Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการลดโลกร้อนด้วยมือเรา

โครงการลดโลกร้อนด้วยมือเรา

Published by wantana9192498, 2020-06-08 03:18:49

Description: โครงการลดโลกร้อนด้วยมือเรา

Search

Read the Text Version

รายงานผลโครงการลดโลกรอนดว ยมือเรา วนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2561 ณ โรงเรียนเทศบาลดอนหัวฬอ 1 (บา นมาบสามเกลยี ว) หมูท่ี 7 ตาํ บลดอนหัวฬอ อําเภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบุรี จดั โดย กศน.ตําบลนาปา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเมืองชลบรุ ี

คํานาํ โครงการลดโลกรอนดว ยมือเรา เปนกิจกรรมการเรยี นรกู ิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชนเนื่องจากปญหาสงิ่ แวดลอมท่ีเกดิ ขึ้นในปจ จุบัน เกดิ จากการกระทาํ กิจกรรมของมนษุ ยท ่ีได กระทํามาตง้ั แตเรมิ่ ปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม การพฒั นาเทคโนโลยี การใชท รัพยากรอยา งไมม ีประสทิ ธภิ าพ จงึ ทาํ ใหท รัพยากรลดลงอยางรวดเร็ว การเพ่มิ ขน้ึ ของประชากรมนษุ ยอยางรวดเร็ว ซง่ึ มผี ลกระทบตอ ชีวติ ความเปน อยูข องมนุษยเปนสวนใหญ ผลกระทบใหญที่มตี อมนษุ ยและสังคม ไดแ ก ปญ หาภยั แลง ปญ หานํา้ ทว มและปญ หาภาวะโลกรอ น อีกท้งั การดําเนนิ ชีวติ ของคนในปจ จุบนั มีความเรงรบี ในการทาํ มาหากินเพ่อื ความอยรู อดทําใหเ กดิ การละเลยเอาใจใสใ นการเลือกผลติ ภณั ฑของใชใ นชวี ิตประจําวนั สง ผลใหเ กดิ ความเสี่ยงในการใชผลติ ภณั ฑท ไ่ี มไดมาตรฐาน จงึ ขาดความตระหนกั ในการเลือกใช ทรพั ยากรอยา งคมุ คา ซง่ึ นอกจากจะทําใหเกิดอนั ตรายตอชีวติ แลว ผลิตภัณฑที่ไมไ ดมาตรฐานบาง ชนิดยังเปน พิษตอส่งิ แวดลอมอีกดว ย ดังนัน้ การปลกู จติ สาํ นึกอนุรักษพลังงาน จงึ มีความสาํ คัญอยา ง ยิ่งในสังคมปจ จุบัน และเพ่ือตอบสนองใหสอดคลองยุทธศาสตรแ ละจุดเนนการดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ 2561 ภารกิจตอเน่อื ง ขอที่ 1.3 การศกึ ษาตอเนอื่ ง ขอที่ 3 ดงั น้ัน กศน.ตาํ บลนาปา จงึ ไดจ ดั ทําโครงการลดโลกรอนดวยมือเรา เพื่อใหป ระชาชนท่ีเขา รวม โครงการฯ ไดต ระหนักและเห็นความสําคัญของปญ หา ชวยปองกนั และแกไขปญ หาสง่ิ แวดลอ ม เห็นความสําคญั ของสิง่ แวดลอ มตอการดํารงชวี ติ ในปจจบุ ัน จึงไดจ ดั ทํา “โครงการลดโลกรอนดว ยมือ เรา”ข้ึน ทา ยสุดนขี้ อขอบคณุ ผูเ ขา รวมโครงการ คณะกรมการดาํ เนินงาน หากมีขอมลู ผิดพลาด ประการใด คณะผจู ดั ทําขออภยั มา ณ โอกาสนี้ กศน.ตาํ บลนาปา มถิ ุนายน 2561

สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนาํ ทม่ี าและความสาํ คัญ..................................................................................1 วัตถปุ ระสงค..............................................................................................1 เปา หมาย...................................................................................................1 ผลลพั ธ. .....................................................................................................1 ตวั ช้ีวัดผลสาํ เร็จ........................................................................................2 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเี่ กย่ี วของ ยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน. ประจาํ ป งบประมาณ 2561......................................................................3 แนวทาง/กลยทุ ธก ารดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยของ กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี.................................................16 แนวทาง/วธิ กี ารจดั การกิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมชุมชน............20 กรอบการพฒั นาสงั คมและชุมชนใหมคี วามเขมแข็ง.................................21 3 วธิ กี ารดําเนินงาน ประชุมปรกึ ษาหารอื ฯ กศน.ตําบลนาปา...................................................27 แตงตั้งคณะทาํ งาน....................................................................................27 ประสานงานกับหนวยงาน/เครอื ขาย และบคุ คลท่ีเกย่ี วของ.....................27 ดําเนินการตามแผนงานโครงการ..............................................................27 วดั ผล/ประเมิน/สรุปผลและรายงาน.........................................................28 4 ผลการดาํ เนนิ งานและการวิเคราะหข อ มูล ตอนที่ 1 ขอมลู สว นตวั ของผูตอบแบบสอบถาม ของผูเ ขารับการอบรมโครงการ………………………………………………………….29 ตอนท่ี 2 ขอมลู เก่ยี วกบั ความคดิ เหน็ ทมี่ ีของผูเขา รว มกิจกรรม................32 5 สรุปผลการดาํ เนินการ อภิปราย และขอ เสนอแนะ ผลทปี่ รากฏ...............................................................................................34 สรุปผลการดาํ เนนิ งาน...............................................................................34 อภปิ รายผล................................................................................................35 ขอเสนอแนะ..............................................................................................35 บรรณานุกรม. ภาคผนวก.......................................................................................................52

สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ..........................29 2 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดบั การศึกษา.......29 3 แสดงคารอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาย.ุ .........................30 4 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี ........................31 5 ผลการประเมนิ โครงการ....................................................................................32

บทท่ี 1 บทนาํ ที่มาและความสาํ คัญ เน่อื งจากปญหาสิ่งแวดลอ มท่ีเกดิ ขึน้ ในปจ จุบัน เกิดจากการกระทํากจิ กรรมของมนุษยทีไ่ ด กระทาํ มาตง้ั แตเริ่มปฏวิ ัติอตุ สาหกรรม การพัฒนาเทคโนโลยี การใชท รัพยากรอยางไมมีประสิทธภิ าพ จงึ ทาํ ใหท รัพยากรลดลงอยา งรวดเร็ว การเพิ่มขนึ้ ของประชากรมนุษยอยางรวดเรว็ ซงึ่ มผี ลกระทบตอ ชีวิตความเปนอยูของมนุษยเปนสวนใหญ ผลกระทบใหญทีม่ ตี อมนุษยและสงั คม ไดแก ปญหาภัยแลง ปญหาน้าํ ทวมและปญหาภาวะโลกรอ น อีกท้งั การดําเนนิ ชีวติ ของคนในปจจุบันมีความเรงรบี ในการทํา มาหากนิ เพื่อความอยูรอดทําใหเกิดการละเลยเอาใจใสในการเลอื กผลติ ภัณฑของใชในชีวติ ประจําวนั สง ผลใหเกิดความเส่ียงในการใชผลิตภณั ฑท ี่ไมไดมาตรฐาน จึงขาดความตระหนกั ในการเลอื กใช ทรัพยากรอยางคมุ คา ซงึ่ นอกจากจะทําใหเ กดิ อนั ตรายตอชีวิตแลว ผลิตภัณฑทไ่ี มไ ดมาตรฐานบาง ชนดิ ยงั เปนพษิ ตอสงิ่ แวดลอมอกี ดวย ดังนนั้ การปลูกจติ สํานึกอนรุ ักษพลงั งาน จึงมีความสําคัญอยาง ยง่ิ ในสงั คมปจ จบุ นั ดงั น้ัน กศน.กศน.ตาํ บลนาปา ไดต ระหนักและเห็นความสาํ คัญของปญหาดังกลา ว จึงได จัดทาํ “โครงการลดโลกรอนดวยมือเรา”ขึ้น วัตถปุ ระสงค 1. เพ่อื ใหเกิดความตระหนักในการชวยปองกนั และแกไขปญหาสง่ิ แวดลอ ม 2. เพอื่ ใหเ หน็ ความสาํ คญั ของสง่ิ แวดลอมตอการดาํ รงชวี ิตในปจ จบุ ัน เปา หมาย ดานปรมิ าณ - ประชาชนทวั่ ไป จํานวน 20 คน ดานคณุ ภาพ - ประชาชนท่เี ขา รว มโครงการฯ เกิดความตระหนักในการชว ยปองกันและแกไขปญหา สง่ิ แวดลอม และเหน็ ความสาํ คญั ของส่ิงแวดลอ มตอการดาํ รงชวี ติ ในปจจบุ นั ผลลพั ธ ประชาชนท่ีเขา รว มโครงการฯ เกดิ ความตระหนกั ในการชวยปองกันและแกไขปญ หา สิ่งแวดลอ ม และเห็นความสําคัญของสง่ิ แวดลอ มตอการดาํ รงชีวิตในปจ จุบนั

ตวั ชีว้ ัดผลสาํ เร็จ - ประชาชนทเี่ ขา รว มโครงการฯ รอยละ 80 เกิดความตระหนักในการชวยปองกนั และ แกไขปญหาสิง่ แวดลอม และเห็นความสําคัญของสงิ่ แวดลอมตอการดาํ รงชีวิตในปจจบุ ัน

บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานท่ีเกยี่ วขอ ง ในการจัดทํารายงานครง้ั นี้ไดศกึ ษาคนควาเนื้อหาจากเอกสารการศกึ ษาและรายงานที่ เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 1. นโยบายและยทุ ธศาสตรก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั งบประมาณ 2561 2. แนวทางของศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเมอื งชลบรุ ี งบประมาณ 2561 3. แนวทาง-วิธกี ารการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 4. 3R พาโลกเย็น/การบรหิ ารจัดการขยะ 1. ยุทธศาสตรแ ละจดุ เนนการดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ 2561 วสิ ัยทัศน กกกกกกกกคนไทยไดรบั โอกาสการศึกษาและการเรียนรตู ลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ สามารถดาํ รงชีวติ ท่เี หมาะสมกับชวงวยั สอดคลองกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะทีจ่ ําเปน ในโลก ศตวรรษที่ 21 พนั ธกจิ กกกกกกกก1. จดั และสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ที่มีคณุ ภาพ เพ่ือ ยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรขู องประชาชนทุกกลมุ เปาหมายใหเ หมาะสมทุกชวงวยั และพรอมรับการเปล่ียนแปลงบริบททางสังคม และสรา งสงั คมแหง การเรยี นรูตลอดชวี ติ กกกกกกกก2. สงเสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครือขาย ในการมสี วนรวมจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรตู ลอดชีวิต รวมท้งั การดําเนินกจิ กรรมของศนู ยการ เรยี นและแหลง การเรยี นรอู ืน่ ในรูปแบบตางๆ กกกกกกกก3. สง เสริมและพัฒนาการนาํ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใหเกิด ประสิทธิภาพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก บั ประชาชนอยางทั่วถึง กกกกกกกก4. พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู สื่อและนวตั กรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทุกรูปแบบใหสอดคลองกับบรบิ ทในปจ จบุ ัน กกกกกกกก5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือมงุ จัดการศึกษาและ การเรยี นรูท่ีมีคุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

เปาประสงค กกกกกกกก1. ประชาชนผูด อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้งั ประชาชนทั่วไปไดร บั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน การศึกษาตอ เนื่อง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีมคี ณุ ภาพ อยา งเทา เทยี มและท่ัวถงึ เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความ ตอ งการของแตล ะกลุมเปาหมาย กกกกกกกก2. ประชาชนไดรับการยกระดบั การศึกษา สรางเสรมิ และปลูกฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปนพลเมืองอนั นําไปสกู ารยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและเสริมสรา งความเขมแขง็ ใหช มุ ชน เพ่ือ พฒั นาไปสูค วามมั่นคงและย่ังยืนทางดา นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และส่ิงแวดลอม กกกกกกกก3. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรยี นรแู ละมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วัน รวมท้งั แกป ญหาและพัฒนาคณุ ภาพ ชีวติ ไดอยา งสรา งสรรค กกกกกกกก4. ประชาชนไดร ับการสรา งและสง เสริมใหมนี ิสยั รักการอานเพ่ือการแสวงหาความรูดวย ตนเอง กกกกกกกก5. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รว มจัด สงเสริม และสนับสนนุ การดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทัง้ การขับเคลอ่ื นกิจกรรมการเรยี นรขู องชุมชน กกกกกกกก6. หนว ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใน การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรียนรูและเพม่ิ โอกาสการเรยี นรใู หกบั ประชาชน กกกกกกกก7. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสื่อและการจดั กระบวนการเรยี นรเู พื่อแกปญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปลยี่ นแปลงบรบิ ทดา นเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสง่ิ แวดลอ ม รวมท้งั ตามความตองการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบที่ หลากหลาย กกกกกกกก8. บุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดร ับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏิบตั ิงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางมีประสิทธภิ าพ กกกกกกกก9. หนว ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ตวั ชว้ี ดั ตวั ชี้วัดเชงิ ปรมิ าณ 1. จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานทไ่ี ดรบั การสนบั สนนุ คาใชจา ยตามสทิ ธทิ ี่กาํ หนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปาหมายตา งๆ ท่เี ขารวมกิจกรรมการเรียนร/ู ไดรับบรกิ าร กจิ กรรมการศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทส่ี อดคลองกบั สภาพ ปญ หา และความ ตอ งการ 3. จาํ นวนผูร บั บรกิ ารในพ้นื ท่ีเปา หมายไดรับการสงเสริมดา นการรูหนังสือและการพฒั นา ทกั ษะชีวติ

4. จาํ นวนผูผ า นการอบรมตามหลกั สตู รท่กี าํ หนดของกิจกรรมสรา งเครอื ขายดิจิทัลชมุ ชน ระดบั ตาํ บล 5. จาํ นวนประชาชนไดร บั การอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารดานอาชพี (ระยะสนั้ ) สาํ หรับประชาชนในศูนยอาเซยี นศึกษา กศน. 6. จํานวนประชาชนทไี่ ดร ับการอบรมใหมีความรู ในอาชพี การเกษตรทเ่ี หมาะสมกับสภาพ บริบท และความตองการของพนื้ ท่/ี ชมุ ชน 7. จาํ นวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่วั ไปทเี่ จาถงึ บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั 8. จาํ นวนนกั เรยี น นกั ศกึ ษาทีไ่ ดรบั บรกิ ารตวิ เขมเต็มความรู 9. รอยละของสถานศึกษาที่มีระบบประกันคุณภาพภายใน และมีการจัดทํารายงานการ ประเมนิ ตนเอง 10. รอยละของหนว ยงานและสถานศกึ ษาท่มี ีการใชระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลในการจดั ทาํ ฐานขอมูลชุมชนและการบริหารจดั การเพ่ือสนบั สนนุ การดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 11. จํานวนบุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรบั การพฒั นาเพื่อเพ่มิ สมรรถนะใน การปฏิบัติงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 12. จาํ นวนองคก รภาคสวนตา ง ๆ ท้ังในและตางประเทศ ทรี่ ว มเปน ภาคีเครือขายในการ ดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั ช้วี ดั เชิงคุณภาพ 1. รอยละของกําลังแรงงานที่สาํ เร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน หรอื เทยี บเทา ไดร บั การศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทยี บเทา 2. รอ ยละทเี่ พิม่ ขนึ้ ของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3. รอยละของนกั เรียน/นักศึกษาท่มี ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าที่ไดร บั บริการติวเขม เต็มความรเู พมิ่ สงู ข้นึ 4. รอ ยละของผูเ ขารว มกิจกรรมทสี่ ามารถอา นออกเขยี นไดและคดิ เลขเปนตามจดุ มุงหมาย ของกิจกรรม 5. รอยละผูจบหลักสตู ร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบท่ีสามารถนําความรูความเขาใจไป ใชไ ดตามจุดมงุ หมายของหลักสตู ร/กจิ กรรมท่ีกําหนด 6. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายทลี่ งทะเบียนเขารว มกจิ กรรม มีรายไดเพิ่มขึน้ จาก การพฒั นาอาชพี ตามโครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน 7. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ีผา นการอบรมตามหลักสูตรภาษาองั กฤษเพื่อการ สือ่ สารดานอาชีพ (ระยะส้นั ) มีความรูในการสอื่ สารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยกุ ตใ ชใ นการ ดาํ เนินชวี ิตได

8. รอ ยละของผูเขารบั การอบรมหลักสตู รการดูแลผสู งู อายุกระทรวงศึกษาธิการ ผา นเกณฑ การอบรมตามหลักสูตรท่ีกําหนด 9. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต ไดร ับการพฒั นาศักยภาพ ทักษะอาชีพ สามารถมีงานทําหรือนําไปประกอบอาชีพได 10. รอ ยละของตาํ บล/แขวง ท่มี ปี รมิ าณขยะลดลง 11. รอ ยละการอานของคนไทยเพ่มิ ขนึ้ 12. รอยละของครู กศน. ท่สี ามารถจัดกระบวนการเรยี นรภู าษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารได อยา งสอดคลอ งกับบริบทของผูเ รยี น 13. รอ ยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสของการดาํ เนินงานของ หนวยงาน นโยบายเรง ดวนเพอ่ื รวมขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพฒั นาประเทศ 1. ยุทธศาสตรด านความม่ันคง 1. สงเสรมิ การจัดการเรยี นรูต ามพระบรมราโชบายดานการศึกษาของ รัชกาลท่ี 10 1.1 เสริมสรา งความรูความเขาใจท่ีถูกตองในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข มีความเปนพลเมืองดี เคารพความคิดของผูอืน่ ยอมรับความแตกตาง และหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมทัง้ สงั คมพหุวฒั นธรรม 1.2 สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณความ ยึดม่นั ในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมลูกเสอื กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับ บคุ ลากรในองคก ร 2. พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในเขตพืน้ ท่ีพิเศษ 2.1 เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต และพ้ืนท่ีชายแดน 2.1.1 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมี ความสอดคลองกับบริบทของสังคม วัฒนธรรม และพนื้ ท่ี เพื่อสนบั สนนุ การแกไขปญหาและพัฒนาพ้ืนที่ 2.1.2 เรงจัดทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสําหรับ หนวยงานและสถานศึกษา รวมท้ังบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษ โดยบูรณาการแผน และปฏบิ ตั ิงานรวมกบั หนว ยงานความมั่นคงในพน้ื ท่ี 2.1.3 สง เสริมและสนับสนนุ การจดั กระบวนการเรียนรูในสถาบนั ศกึ ษา ปอเนาะ ในรูปแบบตาง ๆ ท่ีหลากหลายตรงกับความตองการของผเู รียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ การเปดโลกทัศน การยดึ ม่ันในหลักคณุ ธรรมและสถาบันหลักของชาติ 2.1.4 สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะท่ี สงู ข้ึน เพือ่ ใหส ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.2 เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ และพ้นื ทีร่ ะเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก โดย สง เสรมิ การจัดการศึกษาเพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สรา งงานและพัฒนา อาชพี ท่ีเปนไปตามบริบทและความตองการของประชาชนในพ้นื ที่ 2. ยุทธศาสตรดา นการพัฒนากาํ ลงั คน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพื่อสรางขีดความสามารถในการ แขงขนั ของประเทศ 2.1 ขับเคลอื่ น กศน. สู “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรียนรทู ี่ เสรมิ สรา งศักยภาพของประชาชนใหส อดคลองกับการพัฒนาประเทศ 1. พฒั นาความรคู วามสามารถ ทักษะการใชภ าษาอังกฤษของครูและบคุ ลากร และ ขยายผลไปยังการพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรปู แบบตา งๆ อยางเปน รูปธรรม เชน Boot Camp หลกั สตู รภาษาอังกฤษ การจัดหลักสตู รภาษาเพ่ืออาชพี 2. พัฒนาความรแู ละทกั ษะเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล การใช Social Media และ Application ตา งๆ เพื่อพฒั นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 2.2 พัฒนากําลงั คนใหเปน “Smart Digital Persons (SDPs)” ทมี่ ีทกั ษะดา นดิจิทลั เพอ่ื รองรับการพัฒนาประเทศ 1. สงเสริมการจดั การเรียนรูดาน Digital เพ่อื ใหประชาชน มคี วามรพู น้ื ฐานดาน Digital และความรเู ร่ืองกฎหมายวา ดวยการกระทาความผิดเกีย่ วกบั คอมพิวเตอร สาํ หรับการใช ประโยชน ในชวี ติ ประจาวนั รวมทัง้ การพัฒนาและการเขาสอู าชพี 2. สรางความรคู วามเขาใจและทักษะพน้ื ฐานใหก บั ประชาชน เกย่ี วกับการทําธรุ กจิ และ การคาออนไลน (พาณชิ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส) เพ่ือรว มขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั 3. พฒั นาทักษะภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารของประชาชนในรูปแบบตา งๆ อยาง เปนรปู ธรรม โดยเนน ทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ท้งั ในภาคธุรกิจ การบรกิ าร และการทองเที่ยว 3. ยทุ ธศาสตรดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพคนใหม คี ณุ ภาพ กกกกกก 1. เตรียมความพรอมการเขา สสู งั คมผูส งู อายุอยางมีคุณภาพ (Smart Aging Society) 1.1 สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรางตระหนักถึงการเตรียมพรอม เขาสูสังคมผูสูงอายุ (AgeingSociety) มีความเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมท้ังเรียนรูและมีสวน รวมในการดูแลรบั ผดิ ชอบผูสูงอายุในครอบครัวและชุมชน 1.2 พฒั นาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรูสาํ หรับประชาชนในการเตรยี มความ พรอมเขาสวู ัยสงู อายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 1.3 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพ กายและสขุ ภาพจติ และรูจ ักใชประโยชนจากเทคโนโลยี 1.4 สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักด์ิศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพร ภูมิปญญาของผูสูงอายุ และใหมีสวนรวมในกิจกรรมดานตางๆ ในชุมชน เชน ดานอาชีพ กีฬา ศาสนาและ วัฒนธรรม

กกกกกกกก2. สง เสรมิ การจัดการเรยี นรูดา นเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรอื่ ง) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรูดา นเกษตรกรรมที่ เหมาะกับบริบทของพ้ืนทแี่ ละความตองการของชุมชนรวมทั้งการเพ่ิมมูลคาสนิ คาทางการเกษตรและสราง ชอ งทางการจาํ หนายสินคาผา นชอ งทางตา งๆ โดยตระหนกั ถงึ คุณภาพของผลผลิตความปลอดภยั ตอ ระบบนิเวศน ชมุ ชน และผูบริโภค กกกกกกก3. สง เสริมใหม ีการจดั การเรยี นการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education)สาํ หรบั นักศกึ ษาและประชาชน โดยบรู ณาการความรูด านวทิ ยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร เพอื่ ประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจาํ วัน พฒั นาทักษะชีวิตสกู ารประกอบอาชีพ กกกกกกก4. เพม่ิ อตั ราการอา นของประชาชน โดยการจดั กิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนงั สือชุมชน หองสมุดเคล่ือนท่สี ําหรับชาวตลาด ตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใหประชาชนมีความสามารถ ในระดับอานคลอง เขาใจความ คดิ วิเคราะหพ ื้นฐาน และสามารถรบั รูขอมูลขาวสารท่ีถูกตองและทัน เหตุการณ รวมท้งั นําความรทู ่ีไดร ับไปใชประโยชนในการปฏบิ ัตจิ รงิ กกกกกก 5. ศนู ยฝก อาชีพชุมชน สู “วิสาหกจิ ชมุ ชน : ชุมชนพง่ึ ตนเอง ทาํ ได ขายเปน ” 5.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความ ตองการของตลาด รวมทั้งสรางเครือขายการรวมกลุมในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สรางรายไดใหกับ ชมุ ชน ใหช มุ ชนพึง่ พาตนเองได 5.2 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา การทําชองทาง เผยแพรและจาํ หนา ยผลติ ภัณฑของวสิ าหกิจชมุ ชนใหเปนระบบครบวงจร กกกกก 6. จดั กระบวนการเรียนรตู ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสูการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอยาง ยง่ั ยนื 6.1 พัฒนาบุคลากรและแกนนําเกษตรกรในการเผยแพรแ ละจัดกระบวนการเรยี นรู ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสูก ารพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 6.2 จัดตัง้ ศูนยการเรียนรูตนแบบระดบั ตาํ บลดา นเกษตรธรรมชาติสูการพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม เพ่อื ถายทอดความรูดา นเกษตรธรรมชาตสิ ูการพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมใหก บั ชุมชน 6.3 สงเสริมใหมีการบูรณาการระหวาง ศฝช. และ กศน.อําเภอ ในการจัด กระบวนการเรียนรตู ามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู ารพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมใหกับประชาชน 4. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา กกกกกก 4.1. สงเสริมการนําระบบคูปองการศึกษามาใชเพ่ือสรางโอกาสในการเขาถึงบรกิ ารการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชนผูรบั บริการ กกกกก 4.2. สรางกระบวนการเรียนรูในรูปแบบ E-learning ท่ีใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหาร จัดการเรียนรู เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตอ งการของประชาชนผรู บั บริการ

กกกกกก 4.3. เพิม่ อัตราการรหู นังสือและยกระดับการรูหนังสือของประชาชน 1) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ให ประชาชนสามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพ้ืนท่ีหางไกลโดยมีการวัดระดับการรูหนังสือการใชส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสม และสอดคลองกับสภาพพ้ืนที่และ กลุมเปาหมายใหประชาชนสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชนในการใช ชวี ติ ประจาํ วันได 2) ยกระดับการรูหนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรูหนังสือ ในรูปแบบตางๆ รวมท้ังทักษะดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชน กกกกก 4.4 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ ใหจบการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สามารถนําความรูที่ไดร บั ไปพัฒนาตนเองไดอยางตอเน่ือง กกกก 4.5 พลกิ โฉม กศน. ตาํ บล สู “กศน.ตาํ บล 4 G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการ เรียนรู : Good Teacherใหเปนตัวกลางในการเชื่อมโยงความรูกับผูรับบริการ มีความเปน“ครูมือ อาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรู และบริหารจัดการความรูทีด่ ี รวมทั้งเปน ผปู ฏิบตั ิงานอยางมีความสุข 2) พัฒนา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอ้ือตอการเรียนรูอยาง ตอเนื่อง : Good Place Best Check-Inมีความพรอมในการใหบริการการศึกษาและการเรียนรู มีสิ่ง อํานวยความสะดวก เปนแหลงขอมูลสาธารณะที่งายตอการเขาถึง และสะดวกตอการเรียนรูตลอด ชีวิตอยางสรางสรรค ดึงดูดความสนใจ และมคี วามปลอดภยั สําหรับผรู ับบริการ 3) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูภายใน กศน.ตําบล : Good Activitiesใหมีความ หลากหลาย นาสนใจ ตอบสนองความตอ งการของชุมชน เพื่อพัฒนาศกั ยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมทงั้ เปดโอกาสใหชุมชนเขามาจัดกิจกรรมเพ่อื เชอื่ มโยงความสมั พันธข องคนในชมุ ชน 4) เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขายท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครอง สวนทองถ่ิน และการมีสวนรวมของชุมชน : Good Partnershipเพื่อสรางความรู ความเขาใจ และ ความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมี คณุ ภาพ 4.6 ประสานความรวมมือ หนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆท่ีมีแหลงเรียนรูอื่นๆ เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเ รยี นรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เพื่อสงเสรมิ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยให มีรปู แบบท่หี ลากหลาย และตอบสนองความตอ งการของประชาชน 5. ยุทธศาสตรดานสง เสริมและจัดการศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา งคุณภาพชวี ิตที่เปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ ม กกก 5.1. สง เสรมิ ใหม ีการใหความรกู ับประชาชนเกี่ยวกับการปอ งกนั ผลกระทบและปรบั ตวั ตอ การ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ

กกกกก 5.2. สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว การกําจัดขยะและ มลพิษในเขตชมุ ชน กกกกกก 5.3. สงเสริมใหห นวยงานและสถานศึกษาใชพ ลังงานท่ีเปนมิตรกบั ส่ิงแวดลอมรวมทั้งลดการใช ทรัพยากรที่สง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม 6. ยุทธศาสตรดานการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารจดั การ กกก 6.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดา นการศกึ ษาเพื่อการบรหิ ารจัดการอยา งเปนระบบ และเช่อื มโยงกับระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ 6.2 สงเสริมการใชระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองสมุด เปนตน 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อชวยในการบริหารจัดการอยางเต็มรูปแบบ ท้ังระบบการจัดทําแผนปฎิบัติการ และระบบการรายงานผลการดําเนินงานประจําป รวมท้ังระบบ การประกนั คุณภาพของสถานศกึ ษา 6.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลกรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ให ตรงกบั สายงานหรือความชํานาญ ภารกิจตอเน่อื ง 1. ดานการจดั การศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1) สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยดําเนินการใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อตําราเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และ คา เลา เรยี นอยางท่ัวถึงและเพียงพอเพื่อเพ่ิมโอกาสในการรับการศึกษาทม่ี คี ุณภาพโดยไมเสียคาใชจ าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ท้ังระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษาทางไกล 3) จดั ใหม กี ารประเมินเพอ่ื เทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรแู ละ ประสบการณทม่ี คี วามโปรง ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มมี าตรฐานตามท่กี ําหนด และสามารถตอบสนองความ ตอ งการของกลมุ เปา หมายไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) จัดใหกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน ท่ีมีคุณภาพท่ีผูเรียนตองเรียนรู และเขา รวมปฎิบัติกิจกรรมเพื่อเปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรม ท่ีเก่ียวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเน่ือง การ สงเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสาและการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนํา กิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชนอ่นื ๆนอกหลักสูตรมาใชเพิ่มชั่วกจิ กรรมใหผูเรียนจบตามหลักสตู รได

1.2 การสง เสรมิ การรูหนงั สือ 1) พัฒนาระบบฐานขอ มูลผูไ มรูหนงั สือ โดยเฉพาะในเขตพัฒนาพิเศษจงั หวดั ชายแดนใต ใหมคี วามครบถวน ถกู ตอง ทนั สมัยและเปนระบบเดยี วกนั ท้งั สวนกลางและพ้ืนท่ี 2) พฒั นาหลกั สูตร สื่อ แบบเรียนเครือ่ งมือวดั ผลและเครือ่ งมือการดาํ เนนิ งานการ สง เสรมิ การรหู นงั สอื ทีส่ อดคลองกบั สภาพแตละกลมุ เปาหมาย 3) พฒั นาครู กศน.และภาคเี ครอื ขา ยรวมจัด ใหม คี วามรู ความสามารถ และทักษะ กระบวนการเรียนรูใหกับผไู มรหู นงั สืออยางมปี ระสิทธิภาพ และอาจจดั ใหมีอาสาสมคั รการรูหนงั สือใน พื้นทที่ ่ีมีความตองการจาเปนเปนพิเศษ 4) สงเสรมิ สนับสนุนใหสถานศึกษาจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การรูหนังสือ การคงสภาพ การรูหนงั สือการพฒั นาทักษะการรูห นงั สือใหกบั ประชาชนเพ่ือเปน เคร่อื งมอื ในการศึกษาและเรียนรู อยา งตอเนอื่ งตลอดชวี ิตของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอเนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทาอยางยั่งยนื โดยใหค วามสาํ คัญกบั การจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทา และอาชพี ทสี่ อดคลองกบั ศักยภาพของผเู รยี นและศักยภาพของแต ละพื้นท่ี 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ ใหกบั ทกุ กลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุทส่ี อดคลอ งกับความตอ งการจาเปนของแตละคนบุคคล และมุงเนน ใหท ุกกลมุ เปาหมายมี ทักษะการดารงชวี ิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่งึ พาตนเองได มีความรูความสามารถในการ บริหารจดั การชีวิตของตนเองใหอ ยูใ นสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รวมท้งั สามารถใช เวลาวา งใหเปน ประโยชนต อตนเอง ครอบครวั และชุมชน โดยจัดกจิ กรรมการศึกษาในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพฒั นาทักษะชีวิต การจัดตัง้ ชมรม/ชมุ นุม การสงเสรมิ ความสามารถพิเศษตา ง ๆ 3) จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน โดยใชห ลกั สูตรและการจดั กระบวนการเรยี นรูแบบบูรณาการในรูปแบบของการฝก อบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สัมมนา การจดั เวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสรา งชมุ ชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอน่ื ๆ ที่ เหมาะสมกบั กลุม เปาหมาย และบรบิ ทของชมุ ชนแตละพืน้ ที่ โดยเนน การสรางจิตสานึกความเปน ประชาธปิ ไตย ความเปน พลเมอื งดี การสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในชุมชน การบาเพ็ญประโยชน การขบั เคลื่อนการเปน สมาชิกประชาคมอาเซียน การบรหิ ารจดั การนาการรบั มอื กบั สาธารณภัย การ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การขยะมูลฝอยของชุมชน การอนุรักษพลงั งาน การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) สง เสรมิ ใหมีการพฒั นาแหลงการเรียนรใู นระดับตาํ บล เพอื่ การถายทอดองค ความรู และจดั กิจกรรมเพือ่ เผยแพรอ งคความรใู นชุมชนไดอยางทว่ั ถึง 2) จดั กจิ กรรมสง เสรมิ การเรียนรเู พื่อปลูกฝงนสิ ยั รกั การอา น และพฒั นา ความสามารถในการอานและศกั ยภาพการเรยี นรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมาย

3) สง เสรมิ ใหมกี ารสรางบรรยากาศ และสิ่งแวดลอ มที่เอื้อตอ การอานใหเ กดิ ขนึ้ ใน สังคมไทยโดยสนบั สนุนการพัฒนาแหลงการเรียนรใู หเ กิดขึ้นอยางกวางขวางและทัว่ ถงึ เชน พัฒนา หอ งสมดุ ประชาชนทกุ แหงใหเ ปน แหลงเรียนรูตลอดชวี ิตของชุมชน สงเสรมิ และสนบั สนนุ อาสาสมัคร สงเสรมิ การอา น การสรา งเครือขา ยสง เสริมการอาน จัดหนวยบรกิ ารเคล่อื นท่ีพรอมอุปกรณเ พื่อ สง เสรมิ การอา นและการเรียนรูท่ีหลากหลายออกใหบ ริการประชาชนในพ้นื ท่ตี าง ๆ อยางทัว่ ถงึ สมาํ่ เสมอ รวมทงั้ เสริมสรา งความพรอมในดา นส่ืออุปกรณเพ่อื สนบั สนุนการอา น และการจดั กจิ กรรม เพื่อสง เสริมการอา นอยา งหลากหลาย 4) จัดสรา งและพฒั นาศนู ยวิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษา ใหเปน แหลงเรียนรู วทิ ยาศาสตรต ลอดชีวิตของประชาชนและเปน แหลง ทองเที่ยวประจาํ ทอ งถนิ่ โดยจดั สรา งและพฒั นา นทิ รรศการ พัฒนาส่อื ทสี่ รา งแรงบนั ดาลใจสงู และจัดกจิ กรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรู สอดแทรกวิธีการคดิ แบบวิทยาศาสตรการฝก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและปลกู ฝง เจตคติ ทางวิทยาศาสตร โดยบูรณาการความรูด า นวทิ ยาศาสตร ควบคูก ับเทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตรและ คณิตศาสตร อยา งสอดคลอ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริบทของของชุมชน ประเทศ รวมทั้งการเปล่ยี นแปลงระดับภมู ภิ าคและระดบั โลก เพ่ือใหประชาชนมคี วามรู มีความสามารถในการ คิดเชิงวิเคราะห มีทักษะทจ่ี าเปน ในโลกศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการปรับตวั รองรบั การ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงในอนาคตไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ และสามารถนาํ ความรูและทกั ษะไป ประยุกตใชในการดาํ เนนิ ชีวติ การพฒั นาอาชีพ การรักษาส่งิ แวดลอม การบรรเทาและปองกนั ภยั พบิ ัติ ทางธรรมชาติ 2. ดานหลกั สตู ร สื่อ รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมินผล งานบรกิ ารทาง วชิ าการ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสรมิ การพัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรแู ละกิจกรรมเพ่ือ สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีหลากหลาย ทนั สมัย รวมทั้งหลักสูตร ทอ งถ่ินท่ีสอดคลอ งกบั สภาพบรบิ ทของพ้นื ท่ี และความตอ งการของกลุมเปาหมายและชุมชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่อื แบบเรยี น สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละส่อื อ่นื ๆ ทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู ของผเู รียนกลุมเปาหมายทว่ั ไปและกลุมเปาหมายพิเศษ 2.3 พัฒนารปู แบบการจดั การศกึ ษาทางไกลใหมีความทันสมัยดว ยระบบหองเรยี นและ การควบคมุ การสอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรูและ ประสบการณใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปาหมายไดอยาง มปี ระสิทธภิ าพ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สูตร โดยเฉพาะ หลักสตู รในระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการ สอบอิเลก็ ทรอนิกส (e-Exam) มาใชอ ยา งมีประสิทธิภาพ

2.6 สงเสรมิ และสนับสนุนการศกึ ษาวจิ ัย พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กระบวนการ เรียนรู การวดั และประเมินผล และเผยแพรร ปู แบบการจดั สง เสรมิ และสนับสนุนการจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพื่อใหมีการนาไปสูการปฏบิ ัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนา ใหเหมาะสมกบั บรบิ ทอยางตอเนื่อง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดม าตรฐาน เพอ่ื พรอมรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหม ีความรู ความเขา ใจ ตระหนกั ถึงความสําคญั ของ ระบบการประกนั คณุ ภาพ และสามารถดําเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยาง ตอ เนอื่ งโดยใชก ารประเมนิ ภายในดวยตนเอง และจดั ใหม ีระบบสถานศึกษาพ่เี ลย้ี งเขาไปสนับสนนุ อยางใกลช ดิ สาํ หรับสถานศกึ ษาท่ียงั ไมไดเ ขารบั การประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาํ หนด 3. ดา นเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเ พือ่ การศกึ ษาใหเช่ือมโยงและ ตอบสนองตอ การจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือ กระจายโอกาสทางการศึกษาสาํ หรบั กลุมเปาหมายตา งๆ ใหมที างเลอื กในการเรยี นรูท่ีหลากหลายและ มคี ุณภาพ สามารถพฒั นาตนเองใหร เู ทาทันสอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการ พัฒนาอาชีพเพื่อการมงี านทา รายการติวเขมเติมเตม็ ความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวทิ ยุศึกษา สถานี วิทยโุ ทรทัศนเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV)และทางอนิ เทอรเนต็ 3.2 พัฒนาชองทางการเผยแพรการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ผา นระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารแบบออนไลน เพ่ือสงเสรมิ ใหค รู กศน. นําเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารมาใชใ นการสรา งกระบวนการเรยี นรดู ว ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานวี ิทยุศึกษา และสถานโี ทรทศั นเพอื่ การศกึ ษาเพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพการ ผลติ และการออกอากาศใหกลมุ เปาหมายสามารถใชเ ปน ชองทางการเรียนรทู ี่มคี ุณภาพไดอยา ง ตอเนอ่ื งตลอดชีวติ โดยขยายเครือขา ยการรบั ฟงใหสามารถรับฟง ไดทกุ ที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพนื้ ที่ท่ัว ประเทศ และเพม่ิ ชอ งทางใหสามารถรบั ชมรายการโทรทศั นไดท ้งั ระบบ Ku - Band , C - Band และ ทางอนิ เทอรเน็ต พรอ มท่จี ะรองรบั การพฒั นาเปน สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเ พื่อการศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาใหไดหลายชอ งทางทง้ั ทาง อนิ เทอรเน็ตและรปู แบบอนื่ ๆ เชน Application บนโทรศัพทเ คล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน ตน เพื่อใหก ลมุ เปาหมายสามารถเลือกใชบ รกิ ารเพ่ือเขา ถึงโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูไดต ามความตองการ 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลดา นสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอยา งตอ เนอ่ื ง และ นาํ ผลมาใชในการพฒั นางานใหม คี วามถูกตอ ง ทนั สมัยและสามารถสง เสรมิ การศึกษาและการเรียนรู ตลอดชวี ติ ของประชาชนไดอยา งแทจริง

4. ดานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ หรือ โครงการอันเกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ 4.2 จดั ทาํ ฐานขอมูลโครงการและกจิ กรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเก่ียวเนอื่ งจากราชวงศ ท่สี ามารถนาไปใชใ นการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนางานไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 4.3 สงเสรมิ การสรา งเครอื ขายการดาํ เนนิ งานเพือ่ สนับสนนุ โครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริเพ่ือใหเ กดิ ความเขมแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยการเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง” ใหม ีความพรอ มในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา ทที่ ่ีกาํ หนดไวอยางมีประสิทธิภาพ 4.5 จดั และสงเสรมิ การศกึ ษาตลอดชีวติ ใหสอดคลอ งกับวิถชี ีวติ ของประชาชนบนพื้นท่ี สูงถ่นิ ทุรกนั ดาร และพื้นทช่ี ายขอบ 5. ดา นการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พน้ื ที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพื้นที่บริเวณชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลกั สตู ร และกจิ กรรมสง เสริมการศกึ ษาและการเรียนรูท่ี ตอบสนองปญหาและความตองการของกลมุ เปาหมายรวมท้งั อตั ลักษณและความเปนพหุวฒั นธรรม ของพนื้ ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานอยางเขมขนและ ตอเน่อื ง เพื่อใหผ ูเรยี นสามารถนําความรูท ี่ไดรับไปใชป ระโยชนไ ดจ รงิ 3) ใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาจัดใหมมี าตรการดูแลรกั ษาความปลอดภยั แก บคุ ลากรและ นักศึกษา กศน. ตลอดจนผมู าใชบริการอยางทวั่ ถงึ 5.2 พัฒนาการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 1) ประสานความรว มมอื กบั หนว ยงานทเี่ กย่ี วของในการจัดทาแผนการศึกษาตาม ยุทธศาสตรแ ละบรบิ ทของแตละจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จดั ทาํ หลกั สูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพน้ื ที่ โดยเนนสาขาท่ีเปน ความตอ งการ ของตลาด ใหเกิดการพฒั นาอาชพี ไดต รงตามความตองการของพ้ืนที่ 5.3 จัดการศึกษาเพ่ือความมนั่ คงชายแดนของศนู ยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทย บริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝก และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ใหเปน ศูนยฝก อาชพี ชมุ ชนตนแบบดานเกษตรกรรม เปน ศนู ยส าธิตการประกอบอาชีพ ศูนยการเรียนรตู น แบบการ จดั กิจกรรมตามแนวพระราชดํารปิ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดนดว ย วิธีการเรยี นรทู หี่ ลากหลาย

2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชพี โดยใชว ิธีการหลากหลาย ใชร ูปแบบเชิงรกุ เพื่อ การเขาถงึ กลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัด อบรมแกนนาดานอาชีพท่ีเนน เรอื่ งเกษตรธรรมชาติท่สี อดคลองกับบรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ใหแก ประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดานบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี ว นรวมของทกุ ภาคสว น 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหม สี มรรถนะสงู ขึน้ อยางตอเน่ือง ทั้งกอน และระหวา งการดารงตําแหนงเพื่อใหม ีเจตคตทิ ดี่ ใี นการปฏิบัติงาน สามารถปฏบิ ตั งิ านและบรหิ าร จัดการการดาํ เนนิ งานของหนวยงานและสถานศึกษาไดอยา งมีประสิทธภิ าพ รวมทั้งสงเสริมให บุคลากรในสงั กดั พฒั นาตนเองเพอ่ื เล่อื นตําแหนงหรือเลื่อนวิทยฐานะโดยเนน การประเมินวิทยฐานะ เชงิ ประจกั ษ 2) พัฒนาศึกษานเิ ทศก กศน. ใหม สี มรรถนะท่ีจาเปนครบถวน มีความเปนมืออาชพี สามารถปฏบิ ตั ิการนิเทศไดอ ยางมศี ักยภาพ เพื่อรว มยกระดับคณุ ภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในสถานศกึ ษา กศน. 3) พัฒนาหัวหนา กศน. ตําบล/แขวง ใหมสี มรรถนะสงู ขึน้ ในการบริหารจดั การ กศน. ตําบล/แขวงและการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทภารกิจอยา งมีประสิทธภิ าพ โดยเนน การเปน นกั จัดการความรแู ละผูอานวยความสะดวกในการเรยี นรเู พ่ือใหผเู รียนเกิดการเรียนรทู ี่มปี ระสิทธภิ าพ อยางแทจ ริง 4) พฒั นาครู กศน. และผูท่เี กีย่ วของใหส ามารถจดั รปู แบบการเรียนรไู ดอยางมี คุณภาพ โดยสงเสรมิ ใหม ีความรูความสามารถในการจดั ทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมนิ ผลและการวิจัยเบอื้ งตน 5) พฒั นาศักยภาพบุคลากร ท่ีรบั ผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมี ความรูความสามารถและมคี วามเปน มืออาชีพในการจัดบรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวิตของ ประชาชน 6) สง เสรมิ และพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตําบล/แขวง เพอื่ การมสี วน รวมในการบรหิ ารการดําเนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตําบล/แขวง อยางมีประสทิ ธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมคั ร กศน. ใหสามารถทาหนาที่เปน ผูจัด สง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางสมั พันธระหวา งบุคลากร รวมทง้ั ภาคเี ครอื ขา ย ทัง้ ในและตางประเทศในทกุ ระดับ โดยจัดใหมีกจิ กรรมการพฒั นาสมรรถนะ และเสรมิ สราง ความสัมพนั ธภาพและเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการทํางานรวมกันในรปู แบบที่หลากหลายอยา งตอเน่ือง 6.2 การพัฒนาโครงสรา งพนื้ ฐานและอัตรากาํ ลงั 1) จดั ทาํ แผนการพัฒนาโครงสรา งพื้นฐานและดําเนินการปรับปรงุ สถานท่ี และวัสดุ อุปกรณ ใหมคี วามพรอมในการจดั การศึกษาและการเรียนรู

2) บรหิ ารอตั รากําลังทม่ี ีอยูทั้งในสวนทีเ่ ปนขาราชการ พนักงานราชการ และ ลกู จาง ใหเกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุดในการปฏบิ ตั ิงาน 3) แสวงหาภาคเี ครอื ขายในทอ งถิ่นเพ่ือการมีสว นรว มในการดาํ เนนิ กจิ กรรม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั ระดมทรพั ยากรเพอ่ื นามาใชในการปรบั ปรุง โครงสรา งพ้ืนฐาน ใหมีความพรอมสําหรบั ดําเนนิ กจิ กรรมสงเสริมการเรียนรูข องประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอ มูลใหมีความครบถว น ถูกตอง ทันสมยั และเชอ่ื มโยงกันทั่ว ประเทศอยางเปนระบบเพ่อื ใหห นวยงานและสถานศึกษาในสังกดั สามารถนาไปใชเปน เครื่องมือสาํ คญั ในการบริหาร การวางแผนการปฏิบตั งิ าน การตดิ ตามประเมนิ ผล รวมท้ังจดั บรกิ ารการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา งมีประสิทธภิ าพ 2) เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากบั ควบคมุ และเรงรัดการเบิกจา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปา หมายทก่ี ําหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอ มลู รวมของนกั ศึกษา กศน. ใหมคี วามครบถว น ถูกตอ ง ทันสมัย และเชอื่ มโยงกนั ทว่ั ประเทศ สามารถสบื คนและสอบทานไดทนั ความตองการเพ่ือประโยชน ในการจัดการศึกษาใหกับผูเรยี นและการบรหิ ารจดั การอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) สงเสรมิ ใหม กี ารจัดการความรใู นหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทัง้ การศึกษาวิจยั เพื่อสามารถนามาใชในการพฒั นาประสิทธิภาพการดาํ เนินงานท่สี อดคลองกับความ ตอ งการของประชาชนและชมุ ชนพรอ มท้ังพัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแขงขนั ของหนวยงานและ สถานศกึ ษา 5) สรางความรว มมือของทุกภาคสวนท้ังในประเทศและตา งประเทศ ในการพฒั นา และสง เสริมการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวติ 6.4 การกาํ กับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สรา งกลไกการกากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดําเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเช่ือมโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคี เครอื ขายทงั้ ระบบ 2) ใหห นวยงานและสถานศกึ ษาท่เี ก่ียวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากบั ติดตามและรายงานผลการนาํ นโยบายสูการปฏิบตั ิ ใหสามารถตอบสนองการดําเนนิ งานตามนโยบาย ในแตล ะเร่ืองไดอยา งมีประสิทธิภาพ 3) สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร และสื่ออน่ื ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกาํ กับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคารบั รองการปฏิบตั ิ ราชการ ประจําปข องหนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชว้ี ัดในคํารบั รองการปฏิบตั ิ ราชการประจาํ ป ของสํานกั งาน กศน. ใหดําเนินไปอยางมปี ระสิทธิภาพ เปน ไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทก่ี ําหนด

5) ใหม กี ารเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทง้ั หนว ยงานภายในและภายนอก องคกร ตั้งแตส วนกลาง ภูมภิ าค กลุมจงั หวดั จงั หวัด อาํ เภอ/เขต และตําบล/แขวง เพอ่ื ความเปน เอกภาพในการใชข อมลู และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. แนวทาง/กลยุทธการดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ปรัชญา “คดิ เปน ทําเปน เนน ICT” วิสยั ทัศน “จดั การศึกษาตลอดชีวิต ผูกมิตรกบั เครือขา ย กระจายความรสู ชู มุ ชน ทกุ ท่ีทุกเวลาดวย ICT มอี าชพี และแขง ขนั ในประชาคมอาเซยี นอยางยง่ั ยืน\" อตั ลกั ษณ “กาวไปในยุคดจิ ทิ ัล” เอกลกั ษณ “องคกรออนไลน” พนั ธกิจ 1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดบั การศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชว งวยั และพรอมรบั การ เปล่ยี นแปลงบรบิ ททางสงั คม และสรางสงั คมแหงการเรยี นรูตลอดชวี ติ 2. สงเสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครือขา ย ในการมีสวนรว มจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรยี นรูตลอดชวี ิต รวมทัง้ การดาํ เนนิ กิจกรรมของศูนยก ารเรยี นและแหลง การเรยี นรอู ืน่ ในรูปแบบตางๆ 3. สง เสริมและพัฒนาการนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใหเ กิด ประสทิ ธิภาพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหกบั ประชาชนอยางท่ัวถึง 4. พัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื และนวตั กรรม การวดั และประเมินผล

ในทกุ รปู แบบใหส อดคลอ งกบั บรบิ ทในปจจุบนั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การใหมีประสิทธิภาพ เพ่อื มุงจดั การศกึ ษาและ การเรยี นรทู มี่ ีคุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล เปา ประสงค กกกกกกก1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทัว่ ไปไดร ับ โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมคี ุณภาพ อยางเทา เทียมและทั่วถงึ เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความ ตองการของแตละกลมุ เปาหมาย กกกกกกก2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลูกฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปน พลเมืองอนั นําไปสูการยกระดับคณุ ภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชมุ ชน เพือ่ พฒั นาไปสคู วามมั่นคงและยง่ั ยืนทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และส่งิ แวดลอม กกกกกกก3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรูและมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยกุ ตใ ชในชวี ติ ประจาํ วนั รวมทั้งแกปญ หาและพัฒนาคณุ ภาพ ชีวิตไดอ ยา งสรางสรรค กกกกกกก4. ประชาชนไดร บั การสรางและสง เสรมิ ใหม นี ิสัยรกั การอา นเพื่อการแสวงหาความรดู วย ตนเอง กกกกกกก5. ชุมชนและภาคีเครือขา ยทกุ ภาคสว น รว มจดั สงเสริม และสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งาน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรขู องชุมชน กกกกกกก6. กศน.อาํ เภอเมืองชลบรุ ี ตองพัฒนา เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล มาใชใ น การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรียนรูและเพมิ่ โอกาสการเรียนรใู หกบั ประชาชน กกกกกกก7. กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี ตอ งพฒั นาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรเู พ่ือแกป ญหาและ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ทีต่ อบสนองกบั การเปล่ยี นแปลงบริบทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม

ประวตั ิศาสตร และสง่ิ แวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชมุ ชนในรปู แบบท่ี หลากหลาย กกกกกกก8. บคุ ลากร กศน.อําเภอเมอื งชลบุรี ตอ งไดร บั การพฒั นาเพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการ ปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยางมีประสิทธิภาพ กกกกกกก9. กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี ตอ งมรี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล ตวั ช้วี ดั ตวั ช้ีวัดเชิงปริมาณ กกกกกกก1.จาํ นวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐานที่ไดร บั การสนบั สนุน คาใชจายตามสทิ ธทิ ี่กําหนดไว กกกกกกก2. จํานวนกลมุ เปา หมายตา งๆ ที่เขารวมกิจกรรมการเรยี นร/ู ไดร ับบริการกิจกรรมการศกึ ษา ตอ เนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทสี่ อดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตอ งการ กกกกกกก3. จํานวนผูรับบริการในพ้ืนท่ีเปาหมายไดรับการสงเสริมดานการรูหนังสือและการพัฒนา ทักษะชวี ิต กกกกกกก4. รอ ยละการอานของคนไทยเพิ่มขึ้น กกกกกกก5. จาํ นวนนักศึกษาท่ีไดร บั บรกิ ารติวเขมเติมเตม็ ความรู กกกกกกก6. จาํ นวนแหลงเรียนรูในระดับตาํ บลที่มคี วามพรอ มในการใหบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กกกกกก 7. จํานวนประชาชนไดรบั การอบรมตามหลกั สตู รภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารดานอาชพี (ระยะสน้ั ) สําหรบั ประชาชนในศูนยอ าเซยี นศกึ ษา กศน. กกกกก 8. จํานวน นักศึกษาและกลุมเปาหมายเขาถึงบริการความรูนอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ผานชองทางสอ่ื เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร 9. จํานวนผูผานการอบรมตามหลักสูตรที่กําหนดของโครงการสรางเครือขายดิจิทัลชุมชน ระดบั ตาํ บล 10. จํานวนบุคลากรของกศน.อําเภอเมืองชลบรุ ไี ดรับการพัฒนาเพือ่ เพ่มิ สมรรถนะในการ ปฏบิ ตั ิงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

11. กศน.อาํ เภอเมืองชลบรุ มี รี ะบบประกนั คุณภาพภายในและมีการจัดทาํ รายงานการประเมิน ตนเองกกกกกก ตัวชี้วดั เชิงคณุ ภาพ กกกกกกกก1. รอยละที่เพิ่มข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) กกกกกกกก2. รอยละของกําลงั แรงงานที่สาํ เรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน หรือเทียบเทา ไดรบั การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา กกกกกกกก3. รอยละของนักศึกษาที่มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาท่ีไดรับบริการติวเขม เติมเต็มความรู เพิ่มสูงขนึ้ กกกกกกกก4. รอยละผจู บหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบทส่ี ามารถนําความรูความเขา ใจไปใชได ตามจุดมุงหมายของหลักสูตร/กิจกรรมทีก่ ําหนด กกกกกกกก5. รอยละของผูเ ขารว มกิจกรรมที่สามารถอานออกเขยี นไดและคิดเลขเปน เปนไปตาม จดุ มุงหมายของกิจกรรม กกกกกกกก6. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายทลี่ งทะเบียนเรียนที่มีรายไดเ พ่ิมข้ึนจากการพฒั นา อาชีพตามโครงการศูนยฝก อาชีพชุมชน กกกกกกกก7. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายทีผ่ านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการ ส่ือสารดานอาชีพ (ระยะสั้น) มีความรใู นการสื่อสารภาษาอังกฤษ และสามารถนําไปประยุกตใชในการ ดาํ เนินชวี ิตได กกกกกกกก8. รอยละของ กศน.ตาํ บล ที่สามารถดําเนินงานโครงการ/กจิ กรรมตามบทบาทภารกิจที่ รบั ผดิ ชอบไดส ําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไวอยางโปรงใส ตรวจสอบได โดยใชทรัพยากรอยางคุมคา/ตาม แผนท่ีกําหนดไว กลยุทธ 1. มี กศน.ตําบลเปนหลักแหลง 2. มคี อมฯ/อุปกรณครบทุก กศน.ตําบล 3. ใหทุกคนมีความรู ICT 4. มีระบบจัดเก็บ/รายงานผานออนไลน

5. ภายใน1-2 ปต องเปน 1 ใน กศน.จังหวัด 6. ภายใน 3 ปต องเปน 1-5 ของสํานักงาน กศน. การบริหารนาํ ICT สูการปฏิบัติ 1.การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ 2.ข้ันการพัฒนา 3.การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ 1.1 การเปดตัว กศน.ตําบล โดย 1) เชิญสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.),สมาชิกวุฒสิ ภา (ส.ว.) เปนตน 2) นํานักศึกษา กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปจจุบันมีท้ังสนิ้ 4,621 คน 3) เชิญภาคีเครือขาย อาทิเชน โรงเรยี น, อบต., เทศบาล, อบจ. , อําเภอ เปนตน 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตาํ บล ใหเปนแหลง เรียนรดู านดจิ ทิ ลั 1.2 เชิญส.ส./ส.ว. เขารวมทกุ กิจกรรม 1) โครงการเขาคายตาง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวันวิชาการ ของนักศกึ ษา กศน. 3) โครงการ อื่น ๆ 2. ขั้นการพัฒนา 2.1 พฒั นาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเก็บ/รายงานตางๆผา นออนไลน 2.2 พฒั นาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ท้งั 2 กลุมเปา หมาย ตองมีความรู ดาน ICT และสามารถนําไปประยุกตใชได สําหรับใน สว นของนักศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อําเภอเมืองชลบุรี

จะตองประกาศเปนคุณลักษณะอนั พึงประสงค พรอมทั้งใชง บอุดหนุน (กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน) ใน การขับเคลื่อน โดยจัดโครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น ดาน ICT พรอมท้ังจดั ทําสรุปเปน รูปเลม ( 5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผานออนไลน โดยผานทางเครือขา ยอินเทอรเน็ต http://118.172.227.194:7003/choncity/ และ จัดทํา Application รายงานผานทางสมารทโฟน 3.2 รายงานสรปุ ผลเปนรปู เลม (5 บท) จดั ทําสรุปผลโครงการ/กิจกรรม เปนรูปเลม (5บท) เพ่ือรองรับการประเมนิ คุณภาพโดยตน สงั กัด และภายนอก 4. กรอบการจัดโครงการ Smart ONIE เพ่อื สรา ง Smart Farmers สาํ นักงาน กศน. สง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรยี นรูดา น เกษตรกรรมทีเ่ หมาะกับบรบิ ทของพนื้ ที่และความตองการของชุมชน รวมท้ังการเพ่ิมมลู คา สนิ คา ทาง การเกษตร และสรางชอ งทางการจําหนายสนิ คาผานชอ งทางตางๆ โดยตระหนักถงึ คุณภาพของ ผลผลิตความปลอดภยั ดงั น้นั ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมิงชลบุรี โดย กศน. ตําบลหว ยกะป ดําเนนิ การจัดโครงการ Smart ONIE เพอ่ื สรา ง Smart Farmers จาํ นวน 18 ชวั่ โมง ใหก ับเกษตรกรและประชาชนตําบลหว ยกะป ทส่ี นใจไดใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน ณ กศน.ตําบล หวยกะป อาํ เภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี 5.แนวทางการจดั โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สราง Smart Farmers สาํ นกั งาน กศน. หลกั การและเหตุผล นายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ จนั ทรโ อชา) มนี โยบายชว ยเหลอื เกษตรกร โดยชนี้ าํ เกษตรกรไทยตองเปน Smart Farmers คือตอ งนาํ ความรู หลกั วิชาการ และเทคโนโลยสี มยั ใหม เขา มาชวยในการทําเกษตรโดยตองทําใหนอ ยลง ไดผ ลผลติ มากขึน้ ใชพ ้นื ทใี่ หน อยลง ใชน ํ้าใหนอยลง ผลผลติ เพม่ิ ข้นึ สํานกั งาน กศน.จงึ จัดทาํ โครงการ Smart ONIE เพื่อสรา ง Smart Farmers เพ่ือ สง เสรมิ สนบั สนุนใหป ระชาชนไดพ ฒั นาความรูด า นการเกษตร และยกระดับเกษตรกรใหเปน Smart Farmers ตามความเหมาะสมของบรบิ ท และความตองการของทองถน่ิ /ชมุ ชน ผานวิธกี ารและ กระบวนการทห่ี ลากหลาย ทัง้ นี้จึงจัดสรรเงนิ งบประมาณ รายจายประจาํ ป พ.ศ. 2561 ตามโครงการ Smart ONIE เพอื่ สรา ง Smart Farmers ใหแ กสาํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง /กทม. กศน.ตาํ บล

ทกุ แหง /แขวง ๆ ละ 15,200 บาท(หนง่ึ หมืน่ หาพันสองรอ ยบาทถว น) เพ่ือเปนคาใชจ ายในการ ดําเนนิ การอบรมประชาชน ตําบล/แขวง แหง ละ 10 คนขึ้นไป ดังนัน้ กศน.ตาํ บลหว ยกะป ไดเ ล็งเห็นความสาํ คญั จึงไดจ ัดทาํ โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สรา ง Smart Farmers ข้นึ วตั ถปุ ระสงค 2.1. เพ่อื สง เสรมิ ใหเกษตรกรและประชาชนมีความรคู วามเขาใจในการเปน Smart Farmers 2.2. เพอื่ สง เสริมใหเกษตรกรและประชาชนมีความรคู วามเขา ใจในเรื่องการทํา การเกษตร ตามความเหมาะสม ของพืน้ ทแ่ี ละเห็นชองทางหรอื การพัฒนาอาชพี 2.3 เพือ่ สง เสรมิ ใหประชาชนทผี่ านการอบรม สามารถยกระดับเปน Smart Farmers ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ กลุมเปาหมาย ประชาชน ตําบล/แขวง จํานวน 7,424 แหง ๆ ละ 10 คน ข้นึ ไป แนวทางการเบิกจา ยงบประมาณ ใหเ บกิ จายงบประมาณจากแผนบูรณาการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู ตลอดชวี ิตโครงการขยายโอกาสทางการศกึ ษาและเรียนรูตลอดชวี ิต : Smart ONIE เพอ่ื สราง Smart Farmers งบรายจา ยอ่ืน โครงการ Smart ONIE เพ่ือสราง Smart Farmers ปง บประมาณ พ.ศ. 2561 โดยใหเ ปน ไปตามคูมือการจัดกิจกรรมการฝก อบรมประชาชน ตามหลกั เกณฑก ารเบิก คา ใชจ ายในการจัดกจิ กรรมฝก อบรมประชาชนของสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงาน กศน. วิธีการดาํ เนนิ งาน 1. สาํ นักงาน กศน. โอนงบประมาณใหแก สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดทุกแหง/กทม. เพอ่ื เปนคา ใชจ า ยในการดาํ เนินการจดั อบรมประชาชนของ กศน.ตาํ บล/แขวง แหง ละ15,200 บาท 2. ครู กศน.ตาํ บล/แขวง ทุกแหง ดาํ เนินการจดั อบรมใหประชาชนแหงละ 10 คน ข้นึ ไป จํานวน 18 ช่วั โมง(3 วนั ) ใหแลว เสรจ็ ในไตรรมาสท่ี 3 (มถิ ุนายน 2561) โดยใหความรูเบ้อื งตน แกผูเขา รับการอบรม ใหค รบทุกหวั ขอ จาํ นวน 6 หัวขอ ดังน้ี 2.1 ความรูในเรือ่ งที่ทาํ อยใู นพื้นทีข่ องกลมุ เปาหมาย เชน การเปน เกษตรกร หรือกิจกรรมอาชีพ และผลผลิต ในพื้นท่ีของแตละตาํ บล/แขวง 2.2 การเขา ถึงขอมูลเพ่อื ประกอบการตัดสนิ ใจ เชน การเขาถงึ แหลง ขอมลู ผา นทางระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารจาก internet, Mobile Phone, Smart Phone สําหรบั สืบคน ขอ มูลทางการเกษตร 2.3 การบริหารจัดการผลผลติ และการตลาด เชน การบรหิ ารปจ จัยการ ผลติ และการตลาด รวมถึงการจดั การของเหลือจากการผลิตทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ (Zero waste management)

2.4 ความตระหนักถงึ คุณภาพสินคาและความปลอดภยั ของผูบ รโิ ภค เชน ความรดู านกระบวนการผลิตทสี่ อดคลองกบั มาตรฐาน GAP GMP เกษตรอนิ ทรยี  หรอื มาตรฐานอื่น ๆ 2.5 ความรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอ ม/สงั คม เชน มคี วามรูด า นกระบวนการ ผลติ ท่ไี มก อใหเกิดมลภาวะ และไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม (Green Economy) 2.6 ความภูมิใจในความเปน เกษตรกร เชน มีความมุงม่ันในการประกอบ อาชีพ รกั และหวงแหนพนื้ ท่ี และอาชีพทางการเกษตรไวใหร นุ ตอไป มีความสขุ และพึงพอใจในการ ประกอบอาชีพเกษตรโดยการทาํ กจิ กรรมทางการเกษตรในแปลงดว ยตวั เอง และปรับปรุง กระบวนการผลิตทางการเกษตรใหด ีข้นึ จากขอ มูลหรอื องคความรทู ีไ่ ดรับเพิ่มเตมิ และสามารถยืนยนั ไดวาการประกอบอาชีพเกษตรทาํ ใหม รี ายไดม คี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ี อนง่ึ เม่ือดาํ เนนิ การใหค วามร็ครบทกุ หัวขอดังกลา วขางตน แลว ขอใหครู กศน.ตําบล/ แขวง พิจารณา และคัดเลือกหวั ขอ ที่ไดรบั ความสนใจจากกลมุ เปาหมาย เพ่อื ใหความรูเ ชิงลกึ และ เกดิ ประโยชนส งู สุดสามารถนําไปปฏิบัตไิ ดอยา งปน รูปธรรม และพัฒนาใหเปน Smart Farmers ได 3. สังเกตถงึ การเปล่ยี นแปลงของผเู ขารับการอบรมท่ีสามารถนําความรูไ ปประยุกตใช เพื่อ ปง บประมาณตอไป สามารถพฒั นาไปสู Master Trainer ของโครงการ Smart ONIE เพอื่ สราง Smart Farmers รายงานผลการดําเนินงาน 1.เมื่อครู กศน.ตาํ บล/แขวง จัดกิจกรรมเสรจ็ เรียบรอยแลว ขอใหร ายงานผลการจดั กิจกรรม ดังน้ี 1.1 รายงานผลการดาํ เนนิ การในระดับตําบล/แขวง ผานชอ งทาง http://goo.gl/forms/x4J6r0lgCJlROlq73 1.2 รวบรวม และสรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจของผูเขารบั การอบรม ใหกบั กศน.อําเภอ/เขต เพ่ือสรุปสง สํานักงาน กศน.จังหวัดทกุ แหง/กทม. 2. สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง/กทม. ขอใหดําเนนิ การ ดังนี้ 2.1 รายงายผลการจดั กิจกรรมตามแบบรายงานที่ 1 เปน ไฟล Excel และ จัดสง มายังสาํ นักงาน กศน. Email : [email protected] ดังนี้ - รอบที่ 1 ภายในวันท่ี 10 เมษายน 2561 - รอบท่ี 2 ภายในวนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2561 2.2 สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจในภาพรวมของสาํ นักงาน กศน. จังหวัด/กทม. และจัดสง มายังสาํ นกั งาน กศน. ภายในวันท่ี 10 กรกฎาคม 2561 2.3 จัดทาํ สรุปผลการดําเนินงานจัดอบรมโครงการ Smart ONIE เพ่อื สราง Smart Farmers จาํ นวน 1 เลม พรอม CD และจดั สง มายังสํานกั งาน กศน.ภายใน 31 กรกฎาคม 2561

หมายเหตุ : สาํ หรับการอบรมประชาชนของ กศน.ตาํ บล/แขวง สามารถประสานงานกบั สํานกั งานเกษตรอําเภอ/เขต เพือ่ เขา มาเปนวิทยากร หรอื ใหก ารสนับสนุน สอ่ื เอกสารประกอบตา ง ๆ หรือจากหนว ยงานภาคีเครอื ขาย อ่นื ๆ โดยขอใหมีเนอื้ หาท่ีสอดคลองกบั รายละเอียดในการอบรมใน การพัฒนาไปสกู ารเปน Smart Farmers ท้ังนี้ สาํ นักงาน กศน. ไดจัดทําหนงั สือขอความอนเุ คราะห ไปยังกรมสง เสริมการเกษตร ใหการสนบั สนุนบคุ ลากรในพน้ื ท่ี ในการขับเคลื่อนการดาํ เนินกิจกรรม ตามโครงการ Smart ONIE เพ่อื สรา ง Smart Farmers เรยี บรอ ยแลว 3. แนวทาง/วิธีการจัดการกิจกรรมการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสังคมชุมชน การพฒั นาสังคมและชุมชน เปนการศึกษาท่บี ูรณาการความรูและทักษะจากการศึกษาที่ ผูเรียนมอี ยูหรอื ไดรับจากการเขารว มกิจกรรมการศึกษานอกระบบ แลวนาํ ไปใชหเ ปน ปรโยชนต อ การ พฒั นาสังคมและชุมชน โดยมรี ปู แบบการรยี นรูที่หลากหลาย และใชช มุ ชนเปน ฐานในการพัฒนาการ เรียนรขู องคนในชุมชน เชน ประชาธิปไตย สง่ิ แวดลอม วิสาหกิจชมุ ชน เปนตน ดงั น้นั ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเมืองชลบรุ ี โดย กศน. ตําบลนาปา ดําเนนิ การจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โครงการลดโลกรอนดวยมือเรา ใหกบั ประชาชนท่สี นใจ นาํ ความรูค วามเขาใจในเร่ืองเหลานี้ แลวสามารถนาํ ความรูที่ไดร ับไปถา ยทอด กบั คนในครอบครัว เพือ่ ใหตนเองและครอบครวั สามารถฏิบตั ิตนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งอยาง ถกู ตอง 4. 3R พาโลกเยน็ /การบริหารจดั การขยะ 3R พาโลกเยน็ รปู ภาพที่ 1 3R พาโลกเย็น

ขอเลา แจงแถลงไขเพ่ือความเขาใจกันอยา งถวนหนาวา 3R กค็ อื Reduce, Reuse และ Recycle เร่มิ ตนจาก R ตวั แรกคือ Reduce (อานวา ร-ี ดิ๊วส แปลตรงตัววา ลดลง) กค็ ือ การลด ละ เลิก ใชส ง่ิ ของเคร่อื งใชท ่ไี มจ าํ เปน หรือใชจํานวนใหน อ ยลง จากทเี่ คยดึงกระดาษชําระในหอ งนา้ํ มวนๆ เปนปกเบอเรอ ก็ลดลงเหลือแคสามแผนก็พอ หรือจากท่ีเคยใชทชิ ชูเช็ดหนา เชด็ ปาก สง่ั ขม้ี ลู ทัง้ วนั หมดไปเปนกลอง ก็เปลยี่ นมาใชผาเช็ดหนา 1 ผืนใชไดทัง้ วัน รูปภาพท่ี 2 Reduce R ตวั ที่สองตอมาก็คือ Reuse (อานวา ร-ี ยูส แปลตรงตวั วา ใชซา้ํ ) เปน การใชแลวใชอ ีก ใช กนั เขาไปจนกวา จะหมดสภาพการใชง านน้ําอดั ลมขวดลติ ร ด่ืมหมดก็นําขวดไปใสน ้ําเปลาแทน ใช น้ํายาซักผา ลางจาน ก็ใชแ บบถุงเตมิ แทนซื้อใหมแบบขวด หรอื ใชปน โตไปซ้ือขา วแกง กวยเต๋ยี ว จะใช ไมต องเปลอื งถงุ พลาสติก 2 ช้ันทั้งถุงรอนและถุงกอบแกบ และก็ไมต องมาถา ยลงชามอกี กนิ จาก ปน โตไดเ ลย แคล า งใหส ะอาดกซ็ ้อื ใสมากินไดอีกหลายม้ือหลายอิ่ม รูปภาพท่ี 3 Reuse มาถงึ R ตัวสุดทา ยก็คือ Recycle (อา นวา ร-ี ไซ-เคิ้ล ท่ีแปลวา นํากลบั มาใชใ หม) คําฮติ ตดิ หูทีไ่ ดฟงกนั บอยๆ ซ่ึงอาจจะสับสนไดก ับการ Reuse เพราะเปนการนาํ กลับมาใชแลว ใชอกี เหมือนกัน แต Recycle พเิ ศษตรงทตี่ องนาํ ไปแปรสภาพเสยี กอ น อยา งนํ้าอดั ลมขวดลติ ร เมื่อก้ี ตอ งนําตัดขวด ครงึ่ เอาไปทําเปน กระบวยตัดนา้ํ เลี้ยงปลากัด ปลกู ไมป ระดับขนาดเลก็ จึงจะถอื วาเปน recycle แต ถาจะใหช ดั เจนก็คือการนําเอาขยะพลาสติกทั้งหลาย กลับไปเขา กระบวนการหลอมละลาย แลว ข้นึ รปู ใหม กลายเปนถุงดาํ กะละมงั ถังขยะ เปนตน หรอื ไมก็กระดาษขาวใชแ ลวไป recycle ออกมาเปน กระดาษกลอง การที่เราชัง่ กโิ ลขายหนงั สือพิมพกนั มาชว่ั นาตาปก เ็ ปน หน่งึ ในกระบวนการ recycle นน้ั เอง

รปู ภาพที่ 4 Recycle 3R ทง้ั หมดทั้งปวงนี้ ก็เพื่อลดปริมาณขยะทนี่ บั วนั จะทบั ถมกองสงู ข้นึ เปน ภูเขาเลากา จน ไมม ีท่ีจะใหทิง้ อีกแลว ลดมลพิษที่เล็ดลอดมาจากกองขยะ ไหลปนเปอ นไปกับนํา้ ระบายท้ิงสแู มน า้ํ ลาํ คลอง ลดมลพิษจากการเผาขยะ ลดการนําทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชผ ลิตวัสดสุ ่ิงของ และลดปริมาณ สารประกอบคารบอนจากกระบวนการผลิตปลดปลอยสูชัน้ บรรยากาศ เพอื่ จะใหม รี ัพยากรธรรมชาติ ไวใช และโลกใบสวยงามใหอ ยไู ปอีกนาน ๆ ตราบจนชวั่ ลกู ชั่วหลาน การแยกขยะ ขยะมลู ฝอย (Solid Waste) หมายถงึ เศษสิ่งเหลือใชแ ละสิ่งปฏกิ ลู ตา งๆ ซงึ่ เกดิ จาก กจิ กรรมของมนุษยแ ละสัตว รวมถึงสง่ิ อน่ื ใดทเ่ี ก็บกวาดจากถนน ตลาด หรือที่อ่นื ๆ ท้งั จากการผลติ การบริโภค การขบั ถาย การดํารงชีวติ และอ่ืน ๆ ประเภทของขยะ ขยะเปยก หมายถงึ ขยะท่ยี อยสลายไดงาย เชน เศษอาหาร พชื ผกั เปลือกผลไม เปนตน ขยะแหง หมายถึง ขยะท่ียอยสลายไดยาก เชน กระดาษ พลาสตกิ แกว โลหะ เศษผา ไม ยาง เปน ตน ขยะอนั ตราย ไดแก สารเคมี วตั ถมุ ีพิษ ซากถานไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชอ้ื จาก สถานพยาบาล รปู ภาพที่ 5 ขยะเปยก รปู ภาพที่ 6 ขยะแหง รปู ภาพท่ี 7 ขยะอันตราย

แหลงกาํ เนดิ ขยะมูลฝอย ชมุ ชนพกั อาศยั เชน บานเรอื น และอาคารชดุ ยานการคา และบริการ เชน ตลาด รา นคา ธนาคาร หา งสรรพสินคา สถานท่รี าชการ ศาสนสถาน โรงเรยี น โรงพยาบาล โรงงานอตุ สาหกรรม ผลกระทบของขยะมลู ฝอย ปญ หากลน่ิ เหม็นจากขยะมูลฝอยสรางความรําคาญใหแกชุมชนพกั อาศัย แหลง นา้ํ เนาเสีย จากการที่ขยะมูลฝอยมีอินทรียสารเนา เปอ ยปะปนอยู เปน อนั ตรายตอการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยและ สตั วน้ํา รวมทงั้ ผลเสียในดานการใชแ หลงนํา้ เพื่อการนันทนาการ เปน แหลง เพาะพันธุเชอื้ โรคและสัตว นาํ โรคตา งๆ เชน หนู แมลงวนั เปน ตน การกาํ จดั มูลฝอยที่ไมถ ูกหลักวชิ าการจะสรา งความเดือดรอนราํ คาญแกผ ทู ่อี าศยั ขา งเคยี ง รวมทั้งสง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มและสขุ ภาพของประชาชน ทําใหชุมชนขาดความสะอาด สวยงาม และเปนระเบียบ และไมนา อยกู ารสูญเสยี ทางเศรษฐกิจ เชน ชมุ ชนจะตอ งเสียคาใชจา ยในการเก็บขน และกาํ จัดขยะ มูลฝอย คาชดเชยความเสียหายในกรณีท่เี กิดเพลงิ ไหม และคารกั ษาพยาบาลหาก ประชาชนไดร ับโรคภยั ไขเ จบ็ จากพิษของขยะมลู ฝอย แนวทางจัดการขยะมูลฝอย กําจัดขยะมูลฝอยอยางถูกหลักวชิ าการ เชน การเผาในเตาเผาขยะ การฝง กลบอยางถกู สขุ ลักษณะ และการหมักทําปุย เปนตน ซ่ึงแตล ะวธิ ีมีความแตกตา งกันในดานตนทุนการดําเนนิ งาน ความพรอมขององคกร ปริมาณและประเภทของขยะ เปน ตน (ดวู ธิ ีกาํ จดั ขยะ) จัดการขยะ โดยอาศยั หลัก 5 R คอื - Reduce การลดปรมิ าณขยะ โดยลดการใชผ ลิตภัณฑท ่ีมีบรรจุภณั ฑส้ินเปลือง - Reuse การนาํ มาใชซ ํา้ เชน ขวดแกว กลอ งกระดาษ กระดาษพิมพหนาหลงั เปนตน - Repair การซอมแซมแกไขส่ิงของตาง ๆ ใหส ามารถใชง านตอได - Reject การหลกี เล่ยี งใชสง่ิ ท่ีกอ ใหเ กดิ มลพษิ - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวยี นนาํ กลบั มาใชไ ดใ หม โดยนาํ ไปผา นกระบวนการผลติ ใหม อกี คร้ัง การแยกขยะ เพ่ือลดขยะที่ตอ งนําไปกําจดั จรงิ ๆ ใหเ หลือนอยทสี่ ดุ เชน - ขยะแหงบางชนิดท่สี ามารถแปรสภาพนาํ มากลับมาใชไ ดอกี ไดแก ขวดแกว โลหะ พลาสตกิ - ขยะเปย กสามารถนํามาหมักทําปุย นํ้าชีวภาพ - ขยะอันตราย เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย กระปอ งฉีดสเปรย ตอ งมวี ิธีกําจดั ท่ีปลอดภยั สงเสริมการผลติ ท่ีสะอาดในภาคการผลติ โดยลดการใชวัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพม่ิ ศักยภาพ การใชทรพั ยากรหมุนเวียน การนาํ ของเสียกลบั มาใชป ระโยชน และการออกแบบผลิตภณั ฑใหมีอายุ การใชงานไดนานข้ึน สงเสริมใหภาคธุรกจิ เอกชนมสี วนรวมลงทนุ และดําเนินการจดั การขยะ ให ความรแู กป ระชาชนในเรอื่ งการจัดการขยะอยา งถูกหลักวชิ าการรณรงคและประชาสมั พันธ เพ่อื สรา ง

จติ สํานกึ ใหประชาชนเขาใจและยอมรบั วาเปนภาระหนา ท่ีของตนเอง ในการรว มมือกนั จัดการขยะมลู ฝอย ทเ่ี กดิ ขึน้ ในชุมชน การคัดแยก เกบ็ รวบรวมและขนสง ขยะมูลฝอย ในการจดั การขยะมลู ฝอยแบบครบวงจร จําเปนตอ งจัดใหมีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอย ประเภทตางๆ ตามแตล ักษณะองคประกอบโดยมวี ัตถุประสงคเ พ่ือนาํ กลับไปใชประโยชนใหม สามารถดําเนินการไดต ั้งแตแหลงกาํ เนดิ โดยจัดวางภาชนะใหเ หมาะสม ตลอดจนวางระบบการเกบ็ รวบรวมมูลฝอยอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับระบบการคัดแยกขยะมลู ฝอย พรอ มทั้ง พจิ ารณาควรจาํ เปน ของสถานีขนถา ยขยะมูลฝอยและระบบขนสง ขยะมูลฝอยไปกําจัดตอไป หลักเกณฑ มาตรฐาน ภาชนะรองรบั ขยะมูลฝอย ภาชนะรองรบั ขยะมูลฝอย 1) ถังขยะ เพอ่ื ใหการจดั เก็บรวบรวมขยะมลู ฝอยเปน ไปอยางมปี ระสิทธิภาพและลดการปนเปอ นของ ขยะมูลฝอยท่ีมีศักยภาพในการนํากลับมาใชประโยชนใหมจ ะตอ งมีการต้ังจุดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และใหมีการแบงแยกประเภทของถงั รองรบั ขยะมลู ฝอยตามสตี าง ๆ โดยมีถงุ บรรจุภายใน ถงั เพ่ือสะดวกและไมต กหลน หรือแพรกระจาย ดังนี้ รปู ภาพที่ 8 ถังขยะสีเขยี ว สเี ขยี ว รองรบั ขยะทเ่ี นาเสยี และยอยสลายไดเร็ว สามารถนํามาหมักทําปุยได เชน ผกั ผลไม เศษ อาหาร ใบไม รปู ภาพท่ี 9 ถังขยะสีเหลือง สีเหลอื ง รองรบั ขยะทส่ี ามารถนํามารไี ซเคิลหรอื ขายได เชน แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ

รูปภาพที่ 10 ถังขยะสีเทาฝาสม หรือ ถังขยะสีแดง สีเทาฝาสีสม หรือ ถงั ขยะสแี ดง รองรบั ขยะทมี่ ีอันตรายตอสิ่งมชี วี ติ และส่งิ แวดลอม เชน หลอด ฟลอู อเรสเซนต ขวดยา ถา นไฟฉาย กระปองสีสเปรย กระปอ งยาฆาแมลง ภาชนะบรรจุสารอนั ตราย ตาง ๆ รูปภาพที่ 11 ถังขยะสีฟา สีฟา รองรบั ขยะยอยสลายไมได ไมเ ปนพษิ และไมค ุมคาการรีไซเคลิ เชน พลาสติกหอลูกอม ซอง บะหมสี่ ําเร็จรูป ถุงพลาสตกิ โฟมและฟอลยท่ีเปอนอาหาร นอกจากนี้ยังมีถงุ พลาสติกสาํ หรบั รองรับ ขยะมูลฝอยในแตล ะถงั โดยมัดปากถุงสีเดียวกบั ถังทร่ี องรับมลู ฝอยตามประเภทดงั กลา วขา งตน ในกรณที ่ีสถานที่มีพืน้ ที่จํากดั ในการจดั วางภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยและมีจาํ นวนคนทคี่ อนขางมาก ในบริเวณพนื้ ท่ีนั้น เชน ศนู ยการประชุมสนามบิน ควรมีถงั ท่ีสามารถรองรบั ขยะมลู ฝอยไดท้งั 4 ประเภทในถังเดยี วกัน โดยแบงพื้นท่ีของถังขยะมูลฝอยออกเปน 4 ชอ ง และตวั ถงั รองรบั ขยะมลู ฝอย ทาํ ดว ยสแตนเลส มฝี าผิดแยกเปน 4 สี ในแตล ะชอ งตามประเภทของขยะมูลฝอยทร่ี องรับ ดงั นี้ ฝาสีเขียว รองรับขยะมูลฝอยทเี่ นาเสียและยอยสลายไดเรว็ ฝาสเี หลอื ง รองรับขยะมูลฝอยท่ีสามารถนํารีไซเคิล หรอื ขายได ฝาสีแดงรองรบั ขยะมลู ฝอยที่มอี ันตรายตอส่งิ มชี ีวิตและสิง่ แวดลอม ฝาสีฟา รองรบั ขยะมลู ฝอย ที่ยอยสลายไมได ไมเปน พิษและไมค ุมคาการรีไซเคลิ และมีสญั ลักษณ ขางถงั

2) ถุงขยะ สําหรับคดั แยกขยะมูลฝอยฝนครวั เรือนและจะตองมีการคดั แยกรวบรวมใสถงุ ขยะมูลฝอย ตามสีตาง ๆ ดงั ตอไปนี้ ถุงสีเขยี ว รวบรวมขยะมลู ฝอยที่เนาเสยี และยอยสลายไดเรว็ สามารถนาํ มาหมักทําปุยได เชน ผกั ผลไม เศษอาหาร ใบไม ถงุ สีเหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยท่สี ามารถนาํ มารีไซเคิลหรือขายได เชน แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ อลูมิเนยี ม ถงุ สแี ดง รวบรวมขยะมูลฝอยท่ีมอี ันตรายตอ สิ่งมีชีวติ และส่ิงแวดลอม เชน ถา นไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต ขวดยา กระปอ งสีสเปรย กระปองสารฆา แมลง ภาชนะบรรจสุ ารอันตราย ตาง ๆ ถุงสฟี า รวบรวมขยะมลู ฝอยท่ียอ ยสลายไมไดไ มเ ปน พษิ และไมค ุมคาการรไี ซเคลิ เชน พลาสติกหอ ลูกอม ซองบะหมี่สําเร็จรปู ถงุ พลาสติก โฟมและฟอลย ท่เี ปอ นอาหาร เกณฑม าตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย ควรมสี ัดสว นของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใชแลว ไมตาํ่ กวา รอ ยละ 50 โดยนา้ํ หนกั ไมม สี ว นประกอบสารพษิ (toxic substances) หากจาํ เปนควรใชส ารเติมแตง ในปริมาณทน่ี อ ยและ ไมอยูในเกณฑท ่ีเปน อนั ตรายตอ ผูบรโิ ภค มีความทนทาน แขง็ แรงตามมาตรฐานสากล มขี นาด พอเหมาะมีความจเุ พยี งพอตอปริมาณขยะมลู ฝอย สะดวกตอการถายเทขยะมลู ฝอยและการทาํ ความ สะอาดสามารถปองกนั แมลงวัน หนู แมว สนุ ัข และสัตวอืน่ ๆ มใิ หส มั ผัสหรอื คยุ เขย่ี ขยะมลู ฝอยได การลดและการใชป ระโยชนขยะมูลฝอย การลดปริมาณขยะมูลฝอย การลดปริมาณขยะมูลฝอยใหไดผ ลดตี อ งเริ่มตนที่การคดั แยกขยะมลู ฝอยกอนท้ิง เพื่อไมให เกดิ การปนเปอน ทาํ ใหไ ดว สั ดุเหลอื ใชท ี่มคี ุณภาพสูง สามารถนาํ ไป Reused-Recycle ไดงา ย รวมทง้ั ปริมาณขยะมลู ฝอยที่จะตองนาํ ไปกําจดั มปี รมิ าณนอยลงดวย ซึง่ การคดั แยกขยะมลู ฝอย ณ แหลง กําเนิดน้ันตองคํานึงถงึ ความเหมาะสมของแตละชุมชน เชน ครวั เรือน รานคา หางสรรพสนิ คา สํานกั งาน บรษิ ัท สถานทีร่ าชการตาง ๆ เปนตน รวมทงั้ ปริมาณ และลักษณะสมบัติขยะมูลฝอยที่ แตกตางกันดวย ทั้งนีก้ ารคัดแยกขยะมูลฝอยสามารถดาํ เนนิ การได 4 ทางเลือก คือ ทางเลือกที่ 1 การคดั แยกขยะมูลฝอยทุกประเภทและทกุ ชนดิ ทางเลือกที่ 2 การคัดแยกขยะมลู ฝอย 4 ประเภท (Four cans) ทางเลือกที่ 3 การคัดแยกขยะสด ขยะแหง และขยะอนั ตราย (Three cans) ทางเลือกท่ี 4 การคัดแยกขยะสดและขยะแหง (Two cans)

ตารางเปรียบเทียบขอ ดีขอเสียของแตล ะทางเลือก ทางเลอื ก รปู แบบ ภาชนะรองรับ ขอดี ขอ เสยี สรปุ ผลงาน ที่ ขยะมูลฝอย แยกขยะมลู ฝอย แบงตามประเภท วัสดุทน่ี ํากลบั ไป -พาหนะเกบ็ ขน ดมี าก ท่ีใชไ ดไหม ทุก ขยะมลู ฝอย ใชประโยชนมี ตองมี ประเภทและแยก คณุ ภาพดีมาก ประสทิ ธภิ าพสงู ขยะมูลฝอยที่ สามารถเก็บขน 1 ตองนําไปกําจดั มูลฝอยทแี่ ยกได แตละวธิ ีได หมด - เพ่ิมจาํ นวน ภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอยมาก ขนึ้ แยกขยะมูลฝอย แบงเปน ถังขยะรี วัสดทุ ่ีนาํ กลับไป -เพิ่มจํานวน ดี 2 4 ประเภท (Four ไซเคลิ ขยะท่วั ไป ใชประโยชนใหม ภาชนะรองรบั cans) ขยะยอยสลายได มคี ุณภาพดี ขยะมลู ฝอยมาก และขยะอันตราย ขึน้ แยกขยะสด ขยะ แบง เปน ถงั ขยะ งา ยตอ การนํา - วสั ดทุ น่ี าํ พอใช แหง และขยะ สด ขยะแหง ขยะสดไปใช กลับไปใช 3 อนั ตราย (Three และขยะอนั ตราย ประโยชนแ ละ ประโยชนยงั cans) ขยะอันตรายไป ปะปนกนั อยูไมไ ด กําจดั แยกประเภท แยกขยะสดและ แบง เปนถงั ขยะ งา ยตอ การนาํ - สบั สนตอนยิ าม ตองปรบั ปรุง ขยะแหง (Two แหง และขยะ ขยะเปยกใช คาํ วาขยะเปย ก 4 cans) เปยก ประโยชน ขยะแหง ทาํ ใหท ิ้ง ไมถูกตอ งกบั ถัง รองรบั

จากตารางขางตน จะเห็นวา ทางเลอื กท่ี 1 สามารถรวบรวมวัสดุที่จะนาํ มาใชใหมไ ดใน ปริมาณมาก และมคี ณุ ภาพดีมาก แตเน่ืองจากประชาชนอาจจะยงั ไมสะดวกตอการคัดแยกขยะมูล ฝอยทุกประเภท ดงั น้ัน ในเบื้องตนเพื่อเปน การสรา งความคนุ เคยตอการคัดแยกขยะมูลฝอยควรเรมิ่ ที่ ทางเลือกท่ี 2 คือแบงการคดั แยกออกเปน 4 กลมุ (ขยะรีไซเคิล ขยะยอยสลายได ขยะท่ัวไป และขยะ อันตราย) ซงึ่ เปนแนวปฏบิ ตั ิที่สามารถนาํ ขยะมลู ฝอยกลบั ไปใชป ระโยชนไดใ หมและสะดวกตอการ กาํ จัด อยางไรกต็ ามการจะปรับปรุงรูปแบบการจดั วางภาชนะรองรับขยะมลู ฝอยหรอื ไมนนั้ จะตอง ประเมินผลโครงการในระยะแรกกอน การนาํ ขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใ หม การนําขยะมลู ฝอยกลบั มาใชประโยชนใหมม ีอยูหลายวิธขี ึ้นอยูก บั สภาพและลักษณะสมบัติ ของขยะมลู ฝอยซึง่ สามารถสรุปไดเปน 5 แนวทางหลัก ๆ คือ 1. การนําขยะมลู ฝอยกลับมาใชประโยชนใ หม (Material Recovery) เปน การนํามูลฝอยท่ี สามารถคดั แยกไดก ลบั มาใชใหม โดยจําเปนตองผานกระบวนการแปรรปู ใหม (Recycle) หรือแปรรูป (Reuse) ก็ได 2. การแปรรูปเพื่อเปลย่ี นเปนพลังงาน (Energy Recovery) เปน การนาํ ขยะมูลฝอยท่ี สามารถเปลยี่ นเปน พลังงานความรอ นหรือเปล่ียนเปน รูปกา ซชีวภาพมาเพื่อใชประโยชน 3. การนาํ ขยะมลู ฝอยจาํ พวกเศษอาหารที่เหลอื จากการรบั ประทานหรือการประกอบ อาหารไปเลยี้ งสัตว 4. การนําขยะมูลฝอยไปปรบั สภาพใหม ีประโยชนต อการบํารุงรกั ษาดนิ เชน การนําขยะมูล ฝอยสดหรือเศษอาหารมาหมักทําปยุ 5. การนาํ ขยะมลู ฝอยปรับปรุงพ้ืนท่ีโดยนาํ ขยะมูลฝอยมากําจดั โดยวธิ ีฝงกลบอยา งถูกหลัก วชิ าการ (Sanitary landfill) จะไดพนื้ ท่ีสําหรับใชป ลกู พืช สรางสวนสาธารณะ สนามกฬี า เปน ตน 80 วธิ ีหยดุ โลกรอนประชาชนท่วั ไป 1. ลดการใชพลงั งานในบานดวยการปดทวี ี คอมพิวเตอร เครื่องเสียง และเคร่ืองใชไฟฟา ตา ง ๆ เมอื่ ไมไดใชงาน จะชวยลดคารบ อนไดออกไซดไดนับ 1 พนั ปอนดต อป 2. ลดการสูญเสยี พลงั งานในโหมดสแตนดบาย เคร่ืองเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน เครื่อง บนั ทึกวิดีโอ คอมพวิ เตอรตั้งโตะ และอปุ กรณพว งตา งๆ ทต่ี ิดมาดวยการดงึ ปลั๊กออก หรือใชปล๊ักเสียบ พว งท่ตี ดั ไฟดว ยตวั เอง 3. เปลี่ยนหลอดไฟ เปน หลอดไฟประหยัดพลังงานแบบขดที่เรียกวา Compact Fluorescent Lightbulb (CFL) เพราะจะกินไฟเพียง 1 ใน 4 ของหลอดไฟเดิม และมีอายุการใชงาน ไดนานกวา หลายปมาก 4. เปลีย่ นไปใชไ ฟแบบหลอด LED จะไดไฟทส่ี วางกวาและประหยัดกวา หลอดปกติ 40% สามารถหาซ้ือหลอดไฟ LED ทใ่ี ชสาํ หรบั โคมไฟต้ังโตะและต้งั พ้นื ไดด ว ย จะเหมาะกับการใชง านท่ี

ตอ งการใหม แี สงสวา งสองทาง เชน ริมถนนหนา บา น การเปลีย่ นหลอดไฟจากหลอดไสจะชวยลด คารบอนไดออกไซดได 150 ปอนดต อป 5. ชว ยกันออกความเห็นหรอื รณรงคใหรฐั บาลพจิ ารณาขอดขี อ เสียของการเรียกเก็บภาษี คารบอนกับภาคการผลิต ตามอัตราการใชไฟฟาทผี่ ลติ จากเชอ้ื เพลงิ ฟอสซลิ รปู แบบตา งๆ หรือการใช กา ซโซลีน เปน รูปแบบการใชภ าษีทางตรงที่เชอ่ื วา หากโรงงานตอ งจา ยคาภาษีแพงข้ึนก็จะลดการใช เชื้อเพลิงฟอสซิลในกระบวนการผลิตลง ซง่ึ จะชว ยลดปรมิ าณการปลอ ย CO2 ลงไดป ระมาณ 5% 6. ขับรถยนตส ว นตัวใหนอยลง ดวยการปน จักรยาน ใชร ถโดยสารประจาํ ทาง หรือใชการ เดนิ แทนเม่ือตองไปทาํ กิจกรรมหรือธรุ ะใกล ๆ บาน เพราะการขับรถยนตนอยลง หมายถึงการใช น้าํ มนั ลดลง และลดการปลอยคารบอนไดออกไซดดว ย เพราะนํา้ มันทุกๆ แกลลอนท่ปี ระหยดั ได จะ ลดคารบอนไดออกไซดได 20 ปอนด 7. ไปรวมกนั ประหยัดนํ้ามันแบบ Car Pool นดั เพือ่ นรวมงานที่มีบานอาศัยใกล ๆ นั่ง รถยนตไปทํางานดวยกัน ชว ยประหยดั นาํ้ มัน และยังเปน การลดจาํ นวนรถตดิ บนถนน ชวยลดการ ปลอยคารบอนไดออกไซดทางออมดวย 8. จดั เสน ทางรถรับสง พนักงาน ถา ในหนวยงานมีพนักงานจํานวนมากอาศยั อยใู นเสนทาง ใกลๆ กัน ควรมีสวัสดิการจัดหารถรับสงพนักงานตามเสน ทางสําคัญๆ เปน Car Pool ระดับองคกร 9. เปด หนาตา งรับลมแทนเปดเคร่อื งปรับอากาศ ลดการปลดปลอยคารบ อนไดออกไซด จากการใชไฟฟาเพ่อื เปดเคร่อื งปรบั อากาศ 10. มองหาผลติ ภณั ฑทมี่ ีสญั ลักษณช วยรักษาส่งิ แวดลอ ม เชน ปา ยฉลากเขียว ประหยัดไฟ เบอร 5 มาตรฐานผลิตภณั ฑคุณภาพสินคา เกษตรอนิ ทรีย เพราะการจะไดใบรับรองนัน้ จะตองมีการ ประเมนิ สินคาตั้งแตเรมิ่ ตนหาวตั ถุดบิ 11. ไปตลาดสดแทนซูเปอรมารเกต็ บาง ซ้ือผกั ผลไม หมู ไก ปลา ในตลาดสดใกลบา น แทนการชอ็ ปปง ในซูเปอรมารเกต็ บา ง ท่ีอาหารสดทุกอยา งมีการ***บหอ ดวยพลาสติกและโฟม ทาํ ให เกดิ ขยะจํานวนมาก 12. เลือกซ้ือเลือกใช เม่อื ตองซ้ือรถยนตใชในบา น หรือรถยนตประจําสาํ นกั งานก็หันมา เลอื กซื้อรถประหยัดพลังงาน รวมทง้ั เลือกอปุ กรณเคร่ืองใชไฟฟาท่มี ฉี ลากประหยดั ไฟ ท้ังในบานและ อาคารสาํ นักงาน 13. เลือกซ้ือรถยนตทม่ี ขี นาดตามความจาํ เปน โดยพิจารณาจากขนาดครอบครวั และ ประโยชนการใชง าน รวมทั้งพิจารณารนุ ท่ีเปน มิตรกบั สิ่งแวดลอ มมากทสี่ ุด เพือ่ เปรยี บเทียบราคา 14. ไมจ ําเปน ก็ไมตอ งเลือกรถโฟวว ลี ขับเคลอ่ื นแบบ 4 ลอ เพราะกินนํา้ มันมาก และ ตะแกรงขนสมั ภาระบนหลงั คารถกไ็ มใชส่งิ จาํ เปน เพราะเปนการเพิ่มนํ้าหนกั รถใหเ ปลอื งนา้ํ มัน 15. ขับรถอยางมีประสทิ ธิภาพ ในระยะทางไกลการขับรถดว ยความเร็วไมเกิน 90 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง จะชวยลดการใชน าํ้ มันลงได 20% หรอื คดิ เปนปรมิ าณคารบอนไดออกไซดท่ีลดได 1 ตนั ตอ รถยนตแตล ะคันทใี่ ชงานราว 3 หมน่ื กโิ ลเมตรตอ ป 16. ขับรถเทีย่ วไปลดคารบ อนไดออกไซดไปพรอมกัน เพราะมีบรษิ ัทเชารถใหญๆ 2-3 ราย มรี ถรุนเปน มิตรกับสงิ่ แวดลอ มที่ใชเอทานอล หรือน้ํามนั เชื้อเพลิงทางเลอื กอ่ืนๆ ดว ย ลองสอบถาม บรษิ ัทรถเชา เมื่อเดนิ ทางไปถงึ

17. เลือกใชบ ริการโรงแรมทีม่ ีสญั ลกั ษณส ง่ิ แวดลอม เชน มีมาตรการประหยดั นา้ํ ประหยัด พลงั งาน และมรี ะบบจัดการของเสยี มองหาปายสัญลักษณ เชน โรงแรมใบไมส ีเขียว มาตรฐาน ผลิตภณั ฑค ณุ ภาพ 18. เชก็ ลมยาง การขบั รถท่ียางลมมีนอ ยอาจทําใหเ ปลืองนํ้ามันไดถงึ 3% จากภาวะปกติ 19.เปลี่ยนมาใชพลังงานชวี ภาพ เชน ไบโอดเี ซล เอทานอล ใหมากขึน้ 20. โละท้งิ ตูเ ย็นรนุ เกา ตูเย็นที่ผลติ เม่อื 10 กวา ปท แ่ี ลว เพราะใชไ ฟฟามากเปน 2 เทาของ ตูเ ย็นสมัยใหมท่ีมีคณุ ภาพสูง ซงึ่ ชว ยประหยดั คาไฟลงไดม าก และลดการปลอยคารบ อนไดออกไซด 100 กโิ ลกรมั ตอป 21. ยดื อายุตเู ยน็ ดวยการใชป ระโยชนอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ ประหยดั พลังงานใหต เู ยน็ ดว ย การใชอ ยางฉลาด ไมนําอาหารรอนเขาตเู ยน็ หลีกเลย่ี งการนาํ ถงุ พลาสติกใสของในตูเย็น เพราะจะทาํ ใหตูเ ยน็ จายความเย็นไดไ มท ว่ั ถึงอาหาร ควรยา ยตเู ย็นออกจากหอ งที่ใชเ ครื่องปรบั อากาศ ละลาย นาํ้ แขง็ ท่เี กาะในตูเย็นเปน ประจาํ เพราะตเู ย็นจะกินไฟมากขึน้ เมื่อมนี า้ํ แข็งเกาะ และทําความสะอาด ตูเ ย็นทุกสัปดาห 22. ริเริ่มใชพ ลงั งานทางเลอื กในอาคารสาํ นกั งาน เชน ติดตั้งแผงโซลารเซลลเ พ่ือใช พลังงานจากแสงอาทิตยใ นการผลิตกระแสไฟฟาเฉพาะจดุ 23. ใชแสงแดดใหเปน ประโยชน ในการตากเสื้อผาทซ่ี ักแลวใหแหง ไมค วรใชเครื่องปน ผา แหงหากไมจ าํ เปน เพ่ือประหยัดการใชไฟฟา 24. ใชน ้าํ ประปาอยางประหยัด เพราะระบบการผลติ นาํ้ ประปาของเทศบาลตา งๆ ตองใช พลงั งานจาํ นวนมากในการทาํ ใหน้าํ สะอาด และดาํ เนนิ การจัดสงไปยงั อาคารบา นเรือน 25. ติดตงั้ ฝกบวั อาบน้ําท่ปี รับความแรงน้ําตาํ่ ๆ ได เพ่ือจะไดเปลืองน้าํ อุน นอยๆ (เหมาะทั้ง ในบา นและโรงแรม) 26. ติดตั้งเคร่ืองตดั กระแสไฟฟาอตั โนมัติ ชว ยประหยดั พลังงานไฟฟาและลดปรมิ าณการ ปลดปลอ ยคารบอนไดออกไซดท เ่ี กิดข้ึนจากโรงผลิตกระแสไฟฟา 27. สรา งนโยบาย 3Rs- Reduce, Reuse, Recycle ท้ังในบานและอาคารสาํ นักงาน เพอื่ ใหเกิดการใชประโยชนทรัพยากรอยา งเต็มที่ เปน การลดพลังงานในการกําจดั ขยะ ลดมลพษิ และ ลดปริมาณการปลอยกา ซเรอื นกระจกในกระบวนการกําจดั 28. ปองกนั การปลอยกาซมีเทนสบู รรยากาศ ดว ยการแยกขยะอินทรยี  เชน เศษผัก เศษ อาหาร ออกจากขยะอืน่ ๆ ที่สามารถนาํ ไปรีไซเคิลไดมาใชใหเกดิ ประโยชน 29. ทาหลงั คาบานดว ยสอี อน เพอื่ ชวยลดการดดู ซับความรอน 30. นาํ แสงธรรมชาติมาใชในอาคารบานเรือน โดยใชก ารออกแบบบาน และตําแหนง ของ ชอ งแสงเปน ปจ จัย ซง่ึ จะชว ยลดจํานวนหลอดไฟและพลงั งานไฟฟา ที่ตองใช 31. ปลกู ตน ไมในสวนหนา บา น ตน ไม 1 ตน จะดูดซับคารบอนไดออกไซดได 1 ตัน ตลอด อายขุ องมัน 32. ปลกู ไผแทนรวั้ ตน ไผเ ตบิ โตเรว็ เปนรัว้ ธรรมชาตทิ ี่สวยงาม และยังดูดซบั คารบ อนไดออกไซดไดด ี

33. ใชร ม เงาจากตนไมช วยลดความรอ นในตวั อาคารสาํ นักงานหรือบานพักอาศยั ทาํ ให สามารถลดความตองการใชเ ครื่องปรับอากาศ เปน การลดการใชไฟฟา 34. ไมใชป ยุ เคมใี นสวนไมป ระดับท่ีบาน แตข อใหเลือกใชปุยหมักจากธรรมชาตแิ ทน 35. ลดปริมาณการใชถ งุ พลาสติก เพราะถุงพลาสติกไมสามารถยอยสลายไดเ องตาม ธรรมชาติ และการเผากําจัดในเตาเผาขยะอยา งถูกวธิ ตี องใชพลังงานจาํ นวนมาก ซึ่งทาํ ใหม ีกาซเรือน กระจกเพ่มิ ในบรรยากาศ 36. เลอื กซื้อสินคา ท่ีมี***หอ นอยๆ ***หอหลายช้นั หมายถงึ การเพ่ิมขยะอีกหลายชิ้นท่ี จะตอ งนําไปกําจดั เปน การเพ่ิมปริมาณกาซเรือนกระจกสบู รรยากาศโดยไมจ ําเปน 37. เลือกใชผ ลติ ภัณฑท ี่ซ้อื เติมใหมได เพ่ือเปน การลดขยะจาก***บหอ ของบรรจภุ ณั ฑ 38. ใชกระดาษทั้ง 2 หนา เพราะกระบวนการผลติ กระดาษแทบทุกขน้ั ตอนใชพ ลังงานจาก น้าํ มนั และไฟฟาจาํ นวนมาก 39.เลอื กใชก ระดาษรีไซเคิล กระดาษรีไซเคลิ ชวยลดขน้ั ตอนหลายขนั้ ตอนในกระบวนการ ผลติ กระดาษ 40.ตั้งเปา ลดการผลติ ขยะของตัวเองใหได 1 ใน 4 สว น หรือมากกวา เพ่อื ชว ยประหยดั ทรพั ยากรและลดกา ซเรอื นกระจกไดอ ีกจํานวนมาก เมื่อลองคูณ 365 วัน กับจาํ นวนปทีเ่ หลอื กอน เกษียณ 41. สนบั สนุนสนิ คาและผลิตผลจากเกษตรกรในทองถิน่ ใกลบ าน ชว ยใหเกษตรกรในพนื้ ท่ี ไมตองขนสง ผลิตผลใหพ อคาคนกลางนําไปขายในพนื้ ที่ไกล ๆ 42. บริโภคเนื้อวัวใหนอ ยลง ทานผัก (ปลอดสารพิษ) ใหมากข้นึ ฟารมเล้ยี งวัว คือ แหลง หลกั ในการปลดปลอยกาซมเี ทนสบู รรยากาศ หันมารบั ประทานผักใหม ากข้ึน ทานเนื้อวัวใหนอ ยลง 43. ทานสเตก และแฮมเบอรเ กอรในรานใหญๆ ใหนอยลง เพราะอุตสาหกรรมเนอ้ื ระดบั นานาชาติ ผลิตกาซเรือนกระจกถงึ 18% สาเหตหุ ลักก็คือไนตรสั ออกไซดจ ากมลู วัวและมเี ทน ซง่ึ ถูก ปลดปลอยออกมาจากลักษณะทางธรรมชาติของววั ท่ียอยอาหารไดช า (มีกระเพาะอาหาร 4 ตอน) มีเทนเปน กาซเรอื นกระจกท่ีทําใหเ กดิ ปฏิกริ ิยาเรือนกระจกไดม ากกวาคารบ อนไดออกไซดถึง 23 เทา ในขณะที่ไนตรัสออกไซดก อผลไดม ากกวา คารบ อนไดออกไซด 296 เทา 44. ชักชวนคนอื่นๆ รอบขางใหช ว ยกันดแู ลส่งิ แวดลอมและลดปญ หาภาวะโลกรอ น ให ความรคู วามเขาใจและชักชวนคนใกลตวั รวมทงั้ เพอื่ นบานรอบๆ ตัวคณุ เพือ่ ขยายเครือขา ยผูรวม หยดุ โลกรอ นใหก วางขวางข้นึ 45. รว มกจิ กรรมรณรงคสิ่งแวดลอมในชมุ ชน แลว ลองเสนอกจิ กรรมรณรงคใหความรูและ กระตนุ ใหเกดิ การรว มมอื เพ่ือลงมือทํากิจกรรมสิ่งแวดลอมทตี่ อเน่ือง และสง ผลใหคนในชุมชนมี คณุ ภาพชีวิตทีด่ ีขึ้น 46. เลอื กโหวตแตพ รรคการเมืองที่มีนโยบายสง่ิ แวดลอ มที่ชัดเจน จรงิ ใจ และตงั้ ใจทําจริง เพราะนักการเมอื งคือคนทเ่ี ราสงไปเปน ตวั แทนทาํ หนา ทใ่ี นสภาผูแทนราษฎร โปรดใชป ระโยชนจาก พวกเขาตามสิทธิท่ีคุณมี ดว ยการเลือกนักการเมืองจากพรรคการเมืองท่ีมีนโยบายชัดเจนเรือ่ ง สิง่ แวดลอมและการลดปญ หาโลกรอน 47. ซือ้ ใหน อยลง แบงปนใหมากข้นึ อยูอยา งพอเพียง

48. ลดการเผาปา หญา ไมร ิมทุง และตน ไมชายปา เพือ่ กําจัดวัชพชื และเปดพน้ื ที่ทํา การเกษตร เพราะเปนการปลอยคารบอนไดออกไซดออกสบู รรยากาศจํานวนมาก นอกจากน้ันการตัด และเผาทาํ ลายปายังเปน การทําลายแหลงกักเกบ็ กาซคารบอนไดออกไซดท ่ีสําคญั 49. ปลูกพืชผกั ใหห ลากหลายและปลกู ตามฤดูกาลในทองถ่ิน เปนการลดการปลูกพืชผัก นอกฤดกู าลท่ีตองใชพลงั งานเพอื่ ถนอมอาหาร และผา นกระบวนการบรรจเุ ปนอาหารกระปอง 50.รวมกลมุ สรา งตลาดผบู ริโภค-ผูผลิตโดยตรงในทองถน่ิ เพื่อลดกระบวนการขนสง ผาน พอคาคนกลาง ท่ตี องใชพ ลงั งานและนํา้ มนั ในการคมนาคมขนสงพชื ผักผลไมไปยงั ตลาด 51.ลดการใชส ารเคมีในการเกษตร นอกจากจะเปนการลดปญหาการปลดปลอ ยไนตรัส ออกไซดส บู รรยากาศโลกแลว ในระยะยาวยังเปน การลดตนทุนการผลติ และทําใหคุณภาพชวี ติ ของ เกษตรกรดขี ้ึน โปรดปรึกษาและเรยี นรูจากกลุมเกษตรกรทางเลือกที่มีอยูเ ปน จาํ นวนมากในประเทศ ไทย สถาปนิกและนกั ออกแบบ 52. ออกแบบพิมพเ ขยี วบา นพักอาศยั ทสี่ ามารถชว ย “หยุดโลกรอ น” การลดปริมาณกาซ เรือนกระจก โดยคดิ ถงึ การติดตัง้ ระบบการใชพลังงานท่ีงา ย ไมจ ําเปน ตองใชเทคโนโลยีสูงๆ แตใ ชง าน ไดจริง ลองคิดถึงวิธีการท่คี นรุนปูยาใชใ นการสรา งบานสมัยกอน ซง่ึ มกี ารพ่งึ พาทศิ ทางลม การดูทศิ ทางการขึน้ -ตกของดวงอาทติ ย อาจชวยลดคา ใชจา ยเร่อื งพลังงานในบา นไดถึง 40% 53.ชวยออกแบบสรางบานหลังเล็ก บา นหลังเล็กใชพ ลงั งานนอ ยกวา บานหลงั ใหญ และใช วัสดอุ ปุ กรณการกอสรางนอยกวา สอื่ มวลชน นักส่ือสารและโฆษณา 54. ใชค วามเชยี่ วชาญในวิชาชีพเพื่อใหความรู และสรางความตระหนักกับ สาธารณชนเกย่ี วกับปญหาภาวะโลกรอน และทาํ ใหก ารเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศเปน ประเด็นของ ทอ งถ่ิน 55. สรา งความสนใจกบั สาธารณชน เพอ่ื ทําใหประเดน็ โลกรอนอยใู นความสนใจของ สาธารณชนอยา งตอ เนอื่ ง 56. ชวยกนั เลา ความจรงิ เร่อื งโลกรอ น โปรดชวยกันสื่อสารใหป ระชาชนและรัฐบาลเขา ใจ สถานการณจ ริงทเี่ กดิ ขึน้ 57. เปนผูนํากระแสของสังคมเร่ืองชวี ิตทพี่ อเพียง ตน ตอหน่ึงของปญหาโลกรอ นกค็ ือ กระแสการบรโิ ภคของผคู น ทําใหเ กิดการบริโภคทรพั ยากรจํานวนมหาศาล ชวี ิตทย่ี ึดหลักของความ พอเพยี ง โดยมฐี านของความรแู ละคุณธรรมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง จงึ นา จะเปน หนทาง ปอ งกนั และลดปญ หาโลกรอนทส่ี งั คมโลกกําลงั เผชิญหนา อยู 58. ใชค วามคิดสรา งสรรคเ พื่อรว มรบั ผดิ ชอบสังคม ออกแบบงานโฆษณาทส่ี อดแทรก ประเด็นปญหาของภาวะโลกรอนอยา งมรี สนิยม เร่ืองที่เปน จรงิ และไมโ กหก

ครู อาจารย 59. สอนเดก็ ๆ ในข้นั เรยี น เกี่ยวกบั ปญหาโลกรอน 60. ใชเทคนิคการเรยี นรูหลากหลายจากกิจกรรม ดกี วาสอนโดยใหเดก็ ฟงครูพูดและ ทองจําอยา งเดยี ว นกั วิจัย นักวิทยาศาสตร และวิศวกร 61. คนควา วจิ ยั หาแนวทางและเทคโนโลยีใหมท่ีมีประสิทธิภาพในการลดการปลดปลอ ย กาซคารบอนไดออกไซด 62. ศึกษาและทําวิจัยในระดับพน้ื ท่ี เพื่อใหมีขอมลู ที่ชดั เจนเกย่ี วกบั ผลกระทบของภาวะ โลกรอนตอ พ้นื ทเ่ี สี่ยงของประเทศไทย 63. ประสานและทํางานรว มกับนกั สอ่ื สารและโฆษณา เพื่อแปลงขอ มลู ทางวิทยาศาสตร ไปสูการรบั รูและเขา ใจของประชาชนในสังคมวงกวาง นักธรุ กิจ อุตสาหกรรมและบริการ 64. นํากาซมเี ทนจากกองขยะมาใชประโยชนเ ชิงพาณิชย ดวยการลงทุนพฒั นาใหเปน พลังงานทดแทนท่ีมปี ระสิทธิภาพ แตม ตี นทนุ ตํา่ 65. สนบั สนุนนกั วิจยั ในองคกร คนควาผลติ ภัณฑท ่เี ปน มิตรกับสิ่งแวดลอ ม และมี ประสทิ ธิภาพในการลดการใชพลังงานจากเช้ือเพลิงฟอสซลิ 66. เปนผูนาํ ของภาคธรุ กิจอตุ สาหกรรมทช่ี วยรกั ษาส่ิงแวดลอ ม หากยังไมมีใครเรมิ่ ตน โครงการทช่ี วยหยุดปญหาโลกรอนอยา งจริงจงั กจ็ งเปน ผนู ําเสียเอง 67. สรางแบรนดอ งคก รทเี่ นน การดแู ลและใสใจโลก ไมใชแคก ารสรา งภาพลักษณภายนอก แตเ ปนการสรางความเช่อื มั่นเรือ่ งความรบั ผิดชอบทมี่ าจากภายในองคกร นกั การเมือง ผูวา ราชการฯ และรฐั บาล 68. วางแผนการจดั หาพลังงานในอนาคต รัฐจาํ เปน ตอ งมกี ารวเิ คราะหทางเลือกเพ่ือมุง จดั การแกไขปญหาพลังงานและสง่ิ แวดลอม ท่ีมองไปขา งหนา อยางนอยท่สี ดุ 50 ป 69. สนบั สนนุ ใหม กี ารพฒั นาการใชพ ลงั งานแสงอาทิตย ทั้งการสนบั สนุนงบประมาณใน การวิจัย และการพัฒนาระบบใหมตี นทุนตาํ่ และคุมคา ในการใชง าน 70. สนับสนุนกลไกตางๆ สําหรับพลงั งานหมุนเวียน เพื่อสรา งแรงจงู ใจในการปรับปรงุ เทคโนโลยแี ละการลดตนทุน 71. สนบั สนนุ อุตสาหกรรมพลงั งานหมนุ เวยี น เพ่ือกระตุนใหเ กิดการลงทนุ ของภาคเอกชน รฐั บาลควรหามาตรการท่ชี ัดเจนในการสนับสนุนอุตสาหกรรมหมนุ เวยี น ซง่ึ เปน พลงั งานสะอาด เชน พลงั งานแสงอาทติ ย พลังงานลม เพื่อใหส ามารถแขงขันกบั อุตสาหกรรมพลังงานอน่ื ๆ ทใี่ ชพ ลงั งาน จากเชื้อเพลิงฟอสซลิ ท่ีเปน สาเหตหุ ลกั ของการปลอยคารบ อนไดออกไซดสูบรรยากาศ

72. มนี โยบายทางการเมืองที่ชัดเจนในการสนับสนุนการ “หยุดภาวะโลกรอน” เสนอตอ ประชาชน 73. สนับสนุนโครงสรางทางกายภาพ เมือ่ ประชาชนตระหนักและตองการเขามามีสว นรวม ในการลดการปลอยกา ซคารบอนไดออกไซด เชน จดั การใหมโี ครงขา ยทางจกั รยานที่ปลอดภยั ใหก ับ ประชาชนในเมืองสามารถขับขีจ่ กั รยาน ลดการใชรถยนต 74. ลดจาํ นวนรถยนตส ว นตวั บนถนนในกรงุ เทพมหานครอยา งจรงิ จัง ดวยการสนับสนนุ ระบบขนสง มวลชนท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ 75. สง เสริมเครอื ขา ยการตลาดใหกบั กลมุ เกษตรกรทางเลือก เกษตรกรจํานวนมากเปน ตวั อยา งทด่ี ีของการลดปญ หาโลกรอ น ดวยการลดและเลิกการใชสารเคมที ี่ทําใหเ กิดการปลดปลอ ยไน ตรสั ออกไซดสบู รรยากาศโลก ซึง่ การสง เสรมิ การตลาดสีเขียวดว ยการสรางเครอื ขายการตลาดท่ี กระจายศูนยไปสูกลุมจงั หวดั หรอื ภมู ภิ าค จะชวยลดการปลอ ยคารบ อนไดออกไซดจากกระบวนการ ขนสง ผลผลติ ไปยงั ตลาดไกลๆ อีกดวย 76. รเิ รมิ่ อยา งกลา หาญกบั ระบบพลังงานแบบกระจายศูนย เพ่ือลงทุนกับทางเลือกและ ทางรอดในระยะยาว 77. พิจารณาใชก ฎหมายการเก็บภาษีเปนเคร่ืองมือในการควบคุมปรมิ าณกา ซเรือนกระจก โดยเฉพาะคารบอนไดออกไซด เชน การเกบ็ ภาษีคารบ อน (Carbon Tax) สาํ หรับภาคอุตสาหกรรม 78. เปลยี่ นแปลงระบบการจัดเก็บภาษี นั่นคือการสรา งระบบการจดั เกบ็ ภาษที ่ีสามารถ สะทอ นใหเห็นตน ทนุ ทางออมจากกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตัวใดตัวหนงึ่ ซงึ่ ทาํ ใหสงั คมตองแบกรับภาระ นัน้ อยา งชดั เจน เชน ภาษีทีเ่ รียกเก็บจากถา นหิน ก็จะตองรวมถงึ ตนทุนในการดูแลรักษาสุขภาพที่ จะตอ งเพิม่ ขน้ึ จากปญ หามลพิษ และตนทนุ ความเสยี หายจากสภาพอากาศทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป 79. ปฏิรปู ภาษีส่งิ แวดลอม เปนกาวตอ ไปทท่ี าทายของนักการเมืองและรัฐบาลที่มาจาก การเลอื กตงั้ อยางใหญห ลวงในการปรบั เปลย่ี นและสรางจติ สาํ นกึ ใหมใหสังคม การเพิม่ การจดั เก็บภาษี สาํ หรบั กจิ กรรมท่ีมีผลทาํ ลายสภาพแวดลอมใหส ูงข้ึนเปน การชดเชย เชน กจิ กรรมทีม่ กี ารปลอ ย คารบ อน ภาษีจากกองขยะ ไมใ ชเรอื่ งเปน ไปไมได หลายประเทศโดยเฉพาะในยุโรปตะวันตกนํา แนวคดิ นี้ไปใชต ั้งแตป พ.ศ. 2533 ปจจุบนั น้ีประเทศใหญๆ ในสหภาพยโุ รปกร็ วมดาํ เนินการดวย และ พบวาการปรับเปล่ยี นระบบการจัดเกบ็ ภาษดี งั กลา ว ไมม ผี ลตอ การปรบั เปลยี่ นระดับการจดั เก็บภาษี หากแตม ผี ลกบั โครงสรา งของระบบภาษเี ทาน้นั 80. กําหนดทิศทางประเทศใหม ุง สแู นวทางของการดาํ เนินชวี ติ อยา งพอเพียง ทีส่ ามารถยืน หยดั อยรู อดอยา งเขม แข็งในสังคมโลก เริ่มตนดวยการใสประโยคทวี่ า ประเทศไทยจะตองยึดหลัก เศรษฐกจิ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั เปนแกนหลกั ของการ พัฒนาประเทศไวใ นรัฐธรรมนญู ไดห รอื ไม

บทท่ี 3 วธิ กี ารดําเนนิ งาน กศน.ตําบลนาปา สงั กดั ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอเมือง ชลบรุ ี จัดทําโครงการลดโลกรอนดว ยมือเรา มีข้นั ตอนดังนี้ 1. ประชุมปรกึ ษาหารือฯ กศน.ตําบลนาปา 2. แตงตง้ั คณะทํางาน 3. ประสานงานกบั หนวยงาน/เครอื ขา ย และบคุ คลทเี่ กยี่ วของ 4. ดาํ เนินงานตามแผน 5. วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน ประชุมปรกึ ษาหารือฯ กศน.ตาํ บลนาปา กศน.ตําบลนาปา ไดวางแผนประชุมปรึกษาหารือฯ เพ่ือหาแนวทางในการดําเนินงานและ กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคร ว มกนั แตง ต้งั คณะทาํ งาน จดั ทาํ คาํ ส่งั แตงตั้งคณะทํางานโครงการ เพื่อมอบหมายหนา ที่ในการทาํ งานใหชดั เจน เชน 1) คณะกรรมการทปี่ รึกษา/อํานวยการ มีหนาที่อํานวยความสะดวก และใหค าํ ปรึกษา แกไ ขปญ หาทีเ่ กิดขึน้ 2) คณะกรรมการฝา ยประชาสมั พันธ มีหนาท่ีประชาสมั พันธร บั สมัครประชาชนเขารวม โครงการ 3) คณะกรรมการฝายรับลงทะเบียนและประเมินผลหนา ที่จัดทําหลกั ฐานการลงทะเบยี น ผูเขา รว มกิจกรรมและรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดาํ เนนิ การ ประสานงานกับหนวยงาน/เครอื ขา ย และบคุ คลที่เกี่ยวของ ประสานงานกับหนวยงาน/เครือขา ย และบคุ คลท่เี ก่ยี วของ เชน ประสานเรือ่ งสถานท่ใี ช อบรม ประสานงานกับคณะกรรมการสถานศกึ ษา ประสานงานกับทีมวิทยากร และแขกผมู ีเกียรติ เขา รวม ดําเนินการตามแผนงานโครงการ โครงการลดโลกรอนดวยมือเรา ในวนั ที่ 1 มถิ ุนายน 2561 โรงเรียนเทศบาลดอนหวั ฬอ1 (บา นมาบสามเกลยี ว) หมูที่ 7 ตาํ บลดอนหัวฬอ อําเภอเมอื งชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี

วัดผล/ประเมนิ /สรุปผลและรายงาน โครงการลดโลกรอ นดว ยมือเรา ในวันที่ 1 มิถุนายน 2561 โรงเรียนเทศบาลดอนหัวฬอ1 (บา นมาบสามเกลียว) หมูท่ี 7 ตําบลดอนหวั ฬอ อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี จงั หวดั ชลบรุ ี โดยมี ครแู ละ ประชาชนในพื้นทต่ี ําบลดอนหวั ฬอ และตาํ บลนาปา จาํ นวน 20 คน โดยมคี ณะวทิ ยากรจากเทศบาล ตําบลดอนหวั ฬอ เปน วทิ ยาการใหค วามรู ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จะไดน ําแนวทางไปใชขอมลู พิจารณาหลักสตู ร เนือ้ หาตลอดจนเทคนิควิธกี าร จัดการกระบวนการเรยี นรูต า งๆ เพอ่ื ใหต อบสนองความตอ งการของผูเขา อบรมไดร บั ประโยชน นําไปใชไ ดจริงตามศักยภาพของแตละคน ใหม ีความเขาใจและจัดทาํ โครงงานไดอยา งถูกตองและมี คุณภาพตอไป ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี ไดดาํ เนนิ การ ตามข้ันตอนและไดรวบรวมขอมูล โดยกาํ หนดคาลาํ ดับความสาํ คัญของการประเมินผลออกเปน 5 ระดบั ดังน้ี มากที่สดุ ใหค ะแนน 5 มาก ใหคะแนน 4 ปานกลาง ใหคะแนน 3 นอย ใหค ะแนน 2 นอยทีส่ ุด ใหค ะแนน 1 ในการแปลผล ผจู ดั ทําไดใชเ กณฑการพจิ ารณาจากคะแนนเฉลี่ยตามแนวคดิ ของ บุญชม ศรีสะอาด และบุญสง นิวแกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดมี าก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตองปรบั ปรงุ นกั ศกึ ษาจะตอ งกรอกขอมลู ตามแบบสอบถาม เพอื่ นําไปใชในการประเมินผลของการจัด กจิ กรรมดงั กลาว และจะไดน ําไปเปน ขอมูล ปรับปรงุ และพัฒนา ตลอดจนใชใ นการจัดทําแผนการ ดําเนินการในปตอไป

บทท่ี 4 ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อ มลู ในการจดั กิจกรรมโครงการลดโลกรอ นดว ยมอื เรา ในวนั ที่ 1 มิถุนายน 2561 โรงเรยี น เทศบาลดอนหัวฬอ 1 (บานมาบสามเกลยี ว) หมูที่ 7 ตาํ บลดอนหัวฬอ อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวัด ชลบุรี ซึง่ ไดส รุปผลจากแบบสอบถามและนําเสนอผลการวเิ คราะหขอมลู จากผเู ขา รวมโครงการ ท้ังหมด จาํ นวน 20 คน และ จาํ นวนผูตอบแบบสอบถามจํานวน 20 คน โดยเทียบจากตารางกลุม ตวั อยางของเครซีแ่ ละมอรแกน ซึง่ ไดสรุปผลจากแบบสอบถามและนําเสนอผลการวเิ คราะหข อมูล จากผเู ขา รว มโครงการทั้งหมด ไวด ังน้ี ตอนที่ 1 ขอมลู สวนตวั ผูต อบแบบถามของผูเ ขารวมกจิ กรรมโครงการลดโลกรอ นดวยมอื เรา ผเู ขา รว มกจิ กรรมท่ีตอบแบบสอบถามไดน ํามาจําแนกตามเพศ ระดับการศกึ ษา และอายุ ผูจ ดั ทําไดน าํ เสนอจําแนกตามขอมูลดังกลาว ดงั ปรากฏตามตารางที่ 1 ดงั ตอไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงคา รอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง ความคิดเหน็ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ กจิ กรรมโครงการลดโลกรอนดวยมือเรา 6 30.00 14 70.00 จากตารางที่ 1 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผูเขา รว มกิจกรรมโครงการลดโลกรอ นดว ย มือเรา ประชาชนตาํ บลนาปา จาํ แนกตามเพศ เปน ชาย 6 คน คิดเปน รอ ยละ 30.00 เปน หญิง 14 คน คดิ เปนรอยละ 70.00 ตารางท่ี 2 แสดงคา รอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา อาชีพ ประถม ม.ตน ม.ปลาย สูงกวา ม.ปลาย ความคิดเห็น จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ กิจกรรมโครงการลดโลก 6 30.00 5 25.00 6 30.00 3 15.00 รอ นดวยมอื เรา

จากตารางที่ 2 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมกิจกรรมโครงการลดโลกรอน ดว ยมือเรา ประชาชนตําบลนาปา มีระดบั การศึกษาในชวงระดับประถมศึกษา จาํ นวน 6 คน คิด เปน รอยละ 30.00 ชวงระดบั ม.ตน จาํ นวน 5 คน คดิ เปน รอยละ 25.00 ชว งระดบั ม.ปลาย มจี ํานวน 6 คน คิดเปนรอ ยละ 30.00 และ ชว งระดับ สูงกวา ม.ปลาย จาํ นวน 3 คน คดิ เปนรอ ยละ 15.00 ตารางที่ 3 แสดงคา รอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ อายุ ตํ่ากวา 15 ป 15-29 ป 30-39 ป 40-49 ป 50-59 ป 60 ปขนึ้ ไป จํา รอ ย จาํ รอ ย จํา รอย จํา รอ ย จาํ รอย จํา รอ ย ประเภท นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ ความคดิ เหน็ กจิ กรรมโครงการ - - 8 40.00 3 15.00 3 15.00 3 15.00 3 15.00 ลดโลกรอน ดวยมือเรา จากตารางที่ 3 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผเู ขารว มกจิ กรรมโครงการลดโลกรอน ดวยมอื เรา ประชาชนตาํ บลนาปา มี ชว งอายุ 15-29 ป จํานวน 8 คน คิดเปน รอ ยละ 40.00 ชว งอายุ 30-39 ป จํานวน 3 คน คิดเปน รอ ยละ 15.00 ชว งอายุ 40-49 ป จาํ นวน 3 คน คิดเปนรอยละ 15.00 ชว งอายุ 50-59 ป จํานวน 3 คน คดิ เปน รอ ยละ 15.00 และ 60 ปขึน้ ไป จํานวน 3 คน คดิ เปนรอยละ 15.00

ตารางที่ 4 แสดงคา รอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี อาชีพ รับราชการ พนกั งาน คา ขาย เกษตรกร รบั จาง อน่ื ๆ รฐั วิสาหกิจ ประเภท จํา รอ ย จํา รอย จาํ รอย จาํ รอ ย จํา รอย จาํ รอ ย ความคดิ เห็น นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ กจิ กรรมโครงการ - - - - 1 5.00 - - 10 50.00 9 45.00 ลดโลกรอน ดวยมือเรา จากตารางท่ี 4 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขา รว มกจิ กรรมโครงการลดโลกรอน ดว ยมือเรา ประชาชนตาํ บลนาปา มอี าชพี คาขาย จาํ นวน 1 คน คิดเปนรอ ยละ 5.00 อาชีพรบั จาง จาํ นวน 10 คน คิดเปน รอยละ 50.00 และ อาชพี อนื่ ๆ จาํ นวน 9 คน คดิ เปนรอ ยละ 45.00

ตอนท่ี 2 ขอ มูลเก่ียวกบั ความคิดเหน็ ของผเู ขารว มกิจกรรม โครงการลดโลกรอนดวยมือ เรา ความคดิ เห็นของผเู ขารว มกจิ กรรม จํานวน 20 คน จากแบบสอบถามทัง้ หมดทมี่ ีตอโครงการลด โลกรอนดว ยมือเรา กศน.ตําบลนาปา ไดว เิ คราะหขอ มูล จํานวน 20 ชดุ ดงั ปรากฏในตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ผลการประเมินโครงการลดโลกรอ นดวยมอื เรา N = 20 รายการทปี่ ระเมิน x̄ S.D. อนั ดับที่ ระดบั ผลการ ประเมนิ ดา นหลกั สูตร 1. กิจกรรมท่จี ดั สอดคลองกบั วตั ถุประสงคของหลักสตู ร 4.70 0.47 2 ดมี าก 2. เน้อื หาของหลักสตู รตรงกับความตองการของผรู ับบริการ 4.65 0.49 3 ดีมาก 3. การจดั กิจกรรมทาํ ใหผูรับบริการสามารถคิดเปนทําเปน แกปญหาเปน 4.70 0.47 2 ดมี าก 4. ผูรับบรกิ ารมสี วนรวมในการแสดงความคดิ เหน็ ตอการจัดทําหลักสูตร 4.60 0.50 4 ดมี าก 5. ผรู บั บริการสามารถนาํ ความรูไปปรับใชในชีวติ ประจําวันได 4.65 0.49 3 ดีมาก 6. สอ่ื /เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.75 0.44 1 ดมี าก ดานวทิ ยากร 4.75 0.44 1 ดมี าก 7. วิทยากรมีความรูความสามารถในการจดั กิจกรรม 8. เทคนคิ /กระบวนในการจัดกิจกรรมของวทิ ยากร 4.65 0.49 3 ดมี าก 9. วิทยากรมีการใชส ่ือทส่ี อดคลองและเหมาะสมกับกจิ กรรม 4.55 0.51 5 ดมี าก 10. บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 4.65 0.49 3 ดมี าก ดา นสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ 4.60 0.50 4 ดมี าก 11. สถานท่ใี นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.55 0.51 5 ดมี าก 12. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.75 0.44 1 ดีมาก 13. ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู ับบริการตอการเขา รวมกิจกรรม 4.66 0.48 ดีมาก คาเฉลย่ี

จากตารางแสดงใหเ หน็ วา ผูเขา รวมกจิ กรรมโครงการลดโลกรอนดวยมือเรา ดังน้ี จากตารางท่ี 5 พบวา โดยเฉล่ียแลวผูรว มโครงการลดโลกรอ นดวยมือเรา อยูในระดบั ดีมาก (x̄ = 4.66) เม่ือวิเคราะหเปนรายขอพบวา สื่อ/เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม, วทิ ยากรมีความรูความสามารถในการจดั กิจกรรม, ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู บั บริการตอการ เขารว มกิจกรรม (x̄ = 4.75) เปนอนั ดบั ท่ี 1 และเรยี งตามลําดบั ดังน้ี กิจกรรมท่ีจดั สอดคลองกับ วตั ถปุ ระสงคของหลักสตู ร, การจดั กิจกรรมทาํ ใหผ ูรับบรกิ ารสามารถคดิ เปน ทําเปนแกป ญหาเปน (x̄ = 4.70) เปนลําดับท่ี 2 เน้อื หาของหลักสูตรตรงกบั ความตอ งการของผรู บั บริการ, ผรู ับบริการ สามารถนําความรูไปปรบั ใชใ นชีวิตประจาํ วันได, เทคนิค/กระบวนในการจัดกิจกรรมของวิทยากร, บุคลิกภาพของวิทยากร (x̄ = 4.65) เปนอันดับท่ี 3 ผรู บั บริการมีสวนรว มในการแสดงความคดิ เห็นตอ การจดั ทําหลักสตู ร, สถานท่ีในการจัดกิจกรรมเหมาะสม (x̄ = 4.60) เปน อันดับท่ี 4 และอนั ดบั สดุ ทา ย วิทยากรมีการใชส ือ่ ท่ีสอดคลองและเหมาะสมกบั กจิ กรรม, ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม เหมาะสม (x̄ = 4.55) ตารางที่ 6 ผลการประเมนิ ผูเขา รว มกิจกรรมโครงการลดโลกรอนดวยมือเรา ระดบั ผล N =20 การประเมนิ เนื้อหาผเู ขารว มกิจกรรมโครงการลดโลกรอนดวยมือเรา ดมี าก x̄ S.D. อนั ดบั ที่ ดีมาก 1. การมสี ว นรวมในกิจกรรมกลุม 4.75 0.44 1 2. ความพงึ พอใจในการเขารวมโครงการ 4.65 0.49 3 3. การคิดอยา งมเี หตผุ ล 4.60 0.50 4 ดมี าก 4. การเขา ใจ และรบั ฟงความคดิ เหน็ จากผูอ่นื 4.70 0.47 2 ดีมาก 5. การรูจ กั และเขาใจตนเอง 4.60 0.50 4 ดมี าก คา เฉลี่ย 4.66 0.48 จากตารางท่ี 6 พบวา โดยเฉล่ียแลวผเู ขารว มผเู ขารว มกิจกรรมโครงการลดโลกรอนดว ย มือเรา อยูในระดบั ดีมาก (x̄ = 4.66) เมอ่ื วิเคราะหเปนรายพบวา การมีสว นรวมในกิจกรรมกลุม (x̄ = 4.75) เปน อนั ดบั ที่ 1 และเรียงลําดบั ดังน้ี การเขาใจ และรับฟงความคิดเห็นจากผูอน่ื (x̄ =4.70) เปน ลาํ ดบั ท่ี 2 ความพึงพอใจในการเขารวมโครงการ (x̄ =4.65) เปน ลําดับที่ 3 และลําดับสุดทาย การคิดอยางมเี หตุผล, การรจู กั และเขาใจตนเอง (x̄ =4.60)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook