เรื่องที่ 4 กฎหมายดจิ ิทัล (Digital Law) หลกั สูตรความเขา้ ใจดิจิทัล (Digital Literacy) 1
กฎหมายประเทศไทยทเี่ กี่ยวขอ้ ง •พระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธิ์ พ.ศ.2537 •พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยธรุ กรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ.2544 •พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
3
4
5
6
7
Workshop 1 • เหยอื่ มนษุ ยก์ ลอ้ งและโซเช่ียล คลปิ รองเทา้ มรี ู ?? วิเคราะหส์ ถานการณ์ ท่ีเกิดขนึ้ ? เก่ียวขอ้ งกบั ยคุ ดจิ ติ อลยงั ไร ? มวี ธิ ีปอ้ งกนั อยา่ งไร? 8
พระราชบัญญตั ลิ ิขสทิ ธ์ิ พ.ศ.2537 •กฎหมายลขิ สทิ ธิ์ของประเทศไทยใหค้ วาม คมุ้ ครองแก่งานท่ีทาเสรจ็ แลว้ ทกุ งาน โดยไมจ่ าเป็นท่ีจะตอ้ งแสดงการสงวนลขิ สทิ ธิ์ หรอื ดาเนินการจด ทะเบียนลขิ สทิ ธิ์งานนนั้ เป็นการใหค้ วามคมุ้ ครองโดยอตั โนมตั ิ •โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ส่ือดิจติ อล บทความบนเว็บ เป็นงานอนั มลี ขิ สทิ ธิ์
การละเมิดลขิ สิทธ์ิ •ทาซา้ หรอื ดดั แปลง •เผยแพรต่ อ่ สาธารณชน •ใหเ้ ชา่ ตน้ ฉบบั หรอื สาเนางานดงั กลา่ ว
ข้อยกเว้นการละเมดิ ลิขสิทธิ์ (1) วจิ ยั หรอื ศกึ ษาโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ นั้ (2) ใชเ้ พ่อื ประโยชนข์ องเจา้ ของสาเนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ นั้ (3) ตชิ ม วจิ ารณ์ หรอื แนะนาผลงานโดยมีการรบั รูถ้ งึ ความเป็นเจา้ ของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ น้ั (4) เสนอรายงานข่าวทางส่ือสารมวลชนโดยมีการรบั รูถ้ งึ ความเป็นเจา้ ของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ น้ั (5) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นจานวนท่สี มควรโดยบคุ คลผซู้ ง่ึ ไดซ้ อื้ หรอื ไดร้ บั โปรแกรมนน้ั มาจากบคุ คลอน่ื โดย ถกู ตอ้ ง เพ่อื เก็บไวใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นการบารุงรกั ษาหรอื ปอ้ งกนั การสญู หาย (6) ทาซา้ ดดั แปลง นาออกแสดง หรอื ทาใหป้ รากฏเพ่อื ประโยชนใ์ นการพจิ ารณาของศาลหรอื เจา้ พนกั งานซ่ึงมอี านาจตาม กฎหมาย หรอื ในการรายงานผลการพจิ ารณาดงั กล่าว (7) นาโปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ น้ั มาใชเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ในการถามและตอบในการสอบ (8) ดดั แปลงโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นกรณีท่จี าเป็นแก่การใช้ (9) จดั ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พ่อื เกบ็ รกั ษาไวส้ าหรบั การอา้ งองิ หรอื คน้ ควา้ เพ่อื ประโยชนข์ องสาธารณชน
บทกาหนดโทษ • ปรบั ตง้ั แต่สองหม่ืนบาทถงึ สองแสนบาท ถา้ การกระทาความผดิ ตามวรรคหนง่ึ เป็นการกระทาเพ่อื การคา้ ผกู้ ระทาตอ้ ง ระวางโทษจาคกุ ตง้ั แตห่ กเดือนถงึ ส่ีปีหรอื ปรบั ตงั้ แตห่ นง่ึ แสนบาท ถงึ แปดแสน บาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั
พระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ.2544 • พรบ.ฉบบั นีม้ งุ่ เนน้ การกาหนดใหผ้ ลทางกฎหมายของขอ้ มลู อิเล็กทรอนกิ ส์ มีผล เทียบเท่ากบั ขอ้ มลู ในรูปแบบกระดาษ (Functional –equivalent Approach) ความเป็นกลางทางเทคโนโลยีหรอื ความเป็นกลางของส่ือ (Technology Neutrality/Media Neutrality) รวมไปถึงความศกั ดิส์ ทิ ธิ์ในการแสดงเจตนา (Party Autonomy) โดย พรบ.ฉบบั นีจ้ ะเขา้ มามีผลในการบงั คบั ใชค้ วบค่ไู ปกบั กฎหมายฉบบั อ่ืนท่ีมี อยแู่ ลว้ มไิ ดเ้ ขา้ มาแทนท่ีการบงั คบั ใชก้ ฎหมายฉบบั อ่ืน
ประเดน็ ท่สี าคัญ - ขอ้ ความท่ีอยใู่ นรูปของขอ้ มลู ทางอิเล็กทรอนกิ สจ์ ะมีผลผกู พนั และบงั คบั ใชท้ างกฎหมาย (มาตรา 7) - การเก็บรกั ษาเอกสาร ตน้ ฉบบั ตอ้ งมีวิธีการท่ีสามารถเขา้ ถึงและนากลบั มาใชไ้ ดโ้ ดยความหมายไม่ เปล่ียนแปลง มีความครบถว้ น และสามารถนามาอา้ งองิ ในภายหลงั ได้ (มาตรา 8,12) - การรบั รองลายมือช่ือ จะตอ้ งใชว้ ธิ ีการท่ีมีความเช่ือถือได้ โดยสามารถระบตุ วั เจา้ ของลายมือช่ือและ สามารถพสิ จู นไ์ ดว้ า่ เจา้ ของลายมือช่ือ นนั้ ยอมรบั วา่ เป็นของตน (มาตรา 9) - การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนกิ สภ์ าครฐั (มาตรา 35)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • “เน่ืองจากในปัจจบุ นั ระบบคอมพิวเตอรไ์ ดเ้ ป็นสว่ นสาคญั ของการประกอบกิจการและการ ดารงชีวิตของมนษุ ย์ หากมีผกู้ ระทาดว้ ยประการใดๆ ใหร้ ะบบคอมพิวเตอรไ์ มส่ ามารถทางาน ตามคาส่งั ท่ีกาหนดไวห้ รือทาใหก้ ารทางานผิดพลาดไปจากคาส่งั ท่ีกาหนดไว้ หรือใชว้ ิธีการ ใดๆ เขา้ ลว่ งรูข้ อ้ มลู แกไ้ ข หรอื ทาลายขอ้ มลู ของบคุ คลอ่ืนในระบบคอมพิวเตอรโ์ ดยมชิ อบ หรอื ใชร้ ะบบคอมพิวเตอรเ์ พ่ือเผยแพรข่ อ้ มลู คอมพิวเตอรอ์ นั เป็นเทจ็ หรือมีลกั ษณะอนั ลามก อนาจาร ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย กระทบกระเทือนตอ่ เศรษฐกิจ สงั คม และความม่นั คง ของรฐั รวมทงั้ ความสงบสขุ และศีลธรรมอนั ดีของประชาชน สมควรกาหนดมาตรการเพ่ือ ปอ้ งกนั และปราบปรามการกระทาดงั กลา่ ว”
