“เล่าเร่ือง...เมืองท่าบ่อ” จงั หวัดหนองคาย สอ่ื สร้างสรรค์ให้คนไทยรักการอ่าน โดย หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอท่าบ่อ หนงั สอื เลม่ นี้เปน็ ลิขสทิ ธขิ์ องหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทา่ บอ่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอทา่ บ่อ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั หนองคาย พทุ ธศักราช 2563
คำนำ อำเภอท่ำบ่อ เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกของจังหวัดหนองคำย ซึ่ง มีอำณำเขตทำงทิศเหนือและทิศตะวันออกติดต่อกับนครหลวงเวียงจันทร์ สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว มีประชำกรมำกเป็นอันดับที่สำมของ จังหวัดหนองคำย อำเภอท่ำบ่อ มีประวัติควำมเป็นมำที่ยำวนำนกว่ำร้อยปี เป็นบ่อเกิดแห่ง วฒั นธรรมขนบธรรมเนียมและประเพณอี ันดงี ำมทีส่ ืบทอดมำจนถึงปัจจุบนั กำรจดั ทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) “เล่ำเรื่อง...เมืองท่ำบ่อ จังหวัด หนองคำย” เป็นกำรรวบรวมข้อมูลพื้นฐำนด้ำนประวัติควำมเป็นมำและข้อมูล ทำงกำยภำพของ 10 ตำบลในอำเภอท่ำบ่อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแหล่ง ศึกษำค้นคว้ำใหแ้ ก่ผู้ท่สี นใจทุกเพศทกุ วัยอย่ำงไม่จำกดั เวลำและสถำนที่ ในกำรนี้ผู้จัดทำหวังว่ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เล่มนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ทีม่ คี วำมสนใจในกำรศึกษำข้อมูลต่อไป หอ้ งสมุดประชำชนอำเภอทำ่ บ่อ จงั หวัดหนองคำย กมุ ภำพันธ์ 2563
อำเภอทำ่ บ่อ ท่มี ำของชื่ออำเภอ เดิมชำวบ้ำนโคกคอน บ้ำนว่ำน และบ้ำนนำข่ำ ซึ่งมีอำชีพต้มเกลือสินเธำว์ได้นำ เกลือ มำขำยบริเวณวดั ท่ำคกเรือ ริมฝั่งแม่น้ำโขง ต่อมำจึงเรียกบริเวณนี้วำ่ \"บ้ำนท่ำบ่อเกลือ\" ประวัติควำมเป็นมำ ในต้นรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ได้เกิดกบฏไท่ผิงขึ้นใน ประเทศจีน แต่ถูกตีแตกพ่ำยและหนีลงใต้จนล่วงเข้ำมำในพระรำชอำณำเขต ชำว ภำคเหนือและภำคอีสำนเรียกชำวจีนพวกนี้ว่ำ \"ฮ่อ\" พวกฮ่อ แบ่งออกเป็น 4 กองทัพ คือ ฮ่อธงแดง ฮ่อธงเหลือง ฮ่อธงดำ และฮ่อธงลำย ปล้นสะดมทุกอย่ำงที่ขวำงหน้ำ ปรำกฏ ตำมนิรำศหนองคำยว่ำ จะเริม่ เรื่องเมืองหนองคายจดหมายเหตุ ในแดนเขตเขื่อนคุ้มกรุงสยาม บังเกิดพวกอ้ายฮ่อมาก่อความ ทาสงครามกับลาวพวกชาวเวียง กำรรุกรำนของพวกฮ่อทำให้พระเจ้ำประเทศรำชหลวงพระบำง พระเจ้ำประเทศ รำชหนองคำย และผู้ร้ังพระเจ้ำประเทศรำชเวียงจันทน์เหลือกำลังรับ สมุหนำยก มหำดไทยส่งกำลังพลมำช่วยถึง 3 คร้ังก็เพียงแต่ยันศึกเท่ำนั้น ในปี พ.ศ. 2428 พระองค์ จึงตัดสินพระทัยเผด็จศึกฮ่อให้เด็ดขำด โดยโปรดเกล้ำฯ ให้พลตรีกรมหลวงประจักษ์ ศิลปำคมซึ่งมีพระยศเป็นพระเจ้ำน้องยำเธอในขณะนั้นเป็นแม่ทัพใหญ่ฝ่ำยใต้ ณ เมือง หนองคำย คุมทหำรหัดใหม่จำกยุโรป 8 กรม ตีขนำบร่วมกับกองทัพฝ่ำยเหนือฯ เมือง หลวงพระบำง จนประสบชยั ชนะต่อพวกฮ่อท้ังปวง และมีอนุสำวรีย์ปรำบฮ่อ เด่นเป็นสง่ำ ประกำศพระบรมเดชำนภุ ำพคร้ังนี้
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2435 เริ่มมีกำรปรับปรุงกำรปกครองหัวเมือง ทรงพระ กรณุ ำธิคุณใหเ้ มืองหนองคำยเปน็ เมืองเอกใน 36 เมือง และเพื่อยืนยันพระรำชสิทธิธรรม แทนที่อำณำจักรล้ำนช้ำงเวียงจันทน์เดิม ซึ่งไปถึงเมืองพวน แขวงเชียงขวำง ติดกับ เวียดนำมของฝรั่งเศส จึงไดพ้ ระรำชทำนชือ่ บริเวณนี้ว่ำ \"มณฑลลำวพวน\" โปรดเกล้ำฯ ให้ พลตรีกรมหลวงประจักษ์ศิลปำคมเป็น \"ข้ำหลวงใหญ่ผู้สำเร็จรำชกำรต่ำงพระองค์ มณฑลลำวพวน\" มีศำลำว่ำกำรมณฑล ณ เมืองหนองคำย และปรับพระปทุมเทวำภิบำล ที่ 2 เจ้ำประเทศรำชหนองคำยเป็นพระยำวุฒำธิคุณ ที่ปรึกษำข้ำหลวงใหญ่ ซึ่งสำเร็จ รำชกำรท้ังกำรปกครอง กำรทหำร และกำรศำลท้ังปวง ในปี พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) อภิมหำอำนำจคู่กรณีของสยำมต้องเปล่ียนยุทธวิธีใน กำรลำ่ อำณำนิคมใหม่ โดยส่งกองเรือรบปิดอ่ำวไทยและรุกล้ำเข้ำมำถึงกรุงเทพมหำนคร สยำมจึงต้องยอมเสียดินแดนฝั่งซ้ำยแม่น้ำโขงไป เสด็จในกรมฯ ต้องถอนกำลังทหำรให้ พ้น 25 กิโลเมตรจำกแม่น้ำโขง ปักหลักสู้ศึกอยู่ที่บ้ำนเดื่อหมำกแข้ง เมืองหนองคำย (แยกเป็นอำเภอเมืองอุดรธำนี จังหวัดอุดรธำนีปัจจุบัน) ทั้งทรงมีประกำศิตให้หน่วย รำชกำรทุกหน่วยต้องสร้ำงหันหน้ำสู่แม่น้ำโขงหรือทิศเหนือเพื่อพร้อมที่จะยันศึกซึ่งถือ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติตรำบจนปัจจุบัน พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรง โทมนัสย่ิงกับกำรสูญเสียดินแดนฝั่งซ้ำยแม่น้ำโขงในครั้งนั้น ดังพระรำชนิพนธ์ฉันท์บท หนึง่ ว่ำ กลวั เปน็ ทวิราช บตริปอ้ งอยุธยา เสยี เมืองจึง่ นินทา บ่ละเว้นฤๅว่างวาย คิดใดจะเทีย่ งแท้ กบ็ ่พบซึ่งเงื่อนสาย สบหน้ามนุษยอ์ าย จึงจะอุดแลเลยสูญฯ
อย่ำงไรก็ตำม พสกนิกรที่อยู่ทำงฝั่งซ้ำย ซึ่งยังคงจงรักภักดีใต้เบื้องพระยุคลบำท ก็ได้พร้อมใจกันอพยพเทครัวมำอยู่ฝ่ังขวำเกือบทุกเมือง เช่น พระรำมฤทธิ (สอน ต้นตระกูลวิวัฒปทุม) เจ้ำเมืองท้ำว มำอยู่เมืองเลย พระศรีอัครฮำด (ทองดี ต้นตระกูล ศรีประเสริฐ) เจ้ำเมืองชนะสงครำมหรือสำนะคำ มำอยู่บ้ำนท่ำนำจันทร์และได้ยกเป็น เมืองเชยี งคำน เป็นต้น ซึ่งรวมท้ังพระกุประดิษฐบดี (สำล่ีหรือชำลี ต้นตระกูลกุประดิษฐ) เจ้ำเมืองเวียงจนั ทน์ บตุ รเขยของพระปทุมเทวำภิบำลเจ้ำประเทศรำชหนองคำย ได้ชักชวน ชำวเวียงจันทน์จำนวนมำกข้ำมลำน้ำโขงมำตั้งม่ันอยู่ ณ บ้ำนท่ำบ่อเกลือ ไม่ยอมเป็น ข้ำสองเจ้ำบ่ำวสองนำยเด็ดขำด เหตุกำรณ์คร้ังนั้นประดุจดังพระโอสถทิพย์ให้ทรงดำรง พระชนมำยุอยไู่ ด้ พระองค์จึงทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ยกบ้ำนท่ำบ่อเกลือเป็น เมืองท่าบ่อ เมื่อปี พ.ศ. 2438 มีพระกุประดิษฐ์บดีเป็นเจ้ำเมืองตลอดชีวิต เขตเดิมมี \"นำยเส้น\" (เป็น ตำแหน่งคล้ำยกับนำยอำเภอและกำนัน) รวม 6 เส้น มีบรรดำศักด์ิเป็นขุน เช่น ขุนท่ำบ่อ บำรุง นำยเส้นท่ำบ่อ และขุนวำรีรักษำ นำยเส้นน้ำโมง เป็นต้น จนกระท่ังเจ้ำเมืองท่ำบ่อ ถึงแก่อสัญกรรม จึงยุบเมืองท่ำบ่อลงเป็น อำเภอท่ำบ่อ และยุบนำยเส้นท่ำบ่อ น้ำโมง โพนสำ ลงเปน็ ตำบลและแยกเปน็ 10 ตำบลดังปจั จบุ ัน สว่ นอกี 3 เสน้ กไ็ ดร้ ับกำรยกฐำนะ และแยกออกไป คือ เส้นพำนพร้ำว เป็นอำเภอศรีเชียงใหม่ เส้นแก้งไก่ เป็นอำเภอสังคม เส้นบ้ำนผือ เป็นอำเภอบ้ำนผือ และถูกโอนไปขึ้นกับเมืองอุดรธำนี ซึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2538 กเ็ ปน็ ปีทีไ่ ดม้ ีกำรจดั ต้ังเมืองท่ำบ่อครบ 100 ปี และครบ 125 ปี ในปี พ.ศ. 2563 ***************************************
แหล่งข้อมลู อ้างอิง ท่ีทาการปกครองอาเภอท่าบ่อ เทศบาลเมอื งท่าบอ่ เทศบาลตาบลกองนาง เทศบาลตาบลโพนสา เทศบาลตาบลบ้านถอ่ น องคก์ ารบริหารส่วนตาบลท่าบอ่ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลน้าโมง องคก์ ารบริหารส่วนตาบลโพนสา องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหนองนาง องคก์ ารบริหารส่วนตาบลบา้ นเดื่อ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลบ้านว่าน องคก์ ารบริหารส่วนตาบลนาข่า องคก์ ารบริหารส่วนตาบลโคกคอน
คณะผจู้ ดั ทา ที่ปรกึ ษา ผ้อู านวยการ สานักงาน กศน. จงั หวดั หนองคาย 1. นายปณุ ณรตั น์ ศรที าพฒุ รองผอู้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย 2. นางสาวปาริชาติ ไชยสถิตย์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอท่าบอ่ 3. นางจามรี ภเู มฆ ผจู้ ดั ทา/รวบรวมขอ้ มูล นางสาววรณุ ยภุ า นาเกลือ บรรณารกั ษช์ านาญการ ผ้อู อกแบบ นางสาวชณิฎา รตั นแสงศรี ครู กศน.ตาบล
หนังสือเลม่ นี้จดั ทาและเผยแพรโ่ ดยห้องสมดุ ประชาชนอาเภอท่าบอ่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่าบ่อ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั หนองคาย พทุ ธศกั ราช 2563
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: