Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรม123

นวัตกรรม123

Published by Nay papinwit, 2021-11-10 10:32:16

Description: นวัตกรรม123

Search

Read the Text Version

INNOVATION นวตั กรรม

ความหมายของนวตั กรรม “นวตั กรรม” หมายถงึ ความคิด การปฏบิ ตั ิ หรอื สิงประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ ทยี งั ไมเ่ คยมใี ชม้ ากอ่ น หรอื เปนการพัฒนาดดั แปลงมาจากของเดมิ ที มอี ยแู่ ลว้ ให้ทนั สมยั และใชไ้ ดผ้ ลดยี งิ ขนึ เมอื นํ า นวตั กรรมมาใชจ้ ะ ชว่ ยให้การทาํ งานนั นไดผ้ ล ดมี ปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู กวา่ เดมิ

ความหมายของนวตั กรรม ความหมายของนวตั กรรมในเชงิ เศรษฐศาสตรค์ ือ การนํ าแนวความคิดใหมห่ รอื การใชป้ ระโยชน์ จากสิง ทมี ี อยแู่ ลว้ มาใชใ้ นรูปแบบใหม่ เพือทาํ ให้เกดิ ประโยชน์ ทางเศรษฐกจิ หรอื กค็ ือ”การทา ในสิงที แตกตา่ งจากคน อนื โดยอาศัยการเปลยี นแปลงตา่ ง ๆ (Change) ทเี กดิ ขนึ รอบตวั เราให้กลายมาเปน โอกาส (Opportunity) และถา่ ยทอดไปส่แู นวความ คิดใหมท่ ที าํ ให้เกดิ ประโยชน์ ตอ่ ตนเองและสังคม”

ความหมายของนวตั กรรม นวตั กรรม มกั จะหมายถงึ สิงทไี ดน้ ํ า ความ เปลยี นแปลงใหมเ่ ขา้ มาใชไ้ ด้ ผลสําเรจ็ และแผก่ วา้ ง ออกไป จนกลายเปนการปฏบิ ตั อิ ยา่ งธรรมดาสามญั Hughes (1971) ให้ความหมายวา่ นวตั กรรม เปนการ นํ า วธิ กี ารใหม่ ๆ มาปฏบิ ตั หิ ลงั จากไดผ้ า่ นการ ทดลองหรอื ไดร้ บั การพัฒนามาแลว้ โดย แบง่ ออก เปน 3 ระยะ คือ

แบง่ ออกเปน 3 ระยะ ระยะที 1 มีการประดิษฐค์ ิดค้น คือ (Innovation) หรอื เปนการปรุงแต่งของ เก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะที 2 พัฒนาการ (Development) มี การทดลองในแหล่งทดลองจัดทําอย่ใู น ลักษณะของโครงการทดลองปฏิบัติ ก่อน(Pilot Project) ระยะที 3 การนา เอาไปปฏิบัติใน สถานการณ์ทวั ไปซงึ จัดว่าเปน นวัตกรรมขันสมบูรณ์

การพิจารณาวา่ สิงหนึ งสิง 1. สิงใหมท่ ยี งั ไมเ่ คยมผี ใู้ ดเคยทาํ มา ใดเปนนวตั กรรมนั น กอ่ นเลย Everette M. Rogers ไดช้ ี ให้เห็นวา่ ขนึ อยกู่ บั การรบั รู้ 2. สิงใหมท่ ใี นอดตี เคยทาํ มาแลว้ แม้ ของแตล่ ะบคุ คลหรอื กลมุ่ เลกิ ไปแตไ่ ดม้ กี ารรอื ฟนขนึ มาใหม่ บคุ คลวา่ เปนสิงใหมส่ ําหรบั เขาเนื องจากเห็นวา่ สามารถ เพราะเหมาะสม ชว่ ยแกป้ ญหาในสภาพ การณ์ใหมน่ ั นได้ กน็ ั บวา่ สิง 3. สิงใหมท่ มี กี ารพัฒนามาจากของ นั นเปน สิงใหมไ่ ดด้ งี นั น เกา่ ทมี อี ยเู่ ดมิ ความใหมข่ องนวตั กรรม ลอากั จษหณมะาดยงั ถตงึ อ่ สไปิงนใหี้ มๆ่ ใน 3

กระบวนการตดั สินใจนวตั กรรม (Innovation decision process) จงึ ไดเ้ สนอโครงสรา้ งใหม่ เรยี กวา่ กระบวนการตดั สินใจ นวตั กรรมซงึ ประกอบไปดว้ ย 4 ขนั ตอน คือ 1. ขัน้ ความรู 2. ขัน้ ชักชวน 3. ขัน้ ตัดสินใจ 4. ขัน้ ยืนยนั ทฤษฎนี ี เรมิ จากผทู้ มี ศี ักยภาพทจี ะรบั นวตั กรรมไดเ้ รยี นรูก้ บั นวตั กรรมนั น จน มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในนวตั กรรมอยา่ งดแี ละถกู ชกั นํ าโน้ มน้ าวให้เชอื ถอื จาก คุณงามความดขี องตวั นวตั กรรมนั น หลงั จากนั นมกี ารตดั สินใจวา่ จะรบั เอา นวตั กรรมนี มาใชเ้ มอื ตดั สินใจกล็ งมอื ปฏบิ ตั ิ

ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา นวตั กรรมการศึกษา (Educational Innovation ) หมาย ถงึ นวตั กรรมทจี ะชว่ ยให้การศึกษา และการเรยี นการ สอนมปี ระสิทธภิ าพดยี งิ ขนึ ผเู้ รยี นสามารถเกดิ การเรยี น รูอ้ ยา่ งรวดเรว็ มปี ระสิทธผิ ลสงู กวา่ เดมิ เกดิ แรงจงู ใจใน การเรยี นดว้ ยนวตั กรรมการศึกษา และประหยดั เวลาใน การเรยี นไดอ้ กี ดว้ ย

ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา จะเห็นไดว้ า่ นวตั กรรมการศึกษาเหลา่ นี มหี ลายหลากรูป แบบ อาทเิ ชน่ วสั ดอุ ุปกรณ์และวธิ กี ารเพือ นํ ามาใชใ้ น การเรยี นการสอน ซงึ กค็ ือการนํ าเทคโนโลยสี มยั ใหมม่ า ใชใ้ นวงการศึกษานั นเอง เมอื นํ านวตั กรรมการศึกษา เหลา่ นี มาใชแ้ ละเปนทยี อมรบั อยา่ งกวา้ งขวางแลว้ กจ็ ะ เรยี กวา่ เปน “เทคโนโลยี การศึกษา”

ความสาํ คัญของนวตั กรรมการศึกษา นวตั กรรมมคี วามสําคัญตอ่ การศึกษาหลาย ประการ ทงั นี เนื องจากในโลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ (Globalization) มกี ารเปลยี นแปลงในทกุ ดา้ นอยา่ ง รวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ความกา้ วหน้ าทงั ดา้ น เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ การศึกษาจงึ จําเปนตอ้ งมี การพัฒนาเปลยี นแปลงจากระบบการศึกษาทมี อี ยเู่ ดมิ เพือให้ทนั ตอ่ การเปลยี นแปลงของเทคโนโลยแี ละสภาพ สังคมทเี ปลยี นแปลงไป

ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา \"การจดั การศึกษาตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผเู้ รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ และถอื วา่ ผเู้ รยี นมี ความสําคัญทสี ดุ กระบวนการจดั การศึกษาตนเองไดแ้ ละถอื วา่ ผเู้ รยี นมคี วามสําคัญทสี ดุ นวตั กรรมทนี ํ ามาใช้ ทงั ทผี า่ นมาแลว้ และทจี ะมใี นอนาคตมหี ลาย ประเภทขนึ อยกู่ บั การประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมใน ดา้ นตา่ งๆ นวตั กรรม 5 ประเภท คือ

1.นวตั กรรมทางดา้ นหลักสตู ร นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สตู ร เปนการใชว้ ธิ กี ารใหมๆ่ ในการ พัฒนาหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มในทอ้ งถนิ และ ตอบสนองความตอ้ งการสอนบคุ คลให้มากขนึ การพัฒนาหลกั สตู รตามหลกั การและวธิ กี ารดงั กลา่ วตอ้ งอาศัย แนวคิดและวธิ กี ารใหมๆ่ ทเี ปนนวตั กรรมการศึกษาเขา้ มาชว่ ย เหลอื จดั การให้เปนไปในทศิ ทางทตี อ้ งการนวตั กรรมทางดา้ น หลกั สตู รในประเทศไทยไดแ้ กก่ ารพัฒนาหลกั สตู ร ดงั ตอ่ ไปนี

1.นวตั กรรมทางด้านหลักสตู ร การพฒั นาหลักสตู ร 1.หลกั สตู รบรู ณาการเปนการบรู ณาการส่วนประกอบของ หลกั สตู รเขา้ ดว้ ยกนั ทางดา้ นวทิ ยาการ ในสาขาตา่ งๆ การศึกษา ทางดา้ นจรยิ ธรรมและสังคม 2.หลกั สตู รรายบคุ คลเปนแนวทางในการพัฒนาหลกั สตู รเพือการ ศึกษาตามอตั ภาพเพือตอบสนองแนวความคิดในการจดั การ ศึกษารายบคุ คล ซงึ จะตอ้ งออกแบบระบบเพือรองรบั ความ กา้ วหน้ าของเทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ

1.นวตั กรรมทางด้านหลักสตู ร การพฒั นาหลักสตู ร 3. หลกั สตู รกจิ กรรมและประสบการณ์เปนหลกั สตู รทมี งุ่ เน้ น กระบวนการในการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ให้กบั ผเู้ รยี น เพือนํ า ไปส่คู วามสําเรจ็ เชน่ กจิ กรรมทสี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมสี ่วน รว่ มในบทเรยี น 4. หลกั สตู รทอ้ งถนิ เปนการพัฒนาหลกั สตู รทตี อ้ งการกระจาย การบรหิ ารจดั การออกส่ทู อง้ ถนิ เพือให้สอดคลอ้ งกบั ศิลป วฒั นธรรมสิงแวดลอ้ มและความเปนอยขู่ องประชาชน

2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน เปนการใชวธ้ รีิ ะบบในการปรบั ปรุงและคิดค้นพัฒนาวธิ สี อนแบบ ใหมๆ่ ทสี ามารถตอบสนองการเรยี นรายบคุ คลการสอนแบบผเู้ รยี นเปน ศนู ยกล์ างการเรยี นแบบมสี ่วนรว่ ม การเรยี นรูแ้ บบแกป้ ญหาการพัฒนา วธิ สี อนจําเปนตอ้ งอาศัยวธิ กี ารและเทคโนโลยใี หมๆ่ เขา้ มาจดั การและ สนั บสนนุ การเรยี นการสอน ตวั อยา่ ง นวตกั รรมทใี ชใ้ นการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ การสอนแบบศนู ยกา์ รเรยี น การใชก้ ระบวนการกลมุ่ สัมพันธก์ ารสอนแบบเรยี นรูร้ ว่ มกนั และการ เรยี นผา่ นเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ ต การวจยั ในชนั เรยี น

3. นวตั กรรมสอื การสอน เนื องจากมคี วามกา้ วหน้ าของเทคโนโลยคี อมพิวเตอรค์ อมพิวเตอร์ เครอื ขา่ ยและเทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาํ ให้นั กการศึกษาพยายามนํ า ศักยภาพของเทคโนโลยเหี ลา่ นี มาใชใ้ นการผลติ สือการเรยี นการ สอน ใหมๆ่ จํานวนมากมายเชน่ คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) มลั ตมิ เี ดยี (Multimedia) การประชมุ ทางไกล (Teleconference) ชดุ การสอน (Instructional Module) วดี ทิ ศั น์ แบบมปี ฎสิ ัมพันธ์ (Interactive Video

4. นวตั กรรมทางด้านการ ประเมนิ ผล เปนนวตั กรรมทใี ชเ้ ปนเครอื งมอื เพือการวดั ผลและประเมนิ ผลไดอ้ ยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพและทาํ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ รวมไปถงึ การวจิ ยั ทางการศึกษา การวจิ ยั สถาบนั ดว้ ยการประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าสนั บสนุ นการวดั ผล ประเมนิ ผลของสถานศึกษาครูอาจารยต์ วั อยา่ ง นวตั กรรม ทางดา้ นการประเมนิ ผล ไดแ้ ก่ การพัฒนาคลงั ขอ้ สอบ การลงทะเบยี นผา่ นทางเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ น็ ต การใชบ้ ตั รสมารท์ การด์ เพือการใชบ้ รกิ ารของสถาบนั ศึกษา การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการตดั เกรด

5.นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ เปนการใชน้ วตั กรรมทเี กยี วขอ้ งกบั การใชส้ ารสนเทศมาชว่ ยในการ บรหิ ารจดั การ เพือการ ตดั สินใจของผบู้ รหิ ารการศึกษาใหม่ ความ รวดเรว็ ทนั เหตกุ ารณ์และตอ่ การเปลยี นแปลงของโลก นวตั กรรมการศึกษาทนี ํ ามาใชท้ างดา้ นการบรหิ ารจะเกยี วขอ้ งกบั ระบบ การจดั การฐานขอม้ ลู ในหน่ วยงานสถานศึกษา เชน่ ฐานขอ้ มลู นั กเรยี น นั กศึกษา ฐานขอ้ มลู คณะอาจารยแ์ ละบคุ ลากร ในสถานศึกษา ดา้ นการ เงนิ บญั ชี พัสดแุ ละครุภณัฑ์ ฐานขอ้ มลู เหลา่ นี ตอ้ งการออกระบบที สมบรู ณ์มคี วามปลอดภยั ของขอ้ มลู สงู

สาเหตขุ องการเกิดนวตั กรรมการศึกษา บรบิ ทตา่ ง ๆ ในวงการศึกษาไดเ้ ปลยี นแปลงไป ทสี ําคัญ และ เกยี วขอ้ งมดี งั นี 1. การเพิมปรมิ าณของผเู้ รยี นในระดบั ชนั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา เปนไปอยา่ งรวดเรว็ ทาํ ให้นั กเทคโนโลยกาี รศึกษาตอ้ งหานวตกั รรมใหม่ ๆ มาใชเ้ พือให้สามารถสอนนั กเรยี นไดม้ ากขนึ 2. การเปลยี นแปลงของเทคโนโลยเี ปนไปอยา่ งรวดเรว็ การเรยี นการสอน จงึ ตอ้ งตอบสนองการเรยี นการสอนแบบใหมๆ่ ทชี ว่ ยให้ผเู้ รยี นสามารถ เรยี นรูไ้ ดร้ วดเรว็ และเรยี นรูไ้ ดม้ ากในเวลาจํากดั เน้ นการสอนกระบวนการ การเรยี นรูม้ ากกวา่ การสอนเฉพาะเน้ นเนื อหา 3. การเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นมแี นวโน้ ม ในการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองมากขนึ ตาม แนวปรชั ญาสมยั ใหมท่ ยี ดึ ผเู้ รยี นเปนศนู ยก์ ลาง นวตั กรรมการศึกษา สามารถชว่ ยตอบสนองการเรยี นรูต้ ามอตั ภาพ ตามความสามารถของแตล่ ะ คน เชน่ การใชค้ อมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน

สาเหตขุ องการเกิดนวตั กรรมการศึกษา 4. ความกา้ วหน้ าของเทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคโนโลยโี ทรคมนาคม มี ส่วนผลกั ดนั ให้มกี ารใชน้ วตั กรรมการศึกษาเพิมมากขนึ เชน่ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ทาํ ให้คอมพิวเตอรม์ ขี นาดเลก็ ลง แตม่ ปี ระสิทธภิ าพสงู ขนึ มากและ ราคาถกู เทคโนโลยเี ครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ น็ ต ทาํ ให้เกดิ การ สือสารไรพ้ รมแดน นั กเทคโนโลยกี ารศึกษาจงึ คิดค้นหาวธิ กี ารใหม่ ๆ ในการ ประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรเ์ ปนฐานในการเรยี นรูท้ เี รยี กวา่ \"Web- based learning\" ทาํ ให้สามารถเรยี นรูใ้ นทกุ ทที กุ เวลาสําหรบั ทกุ คน (Any where Any time for Everyone)

แผนภมู ิ 1. มกี ารเรยี กหา นวตั กรรมอยเู่ สมอ หลักการ เหมอื นกบั วา่ นวตกั รรมเปนยาครอบ แพร่ จกั รวาลทสี ามารถเยยี วยาอาการปวยของ กระจาย การศึกษาทงั มวลได้ นวตั กรรม 2. หลงั จากเรยี กหาไดไ้ มน่ าน ปญหา เพียงเลก็ น้ อยกถ็ กู นํ ามากลา่ วถงึ และใน ชว่ งนั นกม็ ใี ครสักคนหนึ่ งเสนอ นวตั กรรมเทคโนโลยเี ขา้ มาส่กู ารศึกษา และให้ความมนั ใจแกเ่ ราวา่ ความสําเรจ็ ในการแกป้ ญหาดว้ ยการใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยนี น้ อยอยแู่ ค่เออื ม

แผนภมู ิ 3. เมอื เกดิ ความบกพรอ่ งผดิ พลาดปรากฏออกมา หลักการ อยา่ งชดั เจน กพ็ บวา่ นวตั กรรมนั น ไมไ่ ดช้ ว่ ยแกไ้ ข แพร่ ปญหาอะไรไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ นวตั กรรมเปนเพียงการ กระจาย เลน่ ตลกของสืออยา่ งไมม่ วี นั จบสิน นวตั กรรม 4. วงจรของปญหาทาํ นองนี มกั จะเกดิ ขนึ อกี พรอ้ ม นั นกม็ กี ารเสนอนวตั กรรมทางเทคโนโลยแี บบ แปลกใหมต่ อ่ ไป การใชค้ อมพิวเตอรเ์ พือการศึกษาในปจจบุ นั เปน ไปอยา่ งกวา้ งขวาง ในวงการศึกษาคอมพิวเตอร์ มใิ ชเ่ พียงแตเ่ ปนสิงอํานวยความสะดวกใน สํานั กงานเทา่ นั น แตย่ งั ใชเ้ ปนสือหรอื เปนเครอื ง มอื สรา้ งสือไดอ้ ยา่ งสวยงามเหมอื นจรงิ และ รวดเรว็ มากกวา่

ปจจยั สาํ คัญทีทําให้เกิดนวตั กรรม ปจจยั ทมี อี ทิ ธพิ ลส่งผลตอ่ การเกดิ นวัตกรรมทางการศึกษา เกดิ จากความคิดพืนฐานของนั กเทคโนโลยกี ารศึกษาใน 4 เรอื ง สําคัญดงั นี 1.ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล(Individual Different) การจดั การ ศึกษาของไทยไดใ้ ห้ความสําคัญในเรอื งความแตกต่างระหว่างบุคคล เอาไวอ้ ยา่ งชดั เจนซงึ จะเห็นไดจ้ ากแผนการศึกษาของชาติให้มงุ่ จดั การศึกษาตามความถนั ดความสนใจ และความสามารถ ของ แตล่ ะคนเปนเกณฑต์ วั อยา่ งทเี ห็นได้ชดั เจน

ปจจยั สาํ คัญทีทําให้เกิดนวตั กรรม นวตั กรรมทเี กดิ ขนึ เพือสนองแนวความคิดพืนฐานนี เชน่ -การเรยี นแบบไมแ่ บง่ ชนั (Non-Graded School) -แบบเรยี นสําเรจ็ รูป (Programmed Text Book) - เครอื งสอน (Teaching Machine) -การสอนเปนคณะ (Team Teaching) -การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) - เครอื งคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)

ปจจยั สาํ คัญทีทําให้เกิดนวตั กรรม 2. ความพรอ้ ม (Readiness) เดมิ ทเี ชอื กนั วา่ เดก็ จะเรมิ เรยี นไดก้ ็ ตอ้ งมคี วามพรอ้ มซงึ เปนพัฒนาการตามธรรมชาตแิ ตใ่ นปจจบุ นั การวจิ ยั ทางดาน้ จติ วทิ ยาการเรยี นรูช้ ใี ห้เห็นวา่ ความพรอ้ มในการ เรยี นเปนสิงทสี รา้ งขนึ ไดถ้ า้ หากสามารถจดั บทเรยี น ให้พอเหมาะ กบั ระดบั ความสามารถของเดก็ แตล่ ะคนพืนฐานนี ไดแ้ กศ่ นู ยก์ าร เรยี น การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น นวตั กรรมทสี นองแนวความคิด พืนฐานเชน่ -ศนู ยก์ ารเรยี น (Learning Center) 12 -การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School) -การปรบั ปรุงการสอนสามชนั (Instructional Development in 3Phases)

ปจจยั สาํ คัญทีทําให้เกิดนวตั กรรม 3. การใชเ้ วลาเพือการศึกษาแตเ่ ดมิ มาการจดั เวลาเพือการ สอน หรอื ตารางสอนมกั จะจดั โดยอาศัยความสะดวกเปน เกณฑเ์ ชน่ ถอื หน่ วยเวลาเปนชวั โมงเทา่ กนั ทกุ วชิ า ทกุ วนั นอกจากนั น กย็ งั จดั เเวลาเรยี นเอาไวแ้ น่ นอนเปนภาคเรยี น นวตั กรรมทสี นองแนวความคิดพืนฐานดา้ นนี เชน่ -การจดั ตารางสอนแบบยดื หยนุ่ (Flexible Scheduling) - มหาวทิ ยาลยั เปด (Open University) -แบบเรยี นสําเรจ็ รูป (Programmed Text Book) -การเรยี นทางไปรษณีย์

ปจจยั สาํ คัญทีทําให้เกิดนวตั กรรม 4. ประสิทธภิ าพในการเรยี น การขยายตวั ทางวชิ าการและการ เปลยี นแปลงของสังคม ทาํ ให้มสี ิงตา่ งๆ ทคี นจะตอง้ เรยี นรู้ เพิมขนึ มากแตก่ ารจดั ระบบการศึกษาในปจจบุ นั ยงั ไมม่ ี ประสิทธภิ าพเพียงพอจงึ จําเปนตอ้ งแสวงหาวธกีิ ารใหมท่ มี ี ประสิทธภิ าพสงู ขนึ ทงั ในดา้ นปจจยเั กยี วกบั ตวั ผเู้ รยี น และ ปจจยั ภายนอกนวตั กรรมในดา้ นนี ทเี กดิ ขนึ เชน่ - มหาวทิ ยาลยั เปด -การเรยี นทางวทิ ยุ การเรยี นทางโทรทศั น์ -การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสําเรจ็ รูป - ชดุ การเรยี น

สมาชิกกลมุ่ 1.นางสาวธนพร เพ็ชรบญุ มี 63031030135 2.นายนันทวฒั น์ มาเอยี ม 63031030145 3.นางสาวกฤตกิ านต์ ตะ๊ ชา 63031030147 4.นายปภวิ ทิ ย์ พรมสอน 63031030148 5.นางสาวสวุ รรณี สรอ้ ยพรมา 63031030153


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook