Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานฉบับสมบูรณ์ ห้อง57 กลุ่ม4

โครงงานฉบับสมบูรณ์ ห้อง57 กลุ่ม4

Published by suttida55555nct, 2022-08-31 07:14:21

Description: โครงงานฉบับสมบูรณ์ ห้อง57 กลุ่ม4

Search

Read the Text Version

1 โครงงานเร่อื ง การทากระดาษสาจากกระดาษเหลอื ใช้ รายวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ และองคค์ วามรู(้ IS1) รหสั วชิ า(130201) จดั ทาโดย 1.นางสาวธิญาดา สทุ ธการ เลขท่ี3 2.นายณฐั พล คีรสี ตั ยกลุ เลขท่ี9 3.นางสาวธนภรณ์ สยุ ะตา เลขท่ี25 4.นางสาวสทุ ธิดา วงศย์ งั ประเสรฐิ เลขท่ี27 5.นางสาวธญั สริ ิ แขง็ ขนั เลขท่ี28 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5/7 ปีการศกึ ษา2565 เสนอ ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาน่าน โรงเรยี นปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน

2 ช่ือโครงงาน : การทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ ผจู้ ดั ทาโครงงาน : นางสาวธิญาดา สทุ ธการ นายณฐั พล คีรสี ตั ยกลุ นางสาวธนภรณ์ สยุ ะตา นางสาวสทุ ธิดา วงศย์ งั ประเสรฐิ นางสาวธญั สริ ิ แข็งขนั ครูท่ีปรกึ ษา : ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ระดบั ชน้ั : มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5 ปีการศกึ ษา : 2565 บทคัดยอ่ โครงงานเร่อื งการทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ เป็นโครงงานท่ีนากระดาษท่ีถกู ใช้ งานแลว้ มาแปรรูปเป็นกระดาษสาเพ่อื ท่ีจะนากลบั มาใชง้ านอีกครงั้ คณะผจู้ ดั เลง็ เหน็ ถงึ ปัญหา ของกระดาษเหลือใชท้ ่ีมากเกินท่ีจะขจดั ไดท้ นั จงึ มีความสนใจท่ีจะทากระดาษสาจากกระดาษท่ี เราไมไ่ ดใ้ ชแ้ ลว้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทาโครงงานขนึ้ เพ่อื เป็นการศกึ ษาการนากระดาษท่ีไมไ่ ดใ้ ช้ งานแลว้ มาแปรรูปทาเป็นกระดาษสา เพ่อื เป็นการนาเอากระดาษท่ีถกู ใชง้ านแลว้ มาเพ่มิ มลู ค่า เพ่อื ใหเ้ กิดความสามคั คีในหมคู่ ณะและเพ่อื ใหเ้ กิดความคดิ จนิ ตนาการอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละ ระดมความคดิ ภายในกลมุ่ คณะผจู้ ดั ทา

3 กติ ตกิ รรมประกาศ ในการทาโครงงานกาศกึ ษาการทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ กล่มุ ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคณุ อาจารยด์ ารงค์ คนั ธะเรศย์ ท่ีไดใ้ หค้ วามอนเุ คราะห์ คอยใหค้ าปรกึ ษาใหค้ วาม สะดวกในการทาโครงงาน และขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั แนวทางในการทาโครงงานการศกึ ษาการ ทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ ขอบคณุ เพ่ือนในกล่มุ ทกุ คนท่ีใหค้ วามช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนาท่ีเป็น ประโยชน์ ในการทาโครงงาน ทา้ ยท่ีสดุ ขอกราบขอบพระคณุ คณุ พอ่ และคณุ แม่ ท่ีเป็นผใู้ หก้ าลงั ใจและ ใหโ้ อกาสการศกึ ษาอนั มีค่าย่ิง คณะผจู้ ดั ทาโครงงานการศกึ ษาการทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ ขอขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นอยา่ งสงู ท่ีให้ การสนบั สนนุ เอือ้ เฟื้อและใหค้ วามอนเุ คราะหช์ ว่ ยเหลือ จนกระท่งั โครงงานการศกึ ษาการทากระดาษสา สาเรจ็ ลลุ ่วงไดด้ ว้ ยดี คณะผจู้ ดั ทา

