ อีก 1 ปี พอถงึ ช่วงเดอื นมถิ ุนายน มีการเปดิ สอบทดสอบรา่ งกายเพ่อื เขา้ รบั การศกึ ษาหลกั สตู รสง่ ทางอากาศและเขา้ เปน็ นกั เรยี นนายสบิ ทหารบกเหลา่ ทหารราบ ผมไดส้ มคั รเขา้ รบั การทดสอบ ร.อ. ณรงคฤ์ ทธิ์ รสั มี ผบ.กบร.กส.ทบ ไดจ้ ดั ชดุ น�ำก�ำลงั พลไปสอบที่ รร.นายรอ้ ย จปร. โดยมี ร.อ. มณเฑยี ร กลัดนาค น�ำก�ำลงั พลไปสอบและผมไดส้ อบผ่านทุกสถานี ดงึ ข้อ , ลกุ นง่ั , วิ่ง และว่ายนำ้� 100 เมตร ไดผ้ า่ นเข้าทดสอบสอบภาควชิ าการรอบท่ี 2 และเมือ่ ประกาศผล ผมติดตัวจริงล�ำดบั ที่ 119 การเขา้ ศึกษาหลักสูตรส่งทางอากาศแบง่ ออกเป็น 3 รนุ่ ซ่ึงผมได้เรยี นรุ่นท่ี 2 วนั ที่ 8 กุมภาพันธ์ ถึง วนั ท่ี 14 มนี าคม ในระหว่างทีร่ อเข้ารับการศึกษา ผมได้พัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง เพอ่ื ทจ่ี ะเขา้ รับการศกึ ษา หลักสูตรส่งทางอากาศ โดยมี พ.อ. ประภาส ศรีประทุม ได้ให้ค�ำแนะน�ำบอกเทคนิกต่าง ๆ และได้พา ผมออกก�ำลังกายและได้ให้ก�ำลังใจผมตลอดมาและพอถึงวันเข้ารับการศึกษา ผมได้เข้ารับการศึกษาเป็น เวลา 1 เดือน 34 วารสารการสัตว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
การเรยี นแบ่งออกเปน็ 2 ภาค 1. ภาควิชาการ 2. ภาคปฏิบตั ิ 2.1 ขน้ั การฝึกภาคพนื้ ดนิ แบง่ ออกเป็น 6 สถานี 2.1.1 การปฏบิ ัตบิ นเครือ่ งบนิ 2.1.2 การกระโดดหอสูง 34 ฟุต 2.1.3 การบงั คับรม่ 2.1.4 การลงพ้นื จากแทน 2 ฟตุ และ 4 ฟตุ 2.1.5 การฝึกใชร้ ่ม 2.1.6 การลงพ้นื จากรอกว่งิ 2.2 ขน้ั ฝึกกระโดดร่ม พอทดสอบภาคพน้ื ดินผา่ นจงึ ไดโ้ ดดร่มจริงจ�ำนวน 5 ครัง้ กระโดดประตูขวา 2 คร้ัง โดดทา้ ยแลมป์ 2 คร้ัง และกระโดดประกอบอาวุธพรอ้ มเคร่ืองสนาม ท้ายแลมป์ 1 ครง้ั และไดส้ �ำเร็จหลกั สตู ร และเมื่อกลับมายงั หนว่ ย ทา่ นเจ้ากรมการสตั วท์ หาร บก ไดใ้ หค้ วามส�ำคญั มอบทนุ รางวลั เพอื่ สรา้ งขวญั และก�ำลงั ใจ ใหผ้ ม ขอขอบพระคณุ ทา่ นเจา้ กรมการสตั วท์ หารบก มากครบั และสดุ ทา้ ยน้ี อยากฝากขอ้ คดิ ใหก้ บั นอ้ ง ๆ พลทหาร รนุ่ ต่อ ๆ ไป วา่ เราสามารถท�ำในสง่ิ ที่คนอ่นื คิดว่าเราท�ำไม่ได้ ใหท้ �ำได้ เราสามารถเปลีย่ นแปลงตัวเองใหพ้ ฒั นาข้ึนไปอกี ได้ ตราบใดที่เรายังไมย่ อมแพ ้ วารสารการสัตว์ 35 ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
เรอ่ื งราวกขอรงมกอกงกาารรสสัตตั ว์แวล์ทะเกหษาตรรกบรกรม โดย พ.อ.หญิง ดร. ดลฤดี วาสนานนท์ ประจ�ำกรมการสัตวท์ หารบก เกรนิ่ น�ำ จากการที่ผู้เขียนเรียนจบด้านการเกษตร ประกอบกับประสบการณ์ท่ีอยู่กรมการสัตว์ทหารบกมา อย่างยาวนาน อีกท้ังยังได้มีโอกาสเข้าร่วมการประชุมหน่วยข้ึนตรงของกรมการสัตว์ทหารบก ครั้งท่ี 8/2563 (วาระปกติ) เม่ือวันท่ี 8 ตุลาคม พ.ศ.2563 จึงได้รับทราบถึงงานตามนโยบายที่นอกเหนือจากภารกิจ หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข 3400 ของ พลตรีวิชัย ธารีฉัตร เจ้ากรมการสัตว์ทหารบก ที่เก่ียวกับกองการสัตว์และเกษตรกรรมท้ัง 3 หน่วย คือ กองการสัตว์และเกษตรกรรมท่ี 1 ให้ด�ำเนิน โครงการธนาคารอาหารชุมชนฯ (Food Bank)กองการสัตว์และเกษตรกรรมท่ี 2 ให้ด�ำเนินโครงการบ้านพัก ม้าชราฯ และกองการสัตว์และเกษตรกรรมท่ี3 ให้ด�ำเนินงาน โคก หนอง นา โมเดล ด้วยเหตุท่ีกล่าวมานี้ จงึ ท�ำใหผ้ เู้ ขยี นเกดิ แรงบนั ดาลใจในการน�ำเสนอเรอื่ งราวเกยี่ วกบั งานของกองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมเรอื่ งนขี้ น้ึ มา โดยบทความนไ้ี ดก้ ลา่ วถงึ ประวตั คิ วามเปน็ มา การจดั หนา้ ที่ และงานตามนโยบาย รวมถงึ สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วภายใน กองการสัตว์และเกษตรกรรม กรมการสัตว์ทหารบก ประวัตคิ วามเป็นมา1 กองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 1 จดั ตงั้ ครงั้ แรกเมอื่ วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ.2459 ทบ่ี รเิ วณพคุ า (เขาปะกง) เดมิ มชี อื่ วา่ “ทที่ �ำการผสมสตั วเ์ ขาปะกง” มรี อ้ ยเอกงวิ้ อทุ ยานวนั ทน (หลวงแกว้ ก�ำแหง) เปน็ ผบู้ งั คบั หนว่ ยคนแรก มีภารกิจในการผลิตเสบียงสัตว์กับผสมพันธุ์สัตว์ ซึ่งในปี พ.ศ.2528 เปลี่ยนช่ือหน่วยเป็น “กองการสัตว์และ เกษตรกรรมท่ี 1”เปน็ หน่วยขึ้นตรงของกรมการสัตว์ทหารบก ตามอัตราเฉพาะกจิ หมายเลข 3400 จัดตง้ั ขน้ึ ตาม ค�ำสั่ง ทบ. ลับ (เฉพาะ) ที่ 38/28 ลง 13 ก.พ.28 ใชน้ ามย่อว่า “กสษ.1 กส.ทบ.” ต่อมาในปี พ.ศ.2549 กองการ สัตว์และเกษตรกรรมที่ 1 ได้รับการแก้ไขเปล่ียนแปลงภารกิจและการจัดใหม่ ตามค�ำส่ัง กส.ทบ. ลับ (เฉพาะ) ท่ี 16/49 เรอื่ ง ก�ำหนดหนา้ ท่แี ละอัตราก�ำลงั พล กรมการสัตว์ทหารบก ลง 18 ก.ค. 49 ปัจจุบันตงั้ อยูเ่ ลขท่ี 57 หมู่ 5 ต�ำบลเกาะส�ำโรง อ�ำเภอเมือง จงั หวดั กาญจนบุรี 71000 กองการสัตวแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 2 จัดตง้ั ครั้งแรกเมอื่ ปี พ.ศ.2457 มที ีต่ ้ัง ณ ต�ำบลหวั สระ อ�ำเภอสีคว้ิ จังหวัดนครราชสีมา เดิมมีชื่อว่า “กองผสมสัตว์หัวสระ” มีพันเอกพระพหลหาญศึก เป็นผู้บังคับหน่วยคนแรก ซง่ึ ในปี พ.ศ. 2528 เปลย่ี นชอื่ หน่วยเป็น “กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 2” เปน็ หนว่ ยขน้ึ ตรงของกรมการสัตว์ ทหารบก ตามอตั ราเฉพาะกิจหมายเลข 3400 จดั ตั้งขน้ึ ตามค�ำสงั่ ทบ. ลับ (เฉพาะ) ท่ี 38/28 ลง 13 ก.พ. 28 ใชน้ ามยอ่ วา่ “กสษ.2กส.ทบ.”และในปีพ.ศ.2549กองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี2ไดร้ บั การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงภารกจิ และการจดั ใหม่ ตามค�ำสง่ั กส.ทบ. ลบั (เฉพาะ) ที่ 16/49 เรอ่ื ง ก�ำหนดหนา้ ทแี่ ละอตั ราก�ำลงั พล กรมการสตั วท์ หารบก ลง 18 ก.ค.49 ตอ่ มาเมอื่ วนั ที่ 4 ตลุ าคม พ.ศ.2552 ตามอนมุ ตั ทิ า้ ยหนงั สอื กบ.ทบ. ลบั ดว่ นมาก ท่ี กห 0404/1318 36 วารสารการสตั ว์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
ลง 4 เม.ย.45 เรอ่ื งขออนมุ ัตเิ ปล่ยี นทต่ี ้งั ปกตถิ าวรหนว่ ยทางการสง่ ก�ำลงั บ�ำรุงฯ จากเดิมคือ บ้านแก่งหีบ เป็นบา้ น เขาเสดจ็ ต�ำบลหนองสาหร่าย อ�ำเภอปากช่อง จงั หวัดนครราชสมี า โดยมที ีต่ ้ังในปจั จุบนั อยูเ่ ลขที่ 325 หมู่ 223 ต�ำบลหนองสาหรา่ ย อ�ำเภอปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสีมา 30130 กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 จัดต้ังครั้งแรกเม่ือปี พ.ศ.2483 ที่จังหวัดเชียงใหม่ เดิมมีชื่อว่า “กองผสมม้า” มีร้อยเอกขุนโตมรารักษ์ (ไตรเดช ปั้นตระกูล) เป็นผู้บังคับกองคนแรก ซ่ึงในปี พ.ศ.2528 เปลี่ยนช่ือหน่วยเป็น “กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3” เป็นหน่วยขึ้นตรงของกรมการสัตว์ทหารบก ตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข 3400 จัดตั้งขึ้นตามค�ำส่ัง ทบ. ลับ (เฉพาะ) ท่ี 38/28 ลง 13 ก.พ.28 ใช้นามย่อว่า “กสษ.3 กส.ทบ.” ต่อมาในปี พ.ศ.2549 กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 ได้รับการแก้ไข เปลี่ยนแปลงภารกิจและการจัดใหม่ ตามค�ำสั่ง กส.ทบ. ลับ (เฉพาะ) ที่ 16/49 เร่ือง ก�ำหนดหน้าที่และอัตรา ก�ำลังพล กรมการสัตว์ทหารบก ลง 18 ก.ค.49 ปัจจุบันต้ังอยู่เลขที่ 54 หมู่ 6 ต�ำบลแม่สา อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180 การจัดและหนา้ ท2ี่ กองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมที่ 1 กรมการสตั วท์ หารบก มหี น้าท่ี 1) ด�ำเนนิ การเล้ียง ผสม ฝึก และบ�ำรงุ พนั ธส์ุ ตั วส์ �ำหรบั ใชใ้ นราชการทหาร 2) ด�ำเนนิ การผลติ อาหารสตั วส์ นบั สนนุ กองทพั บก3)ด�ำเนนิ งานดา้ นเกษตรกรรม เพอ่ื สนบั สนนุ หนว่ ยงานในกองทพั บก และ 4) บนั ทกึ และรายการสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ที่ โดยมกี ารแบง่ สว่ นราชการ เปน็ 5 แผนก ดังน้ี 1. แผนกสัตวบาล ประกอบดว้ ย 3 หมวดสัตวบาล 1 หมวดฝกึ สัตว์ และ 1 หมวดขยายพนั ธสุ์ ตั ว์ 2. แผนกอาหารสตั ว์ ประกอบด้วย 2 หมวดอาหารสตั ว์ 3. แผนกเกษตรกรรม ประกอบด้วย 2 หมวดเกษตรกรรม 4. แผนกบรกิ าร ประกอบด้วย 1 หมวดรักษาการณ์ 5. โรงพยาบาลสตั ว์ ประกอบดว้ ย 1 หมวดอายรุ กรรมสตั ว์ และ 1 หมวดเวชกรรมป้องกันโรคสัตว์และ สุขาภิบาลสัตว ์ ส�ำหรับกองการสัตวแ์ ละเกษตรกรรมที่ 2 และ 3 เปน็ หน่วยข้นึ ตรงของกรมการสัตวท์ หารบก ตามอัตรา เฉพาะกิจหมายเลข 3400 มีหน้าที่เช่นเดียวกับกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 1 ซ่ึงมีการแบ่งส่วนราชการเป็น 5 แผนก ดงั นี้ 1. แผนกสัตวบาล ประกอบด้วย 3 หมวดสัตวบาล 1 หมวดฝกึ สตั ว์ และ 1 หมวดขยายพนั ธส์ุ ัตว์ 2. แผนกอาหารสตั ว์ ประกอบดว้ ย 1 หมวดอาหารสัตว์ และ 1 หมวดบรกิ าร 3. แผนกเกษตรกรรม ประกอบดว้ ย 2 หมวดเกษตรกรรม 4. แผนกบรกิ าร ประกอบด้วย 1 หมวดรกั ษาการณ์ 5. โรงพยาบาลสัตว์ ประกอบด้วย 1 หมวดอายุรกรรมสัตว์ และ 1 หมวดเวชกรรมป้องกนั โรคสัตว์และ สุขาภบิ าลสตั ว์ งานตามนโยบาย และสถานทที่ อ่ งเทยี่ วในพื้นทร่ี ับผิดชอบของหน่วย งานตามนโยบายที่นอกเหนือจากภารกิจหน้าที่ท่ีต้องปฏิบัติตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข 3400 ของ กองการสัตวแ์ ละเกษตรกรรม กรมการสตั ว์ทหารบก มดี ังนี้ วารสารการสตั ว์ 37 ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
กองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 1 คอื โครงการธนาคารอาหารชมุ ชนตามพระราชด�ำริ 3 หรอื Food Bank นัน้ เปน็ หน่ึงในโครงการทจี่ ัดท�ำขึ้นจากพระราชเสาวนยี ์ของสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรม ราชชนนพี นั ปหี ลวง เมอื่ ครง้ั เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ เยย่ี มเยยี นราษฎร ณ บา้ นปา่ แปก อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน เมอื่ วนั ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2543 เนอื่ งจากทรงมคี วามหว่ งใยในดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มของโลกและทรงทราบขอ้ มลู ของ สหประชาชาตวิ า่ ในอนาคตโลกจะประสบปญั หาทางดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มรวมไปถงึ การขาดแคลนอาหาร เนอื่ งจากการ เพ่มิ ขึน้ ของประชากรโลก จึงทรงมพี ระราชเสาวนยี ์ “...ใหพ้ ฒั นาจงั หวดั แม่ฮอ่ งสอนใหเ้ ปน็ แหล่งผลติ อาหารเลย้ี ง ตนและเหลือจําหน่ายในพื้นท่ีใกล้เคียง...”เพราะถ้าหากคนสามารถอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างถูกต้องและมีการจัดการ ทด่ี นิ ท�ำกนิ ไดอ้ ยา่ งเปน็ สดั สว่ นแลว้ ปา่ กจ็ ะเปน็ แหลง่ อาหารธรรมชาตทิ มี่ คี วามยง่ั ยนื นอกจากนน้ั ในพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบ ของกองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 1 มตี น้ จามจรุ หี รอื กา้ มปยู กั ษอ์ ายมุ ากกวา่ 100 ปี มขี นาดเสน้ รอบวงล�ำตน้ 7.83 เมตร เสน้ ผ่านศูนย์กลางร่มเงาประมาณ 51.75 เมตร ความสงู จากพิ้นดินถึงยอด 20เมตร มีพ้นื ทีข่ องพุ่มประมาณ 1 ไร่ 2 งาน 4 วา ถอื วา่ เปน็ แหล่งท่องเทีย่ วที่ส�ำคัญอีกแห่งหนงึ่ ของจงั หวัดกาญจนบุรี รปู ภาพตน้ จามจรุ ียักษใ์ นพื้นทข่ี อง กองการสัตวแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 1 กองการสัตว์และเกษตรกรรมท่ี 2 คือโครงการบ้านพักม้าชราในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ สิริวัณณวรี นารีรัตนราชกญั ญา 4 ทรงพระราชทานเงนิ ขวัญถงุ ซง่ึ เปน็ เงินเดอื นทง้ั หมดทท่ี รงไดร้ ับตัง้ แตเ่ ริม่ รบั ราชการในกองทพั บกใหก้ บั กรมการสตั วท์ หารบก เพอ่ื เปน็ ทนุ เรมิ่ ตน้ ในการจดั ตงั้ กองทนุ โครงการบา้ นพกั มา้ ชรา ในพระอปุ ถมั ภฯ์ ซงึ่ เปน็ ตน้ แบบของการบรหิ ารจดั การโครงการบา้ นพกั มา้ ชรา เปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นการเลยี้ งดกู าร ปฏิบัติบํารุง การดูแลม้าชรา การให้บริการทางสัตวแพทย์ เป็นแหล่งเรียนรู้ต้นเเบบการบริหารจัดการเพ่ือน�ำไป ประยกุ ตใ์ ชส้ �ำหรับการดูแลสัตว์ชราอืน่ ๆต่อไป ในการนี้กองทพั บกมอบหมายใหก้ รมการสัตวท์ หารบก เป็นหนว่ ย ดาํ เนนิ การซงึ่ ใชพ้ น้ื ทขี่ องกองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 2 ตาํ บลหนองสาหรา่ ย อาํ เภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า 38 วารสารการสตั ว์ รูปภาพบ้านพักมา้ ชราฯ ในพนื้ ที่ของกองการสตั ว์และเกษตรกรรมที่ 2 ปีท่ี 38 ฉบับท่ี 1
กองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมที่ 3 คอื โครงการ โคก หนอง นา โมเดลโดยกองการสตั วแ์ ละเกษตรกรรมท่ี 3 ไดด้ �ำเนนิ การโครงการนใี้ นพน้ื ทข่ี องหนว่ ย จ�ำนวน 19 ไร่ เพอ่ื เปน็ แหลง่ เรยี นรแู้ ละเปน็ พนื้ ทตี่ น้ แบบใหก้ บั ประชาชน ท่ัวไปและเกษตรกรในพื้นที่ได้เข้ามาศึกษาดูงานและสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ของตนเอง5นอกจาก น้ันภายในพ้ืนท่ีของ กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 ยังมีสถานท่ีให้เที่ยวชมภูมิทัศน์ท่ีสวยงามตามธรรมชาติ รวมถึงมกี จิ กรรมตา่ งๆ เชน่ การขีม่ ้า ชมฟารม์ แกะ อีกดว้ ย รปู ภาพสถานทที่ ่องเทย่ี วในพน้ื ทข่ี องกองการสัตว์และเกษตรกรรมท่ี 3 กลา่ วโดยสรุป จากที่กล่าวมาในข้างต้นนั้นเห็นได้ว่า กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 1 2 และ 3 เป็นหน่วยข้ึนตรง ของกรมการสัตว์ทหารบก ตามอัตราเฉพาะกิจหมายเลข 3400 จัดตั้งขึ้นตามค�ำสั่ง ทบ. ลับ (เฉพาะ) ท่ี 38/28 ลง 13 ก.พ. 28 ดังน้นั วนั ท1ี่ 3 กุมภาพนั ธ์ ของทุกปี จงึ เป็นวนั สถาปนาของหน่วย ภารกิจหน้าที่ของ กองการสัตว์และเกษตรกรรมทั้งสามกอง คือ การเล้ียง ผสม ฝึก บ�ำรุงพันธุ์สัตว์ส�ำหรับใช้ในราชการทหาร การผลิตอาหารสัตว์สนับสนุนกองทัพบก และงานด้านเกษตรกรรมเพ่ือสนับสนุนหน่วยงานในกองทัพบก นอกเหนอื จากงานตามภารกจิ แลว้ ยงั มงี านตามนโยบาย ซงึ่ ไดแ้ ก่ โครงการธนาคารอาหารชมุ ชนตามพระราชด�ำรฯิ โครงการบ้านพักม้าชราในพระอุปถัมภ์ฯ และโครงการ โคก หนอง นา โมเดล อีกท้ังภายในบริเวณพ้ืนท่ีของ หน่วยแต่ละกองน้ัน ยังมีสถานที่ท่องเท่ียวให้บุคคลท่ัวไปสามารถเข้าไปเย่ียมชม และท�ำกิจกรรมต่างๆ อีกด้วย วารสารการสัตว์ 39 ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
เอกสารอา้ งอิง 1กรมการสตั วท์ หารบก. (ม.ป.ป.). ประวตั กิ รมการสตั วท์ หารบก. นครปฐม: แผนกประวตั ศิ าสตรท์ หาร กองวทิ ยาการ กรมการสัตวท์ หารบก. 2กรมการสัตวท์ หารบก. (2549).อตั ราเฉพาะกจิ หมายเลข 3400กรมการสตั วท์ หารบก. นครปฐม: กองยทุ ธการ และการข่าว กรมการสตั วท์ หารบก. 3กรมพัฒนาท่ีดิน. (2545).โครงการธนาคารอาหารชุมชนตามแนวพระราชด�ำริ. กรุงเทพฯ: สถานีพัฒนาท่ีดิน แมฮ่ อ่ งสอนกรมพฒั นาท่ีดนิ . 4 เนชั่นทีวี. (2564). เจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ ทรงพระราชทานเงินเดือนจากการรับราชการทหารสร้างบ้านพักม้า ชราทปี่ ากชอ่ ง.เขา้ ถงึ เมอื่ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2564. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://today.line.me/th/v2/article/oWgNJp. 5 กสษ.3 กส.ทบ. (2563). “โคก หนอง นา โมเดล กสษ.3 กส.ทบ.”.วารสารการสัตว์ 37, 2 (กรกฎาคม- ธันวาคม): 19-21. 40 วารสารการสตั ว์ ปีที่ 38 ฉบับท่ี 1
โรคลัม(Lปu mสpกyินSkin Disease) เรียบเรียงโดย พ.ท. โกสินทร์ ทองศรี 1. สาเหตแุ ละระบาดวทิ ยาโดยท่วั ไป เกิดจากเชือ้ ไวรัส Lumpy skin disease virus หรอื LSDV ซงึ่ จัดอยู่ ในวงศ์ Poxviridaeสกลุ Capripoxvi- rusโดย LSDV นั้นสามารถเจริญเติบโตและก่อโรคตามอวัยวะต่างที่มีเซลล์ เยื่อบุ (Epithelium cells) ซึ่งจัดเป็นโรค ประจาำ ถิ่นในประเทศแถบแอฟริกา มรี ะยะฟกั ตวั ประมาณ 4-14 วัน ในห้องทดลองและอย่างน้อย 2-5 สปั ดาห์ ในการตดิ เชื้อโดยธรรมชาติ ทั้งน้ีเพื่อความเข้าใจร่วมกันในเชิงการเคลื่อนย้ายสัตว์ระหว่างประเทศ องค์การสุขภาพสัตว์โลก (OIE) ไดก้ าำ หนดใหร้ ะยะฟกั ตวั ของโรคนเ้ี ทา่ กบั 28 วนั ไวรสั ชนดิ นก้ี อ่ โรคในโค และกระบอื รวมถงึ ยรี าฟ มอี ตั ราการปว่ ย 5 – 45% และอตั ราการตายนอ้ ยกว่า 10% โดย โรคน้ีไม่ไดจ้ ดั วา่ เปน็ โรคตดิ ต่อระหวา่ งสตั วแ์ ละคน 2. ประวตั กิ ารระบาดในโลก ปัจจุบันพบการระบาดของโรคลัมปี สกิน ในหลายประเทศของภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชน บังกลาเทศ (2562) สาธารณรัฐอินเดีย (2562) สาธารณรัฐ ประชาชนจีน (2562) เกาะไต้หวัน (2563) และ สหพันธ์ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยเนปาล (2563) สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม (2564) สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมา (2564) ราชอาณาจกั รไทย (2564) ราชอาณาจักรกมั พชู า (2564) และสหพนั ธรัฐมาเลเซยี (2564) วารสารการสตั ว 41 ปที่ 38 ฉบับที่ 1
การระบาดของโรคในประเทศไทย ขอ้ มูลจาก สมาคมสตั วแพทยผ์ ู้ควบคุมฟาร์มสตั ว์เคีย้ วเอ้อื ง (TRVA) 3. อาการ สัตว์ท่ีติดโรคอาจจะมีไข้อุณหภูมิสูงได้ถึง 41 องศาเซลเซียส ปริมาณน�้ำนมลดอย่างเห็นได้ชัดในโคนม ซึม เบอื่ อาหาร ซบู ผอม เยอื่ จมกู อกั เสบ เยอื่ ตาขาวอกั เสบ มปี รมิ าณนำ้� ลายมากกวา่ ปกติ ตอ่ มนำ�้ เหลอื งบวมโต เกดิ ตมุ่ บรเิ วณ ผิวหนงั บรเิ วณหวั คอ ขา เตา้ นม อวยั วะเพศ ภายใน 48 ชม. หลงั จากแสดงอาการปว่ ย โดยตมุ่ มีลักษณะแขง็ กลม นูนขึน้ จากผวิ หนงั โดยรอบ ซงึ่ ตมุ่ นนู ทม่ี ขี นาดใหญอ่ าจจะ กลายเปน็ เนอื้ ตาย มแี ผลเปน็ เกดิ ขนึ้ และคงอยเู่ ปน็ เวลาหลายเดอื น สว่ น ตมุ่ นนู ขนาดเลก็ สามารถหายไดเ้ รว็ กวา่ สามารถพบตมุ่ นำ้� หรอื แผลจากการแตกของตมุ่ นำ้� ไดใ้ นบรเิ วณเยอื่ เมอื กในชอ่ งปาก ทางเดินอาหาร หลอดลม และ ปอดได้ อาจพบการบวมน้�ำในบริเวณส่วนเหนียงและท้องของตัวสัตว์ ซึ่งจะส่งผลให้สัตว์ ไม่อยากเคล่ือนไหว ในพ่อพนั ธุส์ ง่ ผลใหเ้ กิดการเป็นหมันชั่วคราว หรือถาวรได้ ส�ำหรับแมพ่ นั ธ์ุอาจจะส่งผลใหแ้ ท้งและเกดิ การกลับสดั ชา้ โคทแ่ี สดงอาการป่วยความสมบูรณพ์ นั ธุ์ และ คณุ ค่าทางเศรฐกจิ ลดลง ระยะท่ี 1 โค กระบอื จะซมึ ไม่กินอาหาร มีไข้ อาจมนี �ำ้ ตาและน�้ำมกู ในลูกสัตว์ โดยพบในระยะเวลา 1-2 วันแรก หรอื อาจพร้อมกบั การมีตมุ่ ตามผวิ หนงั แตห่ ลายรายจะไมพ่ บอาการชว่ งน้ี ระยะท่ี 2 มีต่มุ ทีผ่ วิ หนงั โค กระบอื จะมตี ่อมนำ้� เหลืองใตผ้ ิวหนงั บวม มตี มุ่ แข็งนนู คล้ายก้อนฝี ขนาดไม่เท่ากนั ทผ่ี วิ หนงั บางกอ้ นลกึ ถงึ กลา้ มเนอ้ื อาจมกี ารบวมนำ�้ ทเี่ หนยี ง ลกู สตั วจ์ ะแสดงอาการรนุ แรง ถา้ มอี าการแทรกซอ้ นในระบบ ทางเดินหายใจจะท�ำใหล้ กู สัตวม์ ีอัตราการตายสงู ข้นึ 42 วารสารการสัตว์ ปีท่ี 38 ฉบับที่ 1
ระยะท่ี 3 ตมุ่ ทผ่ี วิ หนงั แตก โดยมนี าำ้ เหลอื งซมึ ออกมาจากขอบตมุ่ สะเกก็ หนา เมอื่ ตมุ่ หลดุ ออกจะเปน็ แผลหลมุ ลกึ โดยตุ่มใหญจ่ ะหลุดออกช้ากว่าตมุ่ เลก็ ภาพ 1-3 จาก แนวทางการรกั ษาโรคลมั ปี สกนิ กรมปศสุ ัตว์ แนวทางการรกั ษา เนอื่ งจากโรคลมั ปี สกนิ เปน็ โรคทเี่ กดิ จากการตดิ เชอ้ื ไวรสั จงึ ไมม่ ี ยารกั ษาเพอื่ ฆา่ เชอ้ื ไวรสั โดยตรง แตจ่ ะเปน็ การ รกั ษาตามอาการ และการบำารงุ รา่ งกายให้สัตวม์ ีสขุ ภาพแขง็ แรง โดยเน้นวธิ กี ารป้องกนั การติดเชื้อแบคทีเรยี แทรกซอ้ นใน อวัยวะที่มีเซลลเ์ นือ้ เย่อื บผุ ิว (Epithelial cell) เชน่ บาดแผลทีผ่ ิวหนัง และระบบทางเดนิ หายใจ เปน็ สาำ คญั ซง่ึ การรกั ษา จดั เปน็ ศาสตรแ์ ละศลิ ปแ์ ละขน้ึ อยู่กับเวชภณั ฑท์ ่มี ี โดยสรปุ แนวทางการรักษามดี งั นี้ 1. ระยะที่ 1 มไี ข้ - ยาต้านการอักเสบชนดิ ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-steroidal Anti-inflammatory drugs; NSAIDs) ทเี่ น้นฤทธล์ิ ดไข้ เชน่ Dipyrone หรอื Tolfenamic acid หรือ Flunixin meglumine - ให้วติ ามินเพือ่ บำารุงให้สตั ว์แขง็ แรง โดยเฉพาะเป้าหมายทีเ่ ซลลเ์ นื้อเยื่อบุผวิ เชน่ วติ ามนิ AD3E แบบฉีดหรือ พจิ ารณาให้วติ ามินและแร่ธาตุแบบกิน 2. ระยะที่ 2 มีตุ่มทีผ่ วิ หนัง - ให้ยากลุ่ม NSAIDs ทีเ่ นน้ ฤทธิล์ ดการอกั เสบ เช่น Tolfenamic acid หรอื Flunixin meglumine และอาจ พิจารณาให้ ยาปฎชิ ีวนะ ร่วมในการรักษากรณที ล่ี ูกสัตวท์ ่แี สดงอาการทางเดินหายใจ วารสารการสตั ว 43 ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
- ให้วิตามินเพ่ือบ�ำรุงให้สัตว์แข็งแรง โดยเฉพาะอวัยวะเป้าหมายท่ีมีเซลล์เนื้อเยื่อบุผิว เช่น วิตามิน AD3E แบบฉดี หรอื พจิ ารณาใหว้ ติ ามนิ และแรธ่ าตแุ บบกนิ (กรณลี กู โค หรอื โคทม่ี อี าการทางเดนิ หายใจ บวมทล่ี �ำคอ หายใจล�ำบาก และมีลักษณะ บ่งชี้ว่ามีการติดเช้ือแบคทีเรียแทรกซ้อนอาจพิจารณาเลือกใช้ยาปฏิชีวนะท่ีออกฤทธิ์ได้ดีในระบบทางเดิน หายใจ เช่น ยาปฏชิ ีวนะกลุ่ม Cephalosporin) 3. ระยะที่ 3 ตุ่มที่ผวิ หนงั แตก - ใหย้ าปฏชิ ีวนะท่ีออกฤทธิก์ ว้างและออกฤทธไิ์ ดด้ ที ีผ่ ิวหนงั เช่น กลมุ่ Penicillin - ยาฆา่ เช้ือเฉพาะทีแ่ ละยาป้องกันแมลงวนั ตอม วางไขท่ ่แี ผล เช่น การใช้ Gentian violet รว่ มกับ ยาผงโรย แผลป้องกนั แมลงวนั หรือยาสมนุ ไพรทากีบ - ใหย้ ากลมุ่ NSAIDs ทเี่ นน้ ฤทธล์ิ ดการอกั เสบ เชน่ Tolfenamic acid หรอื Flunixin meglumine กรณที ล่ี กู สตั ว์ มีอาการทางเดินหายใจ อาจพิจารณาให้ยาลดการอกั เสบ Flunixin meglumine (เพอื่ ชว่ ยลดผลกระทบจาก endotoxin จากการตดิ เชอื้ แบคทีเรีย) - ใหว้ ติ ามนิ เพื่อบ�ำรุงใหส้ ัตวแ์ ข็งแรง โดยเฉพาะอวัยวะเปา้ หมายที่มเี ซลลเ์ ยอื่ บุ เช่น AD3E (กรณลี กู โค หรือโค ท่ีมอี าการทางเดนิ หายใจ บวมท่ีคอ หายใจล�ำบาก และมลี ักษณะบง่ ชี้ วา่ มีการติดเชอื้ แบคทีเรียแทรกซ้อน อาจพจิ ารณา เลือก ใช้ยาปฏิชีวนะทีอ่ อกฤทธ์ไิ ดด้ ใี นระบบทางเดินหายใจ เช่น Cephalosporin ) 4. ระยะท่ี 4 แผลเรม่ิ หาย - ยาฆา่ เชื้อเฉพาะท่ีและยาป้องกนั แมลงวันตอมวางไขท่ ี่บริเวณแผล เชน่ การใช้ Gentian violet รว่ มกบั ยาผง โรยแผลปอ้ งกนั แมลงวนั หรือยาสมนุ ไพรทากีบ - ใหว้ ติ ามนิ AD3E และกรณีแม่พนั ธท์ุ ใ่ี กล้หายแล้วให้แรธ่ าตุซลี ีเนยี มเพอื่ ชว่ ยเสรมิ สุขภาพ ของระบบสบื พันธ์ุ และการท้างานของเมด็ เลอื ดขาว หมายเหตุ : การรกั ษาให้ พงึ ระวงั ผลขา้ งเคยี งและฤทธไิ์ มพ่ งึ ประสงคข์ องยาแตล่ ะชนดิ โดยเฉพาะยากลมุ่ NSAIDs การใชต้ ดิ ตอ่ กนั นานๆ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ความระคายเคอื งในทางเดนิ อาหาร และเปน็ อนั ตรายตอ่ ตบั และไต รวมทง้ั ขอ้ จา้ กดั การใช้ Tolfenamic acid ในสัตว์อายุน้อย และไม่ควรใช้ในสัตว์ท้อง และให้มีการงดส่งนมหรือบริโภค ตามระยะ การตกค้าง ของยาในเอกสารก�ำกับยา 4. การตดิ ต่อ ช่องทางหลักของการติดเช้ือคือการมีแมลงดูดเลือดเป็นพาหะน�ำโรค ได้แก่ เห็บ แมลงวันดูดเลือด ยุง เป็นต้น ซึง่ แมลงพาหะเหลา่ นม้ี บี ทบาทเป็นลักษณะพาหะเชงิ กล (Mechanical Vector) ไม่มีการแบ่งตัวของเชื้อในพาหะดังกล่าว โดยการถา่ ยทอด เชอื้ ทตี่ ดิ อยทู่ สี่ ว่ นปากใหก้ บั โคกระบอื ในบรเิ วณเดยี วกนั โดยจากการศกึ ษาเพม่ิ เตมิ พบวา่ เชอ้ื ไวรสั สามารถ มีความคงทนในแมลงบางชนดิ ไดน้ าน ดงั น้ี - ยุง เชน่ Aedes Aegypti เป็นต้น ประมาณอย่างน้อย 6 - 8 วัน - Culex quinquefasciatus (ยุงร�ำคาญ), Culicoidesnubeculosus (ริน้ ) ประมาณ 8 วัน - Stomoxyscalcitrans (แมลงวนั คอก) ประมาณ 6 ชว่ั โมง นอกจาก นี้ ยงั สามารถพบเชอื้ ไวรสั ในกรณีที่แมลงส�ำรอกหรอื อจุ จาระออกมาได้ประมาณ 3 วนั ภายหลัง แมลงได้รับเชอ้ื -เห็บแขง็ (Ixodid ticks) Rhipicephalus appendiculatusและ Amblyommahebraeum สามารถพบ DNA ของไวรสั ประมาณ 9 – 14 หลังจากไดร้ บั เช้อื แต่ยังไม่พบหลักฐานวา่ สามารถเช้อื ดงั กลา่ วกอ่ โรคได้หรือไม่ 5. การแพร่กระจายของเช้ือไวรสั • วกิ ารตมุ่ ทบ่ี รเิ วณผิวหนังทีเ่ กดิ ขึ้นจากสัตว์เปน็ โรค สะเก็ดแผล สะเก็ดผวิ หนัง ซ่งึ จะมปี ริมาณเช้อื ไวรสั LSDV 44 วารสารการสัตว์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
ในปริมาณท่ีคอ่ นขา้ งมาก สามารถพบเชือ้ ไวรัสจากสว่ นน้ไี ด้ถึง 38 วันหลงั การติดเชอื้ และอาจจะพบได้ ยาวนานกวา่ นี้ • สามารถพบเชอ้ื ไวรัสไดใ้ นเลอื ด นำ�้ ลาย สง่ิ คดั หลัง่ จากตาและจมูก และน�ำ้ เช้ือ • ส�ำหรบั เชอ้ื ไวรสั ในนำ้� มกู และนำ�้ ลายนน้ั พบวา่ มปี รมิ าณคอ่ นขา้ งนอ้ ย โดยสามารถพบเชอื้ ไดใ้ นระยะเวลา ระหวา่ ง 12 – 18 วันภายหลงั การตดิ เชื้อ ซ่งึ จากการทดลองพบวา่ การตดิ เชื้อจากน้�ำมกู และนำ้� ลาย สามารถก่อโรคไดแ้ บบไมร่ ุนแรง • พบเชือ้ ไวรสั ในเลอื ดสตั ว์ท่ตี ิดเชอ้ื ได้ในบางช่วง โดยเฉล่ียจะพบได้ประมาณ 7-21 วันหลังตดิ เช้ือ แต่ อย่างไร ก็ตามจะพบเช้ือไวรัสได้ในปรมิ าณท่นี อ้ ยกวา่ จากตุม่ ท่เี กิดขึ้นบรเิ วณผิวหนัง • พ่อพนั ธ์สุ ามารถขบั เช้อื ไวรสั ผา่ นทางนำ้� เชื้อไดเ้ ปน็ ระยะเวลานาน สัตวส์ ามารถขบั ไวรสั ในน้ำ� เชอื้ ประมาณ 42 วันหลังจากติดเช้ือ โดยมีการศึกษาพบว่าวัคซีนชนิด Homologous vaccine (วัคซีนสายพันธุ์เดียวกับสายพันธุ์ท่ีมีการ ระบาดของโรคในพ้ืนท)ี่ สามารถช่วยป้องกนั การขบั เช้อื ผ่านทางนำ้� เชือ้ ได้ • มรี ายงานการเกดิ โรคพบการตดิ ตอ่ ผา่ นทางรก โดยหากพบการตดิ เชอ้ื ในแมช่ ว่ งปลายของการตง้ั ทอ้ ง (ประมาณ 7 เดือน) จะท�ำให้เกิดภาวะ Viremia ในแมส่ ตั วจ์ นมีโอกาสท�ำใหล้ ูกสัตวท์ ่ีเกิดมามีรอยโรคลมั ปี สกนิ ตามวัยวะต่างๆ และ มีความออ่ นแอ จนอาจตายในท่ีสดุ • สตั วท์ หี่ ายจากโรคแลว้ ไมพ่ บวา่ เปน็ Carrier ได้ แตส่ ตั วป์ ว่ ยทไี่ มแ่ สดงอาการ (ประมาณ 50% ของสตั วท์ ตี่ ดิ เชอ้ื ) ยงั สามารถแพรเ่ ช้ือได้เชน่ เดียวกับสัตว์ทีแ่ สดงอาการปว่ ย 6. ลกั ษณะภมู ิคมุ้ กนั ทเ่ี กิดขน้ึ • ภมู คิ มุ้ กนั ทเี่ กดิ จากการตดิ เชอ้ื สามารถตรวจพบไดเ้ มอื่ ตดิ เชอื้ ไปแลว้ ประมาณ 2 สปั ดาห์ โดยภมู คิ มุ้ กนั จะมรี ะดบั สูงสดุ ในช่วงระยะเวลาระหว่าง 3 – 4 สปั ดาหภ์ ายหลงั การตดิ เชอื้ ซึ่งถงึ แม้แอนติบอดีจ้ ะสามารถ จ�ำกัดการแพรก่ ระจาย ของเชื้อภายนอกเซลล์ได้ แต่เช้ือโดยส่วนใหญ่มักมีชีวิตอยู่ในเชลล์เป็นหลักแอนติบอดี้ดังกล่าวจึงไม่สามารถหยุดยั้งการ เพ่ิมจ�ำนวนของเชอื้ ภายในเซลลไ์ ด้ ดังนัน้ ภูมิคุม้ กนั แบบ Cellmediated immunity (กลไกการท�ำลายเชื้อโรคดว้ ยเซลล)์ จึงมคี วามส�ำคญั ต่อการควบคุมการตดิ เช้อื รา่ งกายสัตวไ์ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ • เม่ือสัตวไ์ ด้รับวัคซนี หรือหายจากโรคแล้วอาจตรวจไมพ่ บภูมิคมุ้ แต่มีความสามารถในการป้องกันโรคได้ ดงั นน้ั ในกรณีของโรคลัมปี สกิน ระดบั ภมู คิ มุ้ กนั ไม่สามารถเป็นตวั ชว้ี ดั ความสามารถในการปอ้ งกันโรคได้ ซึ่งกรณกี ารตดิ เชอื้ โดย ธรรมชาตินน้ั ยงั คงเชอ่ื กนั วา่ สัตว์จะมีภมู ิค้มุ กันต่อไปไดต้ ลอดชีวติ แตท่ ั้งนีอ้ าจตอ้ งมี การศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ต่อไป • Maternal immunity มีรายงานว่าจะลดลงหลงั จากลกู สัตวไ์ ด้รับนำ้� นมเหลอื งประมาณ 3 เดือนเป็นต้นไป 7. การป้องกนั โรค และควบคุมโรค • การใชว้ คั ซนี เชอื้ เปน็ ส�ำหรบั ปอ้ งกนั โรคซงึ่ ขณะน้ี มวี คั ซนี ทน่ี �ำเขา้ โดยถกู ตอ้ งตามกฎหมายและตรงสายพนั ธข์ุ อง โรคท่รี ะบาดในประเทศโดยกรมปศสุ ัตว์ ก�ำลงั ด�ำเนนิ การฉดี ให้กับโค กระบอื ของเกษตรกร โดยภมู คิ ุ้มกนั จะสงู พอปอ้ งกัน โรคได้ใน 14 วัน ภาพ วคั ซีน ลัมปี สกนิ ขนาดขวดละ 100 โดส ของกรมปศุสัตว์ วารสารการสตั ว์ 45 ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
ภาพและตารางแสดงพื้นท่ี จงั หวัดทเ่ี กิดโรคและจงั หวดั ที่อยูใ่ นรศั มี 50 กโิ ลเมตรจากจุดเกดิ โรค • การด�ำเนนิ การควบคมุ ควรด�ำเนนิ งานควบคกู่ นั ระหวา่ งการควบคมุ แมลงพาหะ การเคลอ่ื นยา้ ยสตั ว์ การคดั ทง้ิ และการฉีดวัคซีนเพ่ือการควบคุมโรค หากด�ำเนินการเพียงการควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์และการคัดท้ิงสัตว์ป่วย เมื่อ เปรียบเทียบแล้วพบว่าหากไม่มีการฉีดวัคซีนร่วมด้วย ประสิทธิภาพการควบคุมโรค อาจไม่มากเพียงพอเมื่อสังเกตจาก การควบคุมโรคในประเทศตา่ งๆ ทีเ่ คยมีการระบาด 8. การด�ำเนนิ มาตรการเฝา้ ระวังและเวชกรรมปอ้ งกนั โรค ลมั ปี สกิน ในโคกระบือของ กรมการสัตว์ทหารบก 8.1 เมื่อวันท่ี 23 เม.ย. 64 โรงพยาบาลสัตว์ฯได้รับแจ้งจาก ปศุสัตว์จังหวัดกาญจนบุรีถึงสถานการณ์ โรค โรคลัมปี สกิน (Lumpy Skin Disease) ในโค ซ่ึงมีการระบาดมายังพ้ืนท่ีจังหวัดกาญจนบุรี โดย กสษ.1 กส.ทบ. ไดอ้ อกมาตรการเพื่อ ป้องกันและเฝา้ ระวังโรคดังนี้ 8.1.1 ผสบ.กสษ.1 กส.ทบ. มีมาตรการปอ้ งกนั โรค โดย การพน่ ยาฆา่ แมลงลดพาหะของโรค ปอ้ งกนั ไมใ่ หโ้ คของ ประชาชนเข้ามาเลี้ยงรวมกับโคของหน่วย รวมถึงแจ้ง กส.ทบ.เพ่ือชลอการส่งมอบโคให้กับ นขต.ทบ. เนื่องจาก จังหวัด กาญจนบรุ ี ได้ประกาศเปน็ พืน้ ทเี่ ฝา้ ระวังโรคฯ เมอ่ื วนั ที่ 24 พ.ค. 64 46 วารสารการสัตว์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1
8.1.2 โรงพยาบาลสัตว์ฯ มีมาตรการป้องกัน และ เฝ้าระวังโรค โดย จัดชุดตรวจสุขภาพ ค�ำวัคซีนปากและ เทา้ เปือ่ ย เพ่ือป้องการติดโรคหลายชนดิ ฉีดยาบ�ำรุง ทดลองฉดี สารกระตุ้นภูมิค้มุ กนั ( Infervac®) ให้โคปลดเพอ่ื ทดสอบ ประสทิ ธภิ าพในการเสรมิ ภมู คิ มุ้ กนั และความปลอดภยั ทกุ สปั ดาห์ ผล โคไมม่ อี าการผดิ ปกติ สขุ ภาพดขี นึ้ คา่ โลหติ วทิ ยาของ โคกลุ่มดังกล่าว มีความสมบูรณ์ขึ้นมากกว่าก่อนทดลองและ สุ่มเก็บตัวอย่างเลือดจากโคต้องสงสัย ส่งตรวจโรคโรคลัมปี สกนิ (Lumpy Skin Disease) ไปยงั สถาบนั สขุ ภาพสตั วแ์ หง่ ชาติ กรมปศสุ ตั ว์ ผลการตรวจ จ�ำนวน 2 ครง้ั ไมพ่ บการตดิ เชอื้ ภาพ ผลการตรวจหาเชอ้ื ลมั ปี สกนิ ตวั อยา่ งเลอื ดโค ของ กสษ.1 กส.ทบ. ผล ( - ) ทกุ ตัวอยา่ ง 8.2 เม่ือวันที่ 24 มิ.ย. 64 โรงพยาบาลสัตว์ฯ ได้ประสานงานกับปศุสัตว์จังหวัดกาญจนบุรี ตาม โดยได้รับ แจง้ ใหร้ บั วคั ซนี โรคลมั ปี สกนิ (Lumpy Skin Disease) และตรวจสุขภาพโคท่วั ไปก่อนท�ำวัคซีนใน วนั ท่ี 28 ม.ิ ย. 64 ผลการตรวจสขุ ภาพ โคของหนว่ ยไม่มอี าการของโรค สุขภาพพร้อมในการท�ำวัคซี ภาพ ตารางแสดงจ�ำนวนวัคซีนท่ีไดร้ ับการสนบั สนุนจาก กรมปศุสตั ว์ 8.3 เมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 64 โรงพยาบาลสัตว์ฯ ผสบ.กสษ.1 ฯ ร่วมกับ ปศุสัตว์ จังหวัดกาญจนบุรี ท�ำวัคซีน โรคลัมปี สกิน (Lumpy Skin Disease) ตามมาตรการของกรมปศุสตั วด์ งั น้ี - ไม่ท�ำวคั ซีนในโคท่ตี ิดเช้ือ โรคลมั ปี สกิน (Lumpy Skin Disease ) - โคมีสขุ ภาพปกติ และ สามารถท�ำในโคต้ังทอ้ งได้ - ควรท�ำวัคซีนในโคอายมุ ากกว่า 6 เดือน ( โคหย่านมแล้ว) - วคั ซีนทีก่ รมปศสุ ัตวน์ �ำมาใช้ เปน็ แบบ วคั ซีนเชอื้ เปน็ ฉีดให้โคปีละ 1 คร้งั วารสารการสตั ว์ 47 ปีท่ี 38 ฉบับท่ี 1
โดย กสษ.1 กส.ทบ. ได้ดำาเนินการทำาวคั ซีน โรคลัมปี สกิน (Lumpy Skin Disease) ใหก้ บั โคของหนว่ ยดงั น้ี - คอกจามจรุ ี ( โคเพศเมีย โคเพศเมยี ตัง้ ทอ้ ง โคเพศเมยี เล้ียงลกู และ พ่อพนั ธ์ุ ) 118 ตัว - คอกวงั ยาง (โคเพศผโู้ ตเต็มวยั ) 58 ตวั รวม 176 ตวั จากทีไ่ ดร้ บั แบง่ มอบ 200 โดส โดยวคั ซีนทเ่ี หลือ ปศสุ ตั วจ์ งั หวดั กาญจนบุรี นำากลับไปฉดี ให้กบั เกษตรกรราย อ่นื ต่อไปในวนั น้นั ภาพ โรงพยาบาลสัตว์ฯ ผสบ.กสษ.1 ฯ ร่วมกบั ปศสุ ตั ว์ จังหวัดกาญจนบุรี ทำาวัคซีน โรคลัมปี สกนิ 8.4 ทำาการเก็บตัวอย่างเลือดและซีรั่ม เพ่ือขอความอนุเคราะห์ สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรมปศุสัตว์เพื่อ ตรวจโรค และ ภมู คิ ุ้มกัน จากการทำาวคั ซีน ดังนี้ - ก่อนทำาวคั ซนี จำานวน 14 ตวั อย่าง - หลงั ทาำ วคั ซนี 14 วัน จาำ นวน 14 ตวั อยา่ ง โดยใน 14 ตวั อย่างแบง่ เปน็ คอกจามจุรี 9 ตวั อย่าง และ คอก วังยาง 5 ตัวอย่าง 48 วารสารการสัตว ปที่ 38 ฉบับที่ 1
ภาพ การเก็บตวั อย่างเลือดและซรี ่มั เพือ่ ขอความอนเุ คราะห์ สถาบันสขุ ภาพสัตว์แห่งชาติ กรมปศสุ ัตว์เพื่อ ตรวจโรค และ ภมู ิคุม้ กัน จากการทำาวัคซีน 8.5 ฉีดสารกระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั จำานวน 40 ตวั เน้นทโี่ คอายนุ ้อย และ โคทรี่ า่ งกายอ่อนแอ โดย ฉดี ซาำ้ ครั้งท่ี 2 วนั หลงั จากฉดี เขม็ แรก หลังจากนนั้ ทกุ สัปดาห์ ในวัวโตฉดี 5 มลิ ลลิ ิตร ในววั เล็ก 2 มิลลิ ิตร เข้ากลา้ มเน้อื โดยกลไกการทาำ งาน ของ สารกระตุ้นภูมิคุ้มกนั ( Infervac®) จะกระตนุ้ Cellmediated immunity (ภูมิตา้ นทาน โดยเซลล์ ) และ humoral immunity (HI) คือภูมิต้านทานท่ีไม่ใช่เซลล์ (antibody) เพอื่ ลดการตดิ เชื้อเข้าสเู่ ซลล์ เน้อื เยือ่ ของโค รวมทง้ั เสริมสร้าง ภมู คิ ุ้มกันให้กบั โค วารสารการสัตว 49 ปท่ี 38 ฉบับที่ 1
ภาพ การฉดี สารกระตุ้นภมู ิคมุ้ กนั ในโค ของหนว่ ย( Infervac ®) 8.6 โรงพยาบาลสตั ว์ จดั ชดุ ตรวจสขุ ภาพและเฝา้ ระวงั ผลขา้ งเคยี งจากการทาำ วคั ซนี โรคลมั ปี สกนิ (Lumpy Skin Disease) ตามมาตรการของกรมปศุสตั ว์ เป็นระยะเวลา 7 วันไมพ่ บอาการขา้ งเคยี งรุนแรงจากการฉดี วัคซีน 50 วารสารการสัตว ปท่ี 38 ฉบับท่ี 1
Search