ลกั ษณะความผดิ 1. การกระทาตอ่ ระบบคอมพวิ เตอร์ - การเข้าถงึ ระบบ (มาตรา 5) - การเปิ ดเผยมาตรการป้องกนั การเขา้ ถงึ ระบบ (มาตรา 6) - การรบกวนระบบ (มาตรา 10) 2. การกระทาตอ่ ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ - การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล (มาตรา 7) - การดกั ข้อมูล (มาตรา 8) - การรบกวนขอ้ มูล (มาตรา 9) - สแปมเมล์ (มาตรา 11) - การนาเขา้ /เผยแพร่ข้อมูลทไี่ ม่เหมาะสม (มาตรา 14) - การเผยแพร่ภาพตดั ต่อในลักษณะหม่ินประมาท (มาตรา 16)
ลกั ษณะความผิด (ตอ่ ) 3. การกระทาผดิ ต่อความม่นั คง (มาตรา 12) 4. การใช้ชุดคาส่ังกระทาความผดิ (มาตรา 13) 5. การกระทาความผดิ ของผู้ใหบ้ รกิ าร (มาตรา 15, มาตรา 26) 6. การเปิ ดเผยข้อมลู ของพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 24)
การเขา้ ถึงระบบคอมพวิ เตอรโ์ ดยมิชอบ มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถงึ โดยมิชอบซงึ่ ระบบคอมพวิ เตอรท์ มี่ ี มาตรการป้องกนั การเข้าถงึ โดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมไิ ดม้ ีไว้สาหรับตน โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 6 เดอื น หรือปรับไม่เกนิ หนึ่งหมื่นบาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรับ
การเปิดเผยมาตรการปอ้ งกนั การเขา้ ถงึ ระบบ มาตรา 6 ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถงึ ระบบ คอมพวิ เตอรท์ ผ่ี ู้อื่นจัดทาขึน้ เป็ นการเฉพาะ ถ้านามาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมชิ อบ ในประการทน่ี ่าจะเกดิ ความเสยี หายแกผ่ ู้อื่น โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนึ่งปี หรอื ปรับไม่เกนิ สองหม่นื บาท หรือ ทงั้ จาทงั้ ปรับ
การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์โดยมิชอบ มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถงึ โดยมชิ อบซงึ่ ข้อมูลคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ี มาตรการป้องกนั การ เข้าถงึ โดยเฉพาะและ มาตรการนั้นมไิ ด้มไี ว้สาหรับตน โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สองปี หรือปรับไม่เกนิ สหี่ มื่นบาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรับ
การดักข้อมลู คอมพวิ เตอรโ์ ดยมชิ อบ มาตรา 8 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบดว้ ยวิธี การทางอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ พอื่ ดกั รับไว้ซง่ึ ข้อมูลคอมพวิ เตอรข์ องผู้อื่นทอ่ี ยรู่ ะหว่างการส่งใน ระบบ คอมพวิ เตอร์ และ ข้อมูลคอมพวิ เตอรน์ ั้นมิไดม้ ไี ว้เพอ่ื ประโยชนส์ าธารณะ หรอื เพอื่ ใหบ้ ุคคลท่วั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ โทษ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สามปี หรือปรับไม่เกนิ หกหมืน่ บาท หรือ ทงั้ จา ทงั้ ปรับ
22
การรบกวนขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ มาตรา 9 ผู้ใดทาใหเ้ สียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพมิ่ เตมิ ไม่ว่าทงั้ หมดหรอื บางส่วน ซงึ่ ข้อมูลคอมพวิ เตอรข์ องผู้อน่ื โดยมิชอบ โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หา้ ปี หรอื ปรับไม่เกนิ หน่ึงแสนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ
รบกวน ขัดขวาง ระบบคอมพวิ เตอร์ มาตรา 10 ผู้ใดกระทาดว้ ยประการใดโดยมิชอบ เพอื่ ใหก้ ารทางานของระบบ คอมพวิ เตอรข์ องผู้อืน่ ถกู ระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรอื รบกวน จนไม่สามารถ ทางานตามปกตไิ ด้ โทษ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หา้ ปี หรอื ปรับไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท หรอื ทงั้ จา ทงั้ ปรับ
25
สแปมเมล์ (Spam Mail) มาตรา 11 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพวิ เตอรห์ รือจดหมาย อิเล็กทรอนิกสแ์ ก่บคุ คลอน่ื โดยปกปิ ดหรอื ปลอม แปลงแหล่งทม่ี าของการส่งข้อมูลดงั กล่าว อัน เป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพวิ เตอรข์ อง บคุ คลอนื่ โดยปกตสิ ุข โทษ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ หน่ึงแสนบาท
27
การนาเข้า/ เผยแพรเ่ นือ้ หาอันไม่เหมาะสม มาตรา 14 ผูใ้ ดกระทาความผดิ ท่รี ะบุไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) นาเขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรไ์ มว่ า่ ทงั้ หมดหรอื บางสว่ น หรอื ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรอ์ นั เป็น เท็จ โดยประการท่นี า่ จะเกิดความเสยี หายแกผ่ อู้ น่ื หรอื ประชาชน (2) นาเขา้ สรู่ ะบบคอมพิวเตอรซ์ ง่ึ ขอ้ มลู คอมพิวเตอรอ์ นั เป็นเท็จโดยประการท่ีนา่ จะเกิดความเสยี หายตอ่ ความ ม่นั คงของประเทศหรอื กอ่ ใหเ้ กิดความตน่ื ตระหนกแก่ประชาชน (3) นาเขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรใ์ ดๆอนั เป็นความผดิ เกี่ยวกบั ความม่นั คงแหง่ ราชอาณาจกั ร หรอื ความผิดเกี่ยวกบั การก่อการรา้ ยตามประมวลกฎหมายอาญา (4) นาเขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ ง่ึ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรใ์ ดๆทมี่ ีลกั ษณะอนั ลามก และขอ้ มลู คอมพิวเตอรน์ นั้ ประชาชนท่วั ไปอาจเขา้ ถงึ ได้ (5) เผยแพรห่ รอื สง่ ตอ่ ซง่ึ ขอ้ มลู คอมพิวเตอรโ์ ดยรูอ้ ยแู่ ลว้ วา่ เป็นขอ้ มลู คอมพิวเตอรต์ าม (1) (2) (3) หรอื (4) โทษ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหา้ ปีหรอื ปรบั ไมเ่ กินหนง่ึ แสนบาทหรอื ทงั้ จาทงั้ ปรบั
การเผยแพรภ่ าพซง่ึ ตัดต่อในลักษณะหมิ่นประมาท มาตรา 16 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพวิ เตอรท์ ป่ี ระชาชนท่วั ไปอาจเข้าถงึ ได้ซง่ึ ข้อมูลคอมพวิ เตอรท์ ปี่ รากฏเป็ นภาพของผู้อนื่ และภาพนั้นเป็ นภาพทเี่ กดิ จาก การสร้างขึน้ ตัดตอ่ เตมิ หรือดดั แปลงดว้ ยวิธีการทางอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รอื วิธีการ อนื่ ใด ทงั้ นี้ โดยประการทนี่ ่าจะทาใหผ้ ู้อืน่ นั้นเสียช่ือเสียง ถูกดหู มน่ิ ถูกเกลยี ด ชังหรอื ได้รับความอับอาย โทษ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สามปี หรอื ปรับไม่เกนิ หกหมื่นบาท หรือทงั้ จา ทงั้ ปรับ
การเปดิ เผยขอ้ มูลของพนักงานเจา้ หน้าที่ มาตรา 24 ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ข้อมูลจราจร คอมพวิ เตอร์ หรอื ข้อมูลของผู้ใช้บรกิ าร ที่ พนักงานเจา้ หน้าทไี่ ด้มาตามมาตรา 18 และเปิ ดเผยข้อมูลนั้นตอ่ ผู้หน่ึงผู้ใด โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ สองปี หรือปรับไม่เกนิ ส่ีหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ
การกระทาซงึ่ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ความมัน่ คง มาตรา 12 กาหนดวา่ ถา้ เป็นการกระทาความผดิ ท่ีเป็นการ รบกวนข้อมูลคอมพวิ เตอรต์ ามมาตรา 9 หรือ เป็ นการรบกวนระบบคอมพวิ เตอรต์ ามมาตรา 10 (1) ก่อใหเ้ กิดความเสียหายแกป่ ระชาชน ไมว่ า่ ความเสียหายนนั้ จะเกิดขนึ้ ในทนั ทีหรือในภายหลงั และไมว่ า่ จะเกิดขนึ้ พรอ้ มกนั หรอื ไม่ โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสอบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (2) เป็นการกระทาโดยประการท่ีนา่ จะเกิดความเสียหายตอ่ ขอ้ มลู คอมพิวเตอรห์ รือระบบ คอมพวิ เตอรท์ ่ีเก่ียวกบั การรกั ษาความม่นั คงปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความ ม่นั คงในทางเศรษฐกิจของประเทศหรือการบรกิ ารสาธารณะ หรอื เป็นการกระทาตอ่ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ หรอื ระบบคอมพิวเตอรท์ ่ีมีไวเ้ พ่ือประโยชนส์ าธารณะ โทษ ต้องระวางโทษจาคุกตงั้ แต่สามปี ถึงสิบห้าปี และปรับตงั แต่หกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท ถ้าการกระทาความผิดตาม (2) เป็ นเหตใุ ห้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ สิบปี ถึงยสี่ ิบปี
32
การใชช้ ุดคาสั่งในทางมิชอบ มาตรา 13 ผู้ใดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาส่ังทจี่ ดั ทาขึน้ โดยเฉพาะเพอ่ื นาไปใช้เป็ นเครอ่ื งมือในการ กระทาความผดิ ตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรอื มาตรา 11 โทษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หนึ่งปี หรือปรับไม่เกนิ สองหม่ืนบาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ
ผู้ใหบ้ รกิ ารก็มีความผิดได้ มาตรา 15 ผู้ใหบ้ รกิ ารผู้ใดจงใจสนับสนุนหรือยนิ ยอมใหม้ ี การกระทาความผิดตามมาตรา 14 ในระบบ คอมพวิ เตอรท์ อี่ ยูใ่ นความควบคุมของตน โทษ ต้องระวางโทษเช่นเดยี วกับผู้กระทาความผิดตามมาตรา 14 มาตรา 26 - ผู้ใหบ้ รกิ ารตอ้ งเกบ็ รักษาข้อมูลการจราจรทาง คอมพวิ เตอร์ ไว้ไม่น้อยกว่า 90 วัน โทษ ผู้ใหบ้ รกิ ารทไี่ ม่ปฏบิ ัตติ ามต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ หา้ แสนบาท
ขอ้ แนะนาสาหรับผ้ใู ช้บรกิ าร
ผู้ใชบ้ รกิ าร • อย่าบอก password ของทา่ นแก่ผู้อื่น • อยา่ ใหผ้ ู้อ่นื ยืมใช้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์หรอื โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่เพอื่ เขา้ เน็ต • อย่าติดต้ังระบบเครือข่ายไร้สายในบ้านหรือท่ีทางานโดยไม่ใช้มาตรการการตรวจสอบผู้ใช้งานและ การเข้ารหสั ลับ • อยา่ เข้าสูร่ ะบบดว้ ย user ID และ password ทีไ่ มใ่ ชข่ องท่านเอง • อย่านา user ID และ password ของผู้อื่นไปใชง้ านหรือเผยแพร่ • อย่าสง่ ตอ่ ซงึ่ ภาพหรอื ข้อความ หรอื ภาพเคลอื่ นไหวทผ่ี ิดกฎหมาย 36
ผู้ใช้บริการ • อย่า กด \"remember me\" หรือ \"remember password\" ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ สาธารณะ และอย่า log-in เพ่ือทาธุรกรรมทางการเงินที่เครื่องสาธารณะ ถ้าท่านไม่ใช่ เซยี นทาง computer security • อยา่ ใช้ WiFi (Wireless LAN) ทเี่ ปิดใหใ้ ชฟ้ รี โดยปราศจากการเข้ารหัสลับขอ้ มลู • อย่าทาผิดตามมาตรา ๑๔ ถงึ ๑๖ เสยี เอง ไมว่ า่ โดยบังเอิญ หรือโดยร้เู ทา่ ไม่ถงึ การณ์ 37
ช่องโหว่การบังคบั ใช้กฎหมาย
ลอ่ ซอ้ื - ตามพระราชบญั ญตั ลิ ิขสทิ ธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ มาตราท่ี ๖๖ ความผดิ ตามพรบ. ลขิ สทิ ธิ์ เป็นความผดิ อนั ยอมความได้ คือ เจา้ ของลิขสทิ ธิ์ตอ้ งรอ้ งทกุ ขภ์ ายใน 3 เดือน นบั แตร่ ูต้ วั ผกู้ ระทาความผิด มิฉะนนั้ จะขาดอายคุ วามรอ้ งทกุ ข์ - หากผเู้ สียหายมีสว่ นรว่ ม หรอื ก่อใหเ้ กิดการกระทาความผิดขนึ้ กไ็ มอ่ ย่ใู นฐานะ เป็นผเู้ สียหายโดยนิตนิ ยั ท่ีมีอานาจฟอ้ งคดีได้ สรุป การล่อซอื้ และการส่งหน้าม้า จงึ เป็ นกรณีทเี่ จ้าของลขิ สิทธิเ์ ป็ นผู้ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายขนึ้ จงึ ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยนิตนิ ัยไม่มอี านาจ้้อง
วธิ ีแกไ้ ขในเบอื้ งตน้ 1) การจบั กมุ ทาไดก้ ่อนพระอาทติ ยต์ กดนิ เท่านน้ั 2) หากมีผอู้ า้ งตนเป็นตวั แทน ขอดบู ตั รประชาชน/ใบรบั รองอานาจ/บตั รของ ผรู้ บั มอบอานาจของกรมทรพั ยส์ ินทางปัญญา 3) การใชห้ นา้ มา้ หรอื ล่อเล่น เป็นการรว่ มกระทาผิด ไมใ่ ชผ่ เู้ สียหายโดยนติ ินยั ไม่มีอานาจแจง้ ความรอ้ งทกุ ขไ์ ด้ 4) หากไม่มีหมายคน้ สามารถปฏเิ สธไม่ใหต้ รวจได้ 5) ตวั แทนไม่มีสิทธอ์ ธิบายขน้ั ตอนการจบั กมุ
6) ราษฎรจะชว่ ยเจา้ หนา้ ตารวจจบั ไมไ่ ดแ้ มจ้ ะขอใหช้ ว่ ยจบั เพราะราษฎรจะตอ้ งเป็น ผจู้ ดั การตามหมายจบั เทา่ นนั้ จงึ จะมีสทิ ธิ์จบั ได้ 7) การลอ่ เลน่ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเป็นตารวจ ราษฎรก็ลอ่ เลน่ ได้ 8) ความผดิ ซ่งึ หนา้ ตอ้ งดทู ่ีการกระทา ซ่งึ ความผดิ ซง่ึ หนา้ หมายถึง ความผิดซ่งึ เห็นกาลงั กระทา หรือพบในอาการใดๆ ซง่ึ แทบจะไมม่ ีความสงสยั เลยวา่ ไดก้ ระทาผดิ มาแลว้ 9) ราษฎรสามารถจบั ความผิดซง่ึ หนา้ ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมีหมายจบั แตต่ อ้ งเป็นความผิดบาง ประเภทเทา่ นนั้ เชน่ ฐานฆา่ คนตาย เป็นตน้
10) การละเมดิ ลขิ สิทธิ์ตอ้ งเกิดซง่ึ หนา้ เจา้ หนา้ ท่ีเทา่ นนั้ เชน่ ไลนแ์ ผน่ ตอ่ หนา้ ตอ่ ตา ตารวจ และตอ้ งมีการแจง้ ความแลว้ ถา้ ยงั ก็ไมส่ ามารถจบั ไดใ้ นขอ้ หาละเมดิ ลิขสิทธิ์ 11) การคน้ ในท่ีรโหฐาน ตอ้ งทาโดยมีหมายคน้ เทา่ นนั้ หากค้นแล้วเจอหลักฐานจริง ก็ไม่สามารถใช้เป็ นพยานหลักฐานได้ เพราะถอื ว่าเป็ นการไดม้ าจากการค้นทไ่ี ม่ชอบ 12) ตารวจจะจบั ผใู้ ดโดยไมม่ ีหมายจบั หรอื คาส่งั ศาลไมไ่ ด้ เว้นแต่ บุคคลนั้นจะกระทาความผิดซง่ึ หน้า และเหตุอนื่ ตามทก่ี ฎหมาย กาหนด
หากมีการกรรโชกทาโดยขวู่ า่ จะฆา่ ขวู่ า่ จะทารา้ ยรา่ งกาย หรือมีอาวธุ ตดิ ตวั มาขเู่ ขญ็ จาคกุ ตงั้ แตห่ กเดอื นถงึ ๗ ปี และปรบั ตงั้ แตห่ น่งึ พนั บาทถึงหน่งึ หม่ืนส่ีพนั บาท หากเจา้ หนา้ ท่ีตารวจบกพรอ่ งละเลยไมต่ รวจสอบแลว้ รบั แจง้ ความ ถา้ ปรากฏภายหลังวา่ การแจง้ ความไมถ่ กู ตอ้ ง ไมม่ ีสทิ ธิ์ ไมม่ ีอานาจจรงิ เจา้ หนา้ ท่ีตารวจจะมีความผิดทงั้ ทางวินยั และ อาญาฐานเป็นเจา้ พนกั งานปฏิบตั หิ รือละเวน้ การปฏิบตั หิ นา้ ท่ีโดยมชิ อบ ตามมาตรา ๑๕๗ สรุป การเอาผดิ สามารถเอาผิดกลบั ไดท้ งั้ ตวั แทนนาจบั และตารวจ หากมีสทิ ธิ์จรงิ คอ่ ยมาดู ถงึ วิธีการคน้ และจบั วา่ ชอบดว้ ยกฎหมายหรือไม่
สภาพการณภ์ ยั คุมคามปัจจุบนั
แกง๊ ไถเงนิ 1) ต้ังบรษิ ทั แลว้ ขอซ้อื อานาจการดาเนนิ คดลี ะเมิดทรพั ยส์ ินทางปัญญา จากเจา้ ของลิขสทิ ธิจ์ ริงเทา่ ที่จะทา ได้ เชน่ เสอ้ื ผ้า เกม software เปน็ ตน้ 2) หาตวั แทน หรอื รับพนกั งานเพื่อรีดไถเงิน 3) ตวั แทนจะหาสมาชิกแบบงานขายตรง เรียกวา่ “ผูร้ ับอานาจช่วง” 4) ร่วมมอื กับเจา้ หนา้ ท่ี แต่ก็มโี รงพกั บางโรงไมใ่ ห้ความรว่ มมือ 5) เดนิ สายจบั แบบผดิ กฎหมายทลี ะจงั หวดั โดยเวียนกลับมาทกุ ๆ 3-6 เดอื น 6) มีการทาธุรกิจแบบนม้ี านาน ประมาณ 7 ปี
รา้ นซ่อมคอมพวิ เตอร์ รดี ไถแบบจบั ลขิ สิทธเิ์ พลงที่มอี ยู่ ในโปรแกรมคาราโอเกะ 1) จ้างหน้ามา้ เขา้ มาตสี นทิ โดยการนาคอมพวิ เตอร์มาซอ่ ม 2) อีก 2-3 วนั หน้ามา้ จะออ้ นวอนให้ลงโปรแกรมคาราโอเกะ 3) จ้างตารวจมา 2 คน (คนละ 500 บาท) ในวนั รบั เครื่อง โดยตารวจออกตัวว่าไมไ่ ด้มาจับมา เพื่อดูแลความสงบเรียบร้อย 4) รีดไถเงนิ 50,000 บาท แลว้ จะยอมความไม่เอาผดิ โดยอ้างเปน็ เจ้าของเพลง ถ้าไมย่ อมจ่าย จะพาไปโรงพกั ทีม่ ีเจา้ หน้าท่รี ่วมแกง๊
วธิ ีแก้เบือ้ งตน้ 1) ใหไ้ ลก่ ลบั ไป เพราะไมม่ ีหมายศาล หมายคน้ 2) อย่ายอมจ่ายเงนิ ทกุ กรณี 3) คดีลอ่ ซอื้ ในกรณีดงั กลา่ วศาลยกฟอ้ ง
รา้ นซอ่ มคอมพวิ เตอร์ รีดไถแบบจับลิขสิทธิโ์ ปรแกรม Windows/Microft Office และอื่นๆ ทร่ี ้านลงให้กับ ลูกค้า เน่ืองจากรา้ นซอ่ มจะซอ่ มใหช้ าวบา้ นธรรมดา โดยคดิ คา่ บรกิ ารครงั้ 300-500 บาท จงึ ไมอ่ าจ ใหช้ าวบา้ นซือ้ โปรแกรมแทใ้ หก้ บั เคร่ืองได้ หากซือ้ ของแทค้ า่ ซอ่ มอาจสงู ถึง 100,000-200,000 บาท 1) นาคอมมาลง Windows และโปรแกรมลขิ สิทธิ์ 2) เขา้ จบั โดยอา้ งเป็นตวั แทน หากจา่ ยเงินจะยอมความ ไมเ่ อาเร่ือง
วธิ แี กเ้ บือ้ งต้น 1) หากมีคนนาเครอ่ื งใหม่มาใหล้ ง ปฏิเสธอย่าลดใหเ้ ด็ดขาด 2) ใหท้ าเอกสารซอ่ มไว้ และเขียนช่ือโปรแกรมท่ีเคร่อื งจาเป็นตอ้ งมี ใหล้ กู คา้ ระบุ วา่ เคยมีโปรแกรมเหล่านน้ั เขียนใหช้ ดั เจนว่าทางรา้ นทาการซอ่ มใหใ้ ชไ้ ดเ้ หมือนเดมิ ส่วนโปรแกรมพเิ ศษต่างๆ ใหล้ กู คา้ เขียนเพม่ิ เอง และเซน็ ช่ือ 3) ใหไ้ ลก่ ลบั ไป เพราะไม่มีหมายศาล หมายคน้ และอยา่ จา่ ยเงนิ ทกุ กรณี
รา้ นอินเทอรเ์ น็ตคาเฟ่ รดี ไถแบบจบั ลิขสทิ ธิเ์ พลง MP3 1) จา้ งหนา้ มา้ เขา้ มาตีสนทิ เขา้ มาเลน่ แลว้ แอบโหลดเพลง MP3 2) ตวั แทนเขา้ มาจบั โดยจา้ งตารวจมาดว้ ย 3) ตวั แทนอา้ งลิขสทิ ธิ์เพลง และเรยี กเงนิ 50,000 บาท โดยใหจ้ า่ ยกนั เองก่อน ถา้ ไมย่ อมจ่าย จะพาไปโรงพกั ท่ีมีเจา้ หนา้ ท่ีรว่ มแก๊ง
Search