4 คานา รายงานการศกึ ษาโครงงานเลม่ นีจ้ ดั ทาขนึ้ เพ่อื เป็นส่วนหนง่ึ ของวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ และ องคค์ วามรู(้ IS1) รหสั วิชา(130201) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาดีท่ี5/7 เพ่อื ใหไ้ ดศ้ กึ ษาหาความรูใ้ นเร่อื ง การทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใช้ และไดศ้ กึ ษาอย่างเขา้ ใจเพ่อื เป็นประโยชนก์ บั การเรยี น ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ ่านหรอื นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท่ีกาลงั หา ขอ้ มลู เร่อื งนีอ้ ย่หู ากมีขอ้ แนะนาหรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีนีด้ ว้ ย ผจู้ ดั ทา วนั ท่ี31 สงิ หาคม 2565

สารบญั 5 เรื่อง หน้า บทคัดย่อ กติ ตกิ รรมประกาศ 2 คานา 3 บทท1ี่ บทนา 4 - ความเป็นมาและความสาคญั 7 - วตั ถปุ ระสงคข์ องการทาโครงงาน 9-11 - สมมตุ ิฐาน 12- - ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ บั 15 - นิยามศพั ท์ 16 บทท2ี่ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง - ความเป็นมาของกระดาษสา - คณุ สมบตั ขิ องกระดาษสา - ปัญหาของการมีกระดาษเหลือใชม้ ากเกินไป -วสั ดแุ ละอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา -ผลติ ภณั ฑจ์ ากกระดาษสา บทท3่ี วิธีการดาเนินโครงงาน 14 - แผนการกาหนดเวลาปฎบิ ตั ิงาน - เครอ่ื งมือและวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา -วธิ ีการดาเนนิ การ บทท4ี่ ผลการดาเนินงาน - ผลการดาเนนิ งาน - การนาไปใช้ บทท่ี5 สรุปการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ - วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน -วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมท่ีใชใ้ นการพฒั นา -สรุปผลการดาเนนิ งาน -ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการทาโครงงาน

สารบญั (ตอ่ ) 6 เรื่อง หน้า บทท5่ี สรุปการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ -ปัญหาอปุ สรรค 16-17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก 18-19 ประวัตผิ ู้จดั ทา 21

7 บทท1่ี บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั เน่ืองจากในปัจจบุ นั นนั้ มีการใชก้ ระดาษเพ่มิ มากขนึ้ ไม่วา่ จะเป็นกระดาษท่ีมาจาก การบา้ นหรอื ใบความรูท้ ่ีครูแจกใหน้ กั เรยี น กระดาษเอกสารตา่ งๆ หรอื แมก้ ระท่งั กระดาษ หนงั สือพมิ พข์ ่าวรายวนั ท่ีมีการพมิ พอ์ อกมาในทกุ ๆวนั จงึ ทาใหข้ ยะท่ีมาจากกระดาษนน้ั มีมาก เกินไป ถึงแมว้ ่ากระดาษเหล่านน้ั จะถกู นามารไี ซเคิลโดยการใชห้ นา้ ท่ีว่างแลว้ แต่เม่ือใชเ้ สรจ็ กระดาษเหลา่ นนั้ ก็จะกลายเป็นขยะเช่นเดิม แมว้ ่ากระดาษนน้ั จะเป็นส่งิ ท่ีย่อยสลายได้ แตก่ าร อปุ โภคของมนษุ ยน์ น้ั มีมากเกินท่ีจะขจดั ไดท้ นั หากจะเผาทาลายก็จะก่อใหเ้ กิดมลพษิ ทาง อากาศได้ ผจู้ ดั ทามองเห็นถงึ ปัญหา จงึ อยากนากระดาษท่ีมีจานวนมากเหลา่ นน้ั มาทา กระดาษสา เพ่อื เป็นการลดปรมิ าณกระดาษท่ีเหลือใช้ และยงั เป็นการเพ่มิ มลู คา่ ใหก้ ระดาษ เหล่านน้ั อีกทง้ั กระดาษสานน้ั ยงั สามารถนามาทาเป็นผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆได้ เช่น กระเป๋ าจาก กระดาษสา เป็นตน้ 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการทาโครงงาน 1.เพ่อื ศกึ ษาวธิ ีการทากระดาษสา 2 .เพ่อื ลดกระดาษสาเหลือใชจ้ ากการใชง้ าน 3 .เพ่อื เพม่ิ มลู คา่ ใหก้ ระดาษเหลือใช้ 1.3 สมมตุ ฐิ าน - กระดาษเหลือใชส้ ามารถนามาทาเป็นกระดาษสาได้ 1.4 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 1.กระดาษสาท่ีไดส้ ามารถนาไปทาเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีช่วยเพ่มิ มลู คา่ ของกระดาษสาได้ 2.ขยะจากกระดาษเหลือใชใ้ นบา้ นมีนอ้ ยลงโดยการไม่นาไปทงิ้ หรอื เผาทาลายแต่เป็น การนามาทาเป็นกระดาษสา 3.รูจ้ กั วิธีการและขน้ั ตอนการทากระดาษสา

8 1.5 ขอบเขตการศกึ ษา มีวตั ถปุ ระสงคด์ งั นี้ 1.เพ่อื ศกึ าการทากระดาษสา 2.เพ่อื นากระดาษสาท่ีไม่ใชแ้ ลว้ มาใชใ้ หเ้ กิดประประโยชนส์ งู สดุ 3.เพ่อื ลดขยะท่ีเกิดจากกระดาษ 1.6 นิยามศพั ท์ กระดาษเหลือใช้ หมายถึง กระดาษท่ีผา่ นการใชง้ านหรอื การรไี ซเคิลมาแลว้ เช่น กระดาษเอกสารต่างๆ กระดาษใบงาน กระดาษใบความรูแ้ ละกระดาษหนงั สือพมิ พ์ และ กระดาษอีกหลายๆประเภท กระดาษสา หมายถงึ กระดาษท่ีทามาจากกระดาษท่ีถกู ใชง้ านหรอื ถกู รไี ซเคิลมาแลว้

9 บทท2ี่ เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 2.1 ความเป็นมาของกระดาษสา กระดาษสา มีมานาน 100 กว่าปีแลว้ ซง่ึ ในสมยั ก่อนนนั้ ไมไ่ ดท้ ากนั อยา่ งแพรห่ ลาย เหมือนสมยั นี้ จะทากนั เฉพาะเม่ือตอ้ งการเขียนยนั ต์ ทาไสเ้ ทียนและทาตงุ ของเชียงใหม่ เท่านน้ั ตงั้ แต่นน้ั มาก็ไดม้ ีการพฒั นาการทากระดาษสาจากท่ีเคยทาสีขาวก็คดิ หาวิธีทา เป็น หลายๆสี และมีลวดลายมากย่ิงขนึ้ ซง่ึ ปรากฏว่าไดร้ บั ความสนใจจากคนไทยและตา่ งประเทศ เป็นอยา่ งมาก ทาใหท้ า่ นมีกาลงั ใจท่ีจะผลติ งานศลิ ปะ กระดาษสามากย่ิงขนึ้ แปรรูปเป็น ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆเชน่ สมดุ โนต้ ถงุ กระดาษ ดอกไม้ ฯลฯ และยงั ไดเ้ ผยแพรก่ ระทากระดาษสา ไปยงั หมบู่ า้ นอ่ืน ๆ และสอนวธิ ีการทากระดาษสาใหเ้ พ่อื เป็น การอนรุ กั ษศ์ ลิ ปะของไทยอีกดว้ ย ท่ียดึ หลกั การประกอบอาชีพในการทากระดาษสา สืบทอดจากบรรพบรุ ุษของบา้ นตน้ เปา ซง่ึ เป็นแหล่งผลิตกระดาษสาด่งั เดิมของเชียงใหม่ โดยในอดีตการทากระดาษสานนั้ เพ่อื นาไปใช้ ในการผลติ รม่ และพดั โดยแหลง่ ผลิตรม่ และพดั อยทู่ ่ีบา้ นบอ่ สรา้ ง อาเภอสนั กาแพง จงั หวดั เชียงใหม่ นอกจากนีย้ งั ใชใ้ นการทาไสเ้ ทียน ทาตงุ และทาโคมลอย ซง่ึ กระดาษสายงั ไมเ่ ป็นท่ี ตอ้ งการของทอ้ งตลาดมากนกั การทากระดาษสาจงึ อยเู่ ฉพาะครอบครวั ของนายเจรญิ เหลา่ ป่ินตา และนางทองคา เหลา่ ป่ินตา เท่านนั้ จนกระท่งั ต่อมากระดาษสา และผลติ ภณั ฑจ์ าก กระดาษสาไดม้ ีการส่งเสรมิ การอตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ อย่างจรงิ จงั ประมาณปี พ.ศ. 2537 - 2538 มีการจดั งานแสดง และจาหนา่ ยกระดาษสาและผลติ ภณั ฑ์ การจดั การประกวดกระดาษสา ตลอดทง้ั การฝึก อาชีพการผลิตกระดาษสาและผลติ ภณั ฑ์ การบรกิ ารใหค้ าปรกึ ษาแนะนาพฒั นาเทคนคิ การ ผลิต เครอ่ื งมือเคร่อื งจกั รในการผลิตต่าง ๆ ทาใหค้ นเรม่ิ รูจ้ กั และสนใจกระดาษสากนั มาก และ รูจ้ กั บา้ นตน้ เปาว่าเป็นแหลง่ ผลติ กระดาษสาดว้ ยมอื แบบด่งั เดมิ ของจงั หวดั เชียงใหม่ กระดาษสาและผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษสาจากบา้ นตน้ เปาไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ การ ประกวด หลายประเภทและหลายครง้ั ช่ือเสียงของกระดาษสาบา้ นตน้ เปาเรม่ิ เป็นท่ีรูจ้ กั ของคนท่วั ไป มากขนึ้ ประกอบกบั ตลาดกระดาษสาและผลติ ภณั ฑก์ ระดาษสาในเมืองไทยเรม่ิ ขยายตอ่ เน่ือง ทง้ั ในและต่างประเทศ บางคนมารบั งานไปทาท่ีบา้ นเป็นอาชีพเสรมิ ใหก้ บั ครอบครวั นอกจากนนั้ ยงั มีผผู้ า่ นการฝึก การทากระดาษสาและ ผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษสา จากบา้ น

10 อนรุ กั ษก์ ระดาษสาไดไ้ ปประกอบอาชีพเป็นผผู้ ลติ อตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ของตนเอง ถา้ หาก ไม่สามารถหาตลาดจาหน่ายไดเ้ อง ก็จะนาผลิตภณั ฑม์ าฝากจาหน่ายหรอื ขายใหท้ างบา้ น อนรุ กั ษก์ ระดาษ 2.2 คณุ สมบตั ขิ องกระดาษสา กระดาษสาไดร้ บั การยอมรบั ว่าเป็นกระดาษท่ีมีพืน้ ผิวท่ีสวยดว้ ยคณุ ลกั ษณะในตวั ของ มนั เอง มีความคงทนเก็บไวไ้ ดน้ านจนไดร้ บั ขนานนามวา่ กระดาษพนั ปี เพราะนอกจากปลวก ไมก่ ิน มอดไมก่ ดั แลว้ ยงั สามารถย่อยสลายใหก้ ลบั เป็นประโยชนก์ บั สภาพแวดลอ้ มทาง ธรรมชาติได้ เนือ้ เหนียว นา้ หนกั เบา ใชท้ างานประดิษฐ์ทากระดาษห่อของ แตก่ ระดาษสาท่ีทา จากกระดาษเหลือใชค้ ือการเอากระดาษท่ีไม่ใชแ้ ลว้ หรอื หมดประโยชนม์ าทาใหเ้ ป็นกระดาษ แผ่นใหมท่ ่ีสามารถนามาใชไ้ ดใ้ นหลายรูปแบบ กระดาษสาสามารถนามาทาเป็นสมดุ เล่มท่ีไม่ เหมือนใคร สามารถนามาหอ่ ส่ิงของหรอื แมก้ ระท่งั การหอ่ ของขวญั ก็จะไดค้ วามสวยงามในอีก แบบ จดั บอรด์ ทาดอกไม้ กระดาษสาท่ีทาจากกระดาษเหลือใชม้ ีลกั ษณะพืน้ ผิวท่ีตา่ งจากกระดาษท่วั ไป สามารถ นาไปทาเป็นงานศิลปะไดส้ วยงาม เนือ้ ของกระดาษสามีความยดึ เกาะการพอสมควร 2.3 ปัญหาของการมีกระดาษเหลอื ใชม้ ากเกินไป ปัญหาของการมีกระดาษเหลือใชม้ ากเกินไปทาใหข้ ยะมากขนึ้ เพราะไม่สามารถนา กระดาษมาใชใ้ หม่ได้ จงึ ตอ้ งเอากระดาษเหลือใชห้ รอื กระดาษท่ีไม่มีประโยชนแ์ ลว้ มารไี ซเคลิ หรอื มาทากระดาษสาซง่ึ มีประโยชนห์ ลายอย่าง 2.4 วสั ดแุ ละอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา 1.เครอ่ื งป่ัน 2.กระดาษเหลือใช้ 3.กรอบรูป 4.ผา้ ขาวบาง 5.ภาชนะกน้ ลกึ 2.5 ผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษสา

11 กระดาษสาสกรนี ลาย กระดาษสาแผน่ บาง โคมไฟกระดาษสา สมดุ โทรศพั ท์ คมั ภีรก์ ระดาษ สา เชือกกระดาษสา ถงุ กระดาษสา ปกเมนเู ย่ือสา กลอ่ งกระดาษทชิ ชู่ การด์ อวยพร กรอบรูป รม่ กระดาษสาบาตกิ และพดั กระดาษสา

12 บทท3่ี วิธีการดาเนินโครงงาน 3.1 แผนการกาหนดเวลาปฎิบตั ิงาน ลาดบั ท่ี ขนั้ ตอน ระยะเวลา 1 คดิ หวั ขอ้ ของโครงงาน 20-22 ก.ค. พ.ศ.2565 2 ศกึ ษาคน้ ควา้ และขอ้ มลู 27-29 ก.ค. พ.ศ.2565 3 จดั ทาโครงรา่ งของโครงงาน 3-9 ส.ค. พ.ศ.2565 4 วางแผนและปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งโครงงาน 17-23 ส.ค. พ.ศ.2565 5 ปรบั ปรุงและทดสอบ 24-26 ส.ค. พ.ศ.2565 6 ทาเอกสารรายงาน 27-31 ส.ค. พ.ศ.2565 7 ประเมินผลงาน 31 ส.ค. พ.ศ.2565 2.เครอ่ื งมือและวสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการศกึ ษา 1. เคร่อื งป่ัน 2. ผา้ ขาวบาง 3. กรอบรูป ( นามาดดั แปลงเป็นแมพ่ มิ พส์ าหรบั ทากระดาษสา ) 4. กระดาษเหลือใช้ 5.ภาชนะกน้ ลกึ 3.วิธีการดาเนินการ 1.นากระดาษท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ นามาฉีกเป็นชิน้ เลก็ ชนิ้ นอ้ ย 2.เอาเศษกระดาษแช่นา้ ในภาชนะ 3.ทาเย่ือกระดาษโดยการใชเ้ ครอ่ื งป่ัน

13 4.วางแม่พมิ พท์ ่ีดดั แปลงจากกรอบรูปท่ีกน้ กะละมงั แลว้ ค่อยเติมนา้ จากนนั้ ผสมเย่ือกระดาษลงในแมพ่ มิ พ์ 5.คนใหเ้ ย่ือกระดาษคลมุ ผา้ ขาวบาง และเอาการดาษส่วนท่ีจบั ตวั เป็นกอ้ นออก จากนน้ั ยกแม่พมิ พอ์ อกจากกะละมงั และกาจดั นา้ สว่ นเกินออก และนาไปตาก ใหแ้ หง้

14 6.หลงั จากตากแหง้ แลว้ จงึ นาออกจากแม่พมิ พ์

15 บทท4่ี ผลการดาเนินงาน 4.1 ผลการดาเนินงาน คณะผจู้ ดั ทาไดม้ ีการนาเอากระดาษเหลือใชท้ ่ีมีอย่ภู ายในบา้ นของสมาชกิ มารวมกนั เพ่อื ทดลองการทากระดาษสาโดยท่ีนาเอากระดาษเหลือใชม้ าแช่นา้ ไวแ้ ละนาไปป่ัน จากนน้ั นาไปใสพ่ มิ พแ์ ละตากไว้ ผลปรากฏว่ากระดาษเหลือใชน้ นั้ สามารถนามาทาเป็น กระดาษสาท่ีมีความสวยงามเพ่อื ใชใ้ นการทาผลิตภณั ฑต์ ่างๆ โดยกระดาษสาของกลมุ่ เรานน้ั มี สีขาวออกเหลือง ตกแตง่ ดว้ ยกลีบดอกกหุ ลาบเพ่อื เพม่ิ ความสวยงาม 4.2 การนาไปใช้ 1.การนาไปใชใ้ นการตกแต่งกรอบใบงาน 2.กานนาไปใชท้ าผลติ ภณั ฑ์ เช่น ถงุ กระดาษจากกระดาษสา 3.การนาไปทาเป็นกลอ่ งตา่ งๆไวใ้ ชข่ องหรอื ทาเป็นกล่องของขวญั ก็ไดเ้ ชน่ กนั 4.นาไปทาเป็นสมดุ โน๊ตเล็กๆพกพาง่าย ภาพท่ี1 เป็นภาพของกระดาษสาท่ีทาเสรจ็ แลว้

16 บทท5ี่ สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ ในการจดั ทาโครงงาน การศกึ ษาการทากระดาษสาจากกระดาษเหลือใชส้ ามารถ สรุปผลการดาเนนิ งานไดด้ งั นี้ 5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1.เพ่อื ศกึ ษาวิธีการทากระดาษสา 2.เพ่อื ลดกระดาษสาเหลือใชจ้ ากการใชง้ าน 3.เพ่อื เพม่ิ มลู ค่าใหก้ ระดาษเหลือใช้ 5.2 วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือหรอื โปรแกรมท่ีใชใ้ นการพฒั นา 1.เครอ่ื งป่ัน 2.กระดาษเหลือใช้ 3.กรอบรูป 4.ผา้ ขาวบาง 5.ภาชนะกน้ ลกึ 5.3 สรุปผลการดาเนินงาน สรุปไดว้ า่ กระดาษเหลือใชน้ นั้ สามารถนามาทาเป็นกระดาษสาได้ โดยการนากระดาษท่ี ไมใ่ ชแ้ ลว้ มาแช่นา้ ไวจ้ ากนน้ั ใหน้ าไปป่ัน หรอื ใชม้ ือบดใหล้ ะเอียดตอ่ มาใหน้ าไปใส่พมิ พแ์ ละ นาไปตากไว้ หากตอ้ งการใหม้ ีความสวยงาม สามารถนาดอกไมห้ รอื ใบไมม้ าตกแต่งได้ ซง่ึ กระดาษสานน้ั สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ มากมาย เช่น การนาไปทากล่องของขวญั การ นาไปทาซองจดหมาย การนาไปตกแตง่ กรอบใบงาน และยงั สามารถนาไปทาถงุ ไวใ้ ส่ของไดอ้ ีก ดว้ ย

17 5.4 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการทาโครงงาน 1. ไดค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั กระดาษสา วธิ ีและขน้ั ตอนการทากระดาษสา 2. รูจ้ กั การนากระดาษเหลือใชม้ าเพม่ิ มลู ค่า 3. ไดช้ ่วยลดขยะท่ีเกิดจากกระดาษเหลือใชภ้ ายในครวั เรอื น 4. ไดฝ้ ึกการทางานกนั เป็นกล่มุ และฝึกความสามคั คี 5. ไดฝ้ ึกการวเิ คราะหก์ ารแยกแยะและการสืบคน้ ขอ้ มลู ใหถ้ กู วิธี 5.5 ปัญหาอปุ สรรค 1. การแบง่ บทบาทหนา้ ท่ีไม่คอ่ ยตรงกบั ความถนดั ของแต่ละบคุ คลภายในกลมุ่ 2. การมีเวลาไมต่ รงกนั และการอาศยั อยไู่ กลกนั ทาใหก้ ารทางานเป็นกล่มุ น้ันดาเนนิ งาน ไปคอ่ นขา้ งยากลาบาก 3. มีอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สไ์ มพ่ รอ้ มจงึ ทาใหก้ ารทางานนน้ั เสรจ็ คอ่ นขา้ งลา่ ชา้ 4. ขณะตากกระดาษสามีฝ่นุ เขา้ ไปทาใหส้ ีของกระดาษสานน้ั ออกมาไมค่ อ่ ยสวย 5. ป่ันกระดาษไมล่ ะเอียดทาใหก้ ระดาษสาท่ีออกมาไม่คอ่ ยสวย

18 บรรณานุกรม 1.ประวตั ทิ ่ีมาของกระดาษสา. สืบคน้ จาก http://www.lannaway.com/home/post 2.บลอ็ กการทากระดาษสา สืบคน้ จาก http://baekhyun44.blogspot.com/2014/02/blog- post.html?m=1

19 ภาคผนวก

20

21 ประวัตผิ ู้จดั ทา นางสาวธิญาดา สทุ ธการ หยก อาย1ุ 7ปี เกิด 13 เมายน 2548 นายณฐั พล คีรสี ตั ยกลุ หมง อาย1ุ 7ปี เกิด 19 มิถนุ ายน 2845 นางสาวธนภรณ์ สยุ ะตา ฟา้ อาย1ุ 7ปี เกิด 1 สิงหาคม 2548 นางสาวสทุ ธิดา วงศย์ งั ประเสรฐิ ปเู ป้ อาย1ุ 6ปี เกิด 24 ตลุ าคม 2548 นางสาวธญั สริ ิ แข็งขนั โดนทั อาย1ุ 6ปี เกิด 16 ตลุ าคม 2548


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook