เตา่ ทะเล ทีอ่ าศยั อย่ใู นน่านน้าไทย เต่าทะเล จัดเป็นสตั ว์ประเภทเลอ้ื ยคลานทหี่ ายากและใกล้ สูญพนั ธ์ุ โดยทั่วโลกตระหนักถงึ จ้านวนทลี่ ดลง ในปจั จบุ ันมแี นวโนม้ วา่ จะสญู พนั ธใุ์ นไม่ชา้ ในปัจจุบัน เต่าทะเล ที่กระจายพันธ์ุอยู่แถบน่านน้าทะเลไทย มีจา้ นวนที่นอ้ ยลงอยา่ งมาก จากการทา้ ประมงเกินขนาด ปริมาณความ ตอ้ งการกระดองและเนื้อเต่าทะเลเพ่ือทา้ การส่งออก และการสูญเสยี พน้ื ท่ี วางไข่ตามแนวชายหาด ในระยะต่อมากรมประมงมองเห็นถึง ความส้าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล จึงได้ออกกฎห้าม ท้าการประมงอวนลากใกล้ชายฝั่งในระยะ 3,000 เมตรจากชายฝั่ง โดย เพ่ิมกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่าทะเลมากข้ึน และแหล่งวางไข่เต่า ทะเลหลายแห่งได้ประกาศเป็นเขตอุทยานแห่งชาติ เพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรชายฝั่งทะเล
วัน World Turtle Day หรือ วันเตา่ โลก วันท่ี 23 พฤษภาคม ของทุกปี ได้ถูกก้าหนดให้เป็นวัน World Turtle Day หรือ วันเต่าโลก โดยองค์กร American Tortoise Rescue ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่งึ เป็นองค์กรอนุรักษ์และช่วยเหลือเต่าบกและเต่าทะเล โดย จุดประสงค์ของวันเต่าโลกคือ เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนเก่ียวกับ เต่า รวมทั้งปลูกจิตส้านึกให้ทุกคนร่วมกันอนุรักษ์เต่า เนื่องจาก เตา่ เป็นสตั ว์ที่มปี ริมาณแนวโนม้ ลดลงทวั่ โลก
ลกั ษณะการจ้าแนกชนิด ของเต่าทะเล
ชนดิ ของเต่าทะเล ท่พี บในไทย มกี ารค้นพบเตา่ ทะเลท่ัวโลกมที ั้งหมด 8 ชนดิ แต่พบในไทย เพียง 5 ชนิด แบง่ เปน็ 2 วงศ์ คือ Cheloniidae มอี ยู่ 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ เตา่ ตนุ เตา่ กระ เตา่ หญา้ และเต่าหวั คอ้ น วงศ์ Dermochelyidae มอี ยเู่ พยี งชนดิ เดียวคอื เต่ามะเฟอื ง ซึ่งท้ังหมดเป็นสัตว์ปา่ ค้มุ ครองตามพระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ้ ครอง สตั ว์ป่าในปี พ.ศ.2535 องคก์ รระหว่างประเทศเพือ่ การอนรุ ักษ์ ธรรมชาติ (IUCN) และอนุสญั ญาไซเตส (CITES)
เตา่ มะเฟอื ง Original Content By nextstep ชื่อไทย เต่ามะเฟอื ง ชือ่ สามญั Leatherback turtle ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Dermochelys coriacea สถานภาพการสญู พนั ธ์ุ เสย่ี งวิกฤตตอ่ การสญู พนั ธุ์ (CR) ชนดิ พนั ธใุ์ นบญั ชอี นรุ กั ษ์ (cites) Appendix l กฎหมาย พรบ.สงวนและค้มุ ครองสตั วป์ ่า 2558 /สตั วป์ า่ สงวนล้าดับท่ี 18
ลักษณะทวั่ ไป ลักษณะรูปร่างของเต่ามะเฟืองที่โดดเด่นคือมีกระดองคล้าย ผลมะเฟือง และครีบคู่หน้าไม่มีเล็บต้ังแต่ออกจากไข่ ความลึกที่เต่า มะเฟืองสามารถด้าน้าได้คือ 1,280 เมตร เป็นเต่าทะเลที่มีขนาดใหญ่ ท่ีสุด ตัวโตเต็มที่อาจมีขนาดมหึมาถึง 2 เมตรกว่า และท้าน้าหนักได้ ราวๆคร่ึงตัน วางไข่ครั้งละ ประมาณ 66 -104 ฟอง ไข่มีสีขาวออก แดงเรอื งๆ ขนาดไม่ธรรมดาจะใหญ่กวา่ เต่าทะเลชนิดอื่น ๆ คือมีขนาด ความยาวรอบ 2.5 นิ้ว ใช้เวลาฟักเป็นตัวราว 60 วัน เม่ือลูกเต่าเกิด มันจะรีบคลานลงสูท่ ้องทะเลในทันที ในชว่ งอาทิตย์แรกเต่ามะเฟืองน้อย จะได้รับอาหารจากไข่แดงติดอยู่ ตลอดชีวิต เต่ามะเฟืองจะใช้ชีวิตใน ทะเลลึก ยกเวน้ เพยี งชว่ งท่ีต้องสืบพันธจุ์ ึงจะกลับเข้ามาตามชายฝ่ัง เตา่ มะเฟอื งเป็นสตั วเ์ ล้อื ยคลานที่เคล่ือนไหวเร็วท่สี ุด ในโลก มันสามารถวา่ ยน้าไดไ้ วถงึ 35 กโิ ลเมตรต่อชวั่ โมง สัดสว่ น 400-900 ก. น้าหนัก 150-200 ซม. ความยาวล้าตัว 10-20 องศา อาศยั อณุ หภมู นิ า้ 66-104 ฟอง วางไข่คร้ังละ
อาหาร ลกั ษณะ ลักษณะใบหน้า จะงอยปากบนมีลักษณะเปน็ หยัก 3 หยกั กนิ อาหารที่อ่อนๆ เชน่ แมงกะพรุน แพลงตอน สาหรา่ ย เป็นตน้ ลักษณะกระดอง ลกั ษณะกระดองไม่เป็นเกลด็ แตเ่ ป็นแผน่ หนงั หนา สดี า อาจมแี ตม้ สีขาวประๆ ทวั่ ตัว กระดองเป็นสนั นนู ตามแนวความยาวจากส่วนหัวถึงทา้ ยจานวน 7 สนั (รวมขอบขา้ ง) ไมม่ เี กล็ดปกคลุมส่วนหัว บางรายงานวา่ มีลักษณะคล้ายผลมะเฟือง ลกั ษณะครีบ ครบี หนา้ ใหญ่ลักษณะเหมอื นใบพาย ครีบคหู่ น้าไมม่ ีเลบ็
เตา่ ตนุ ชื่อองั กฤษ Green turtle ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Chelonia mydas(Linnaeus, 1758) ชอ่ื อ่ืนๆ เต่าแสงอาทติ ย์ สถานภาพ - สตั ว์ป่าค้มุ ครอง ตาม พรบ. สงวนและคุ่มครองสัตว์ปา่ คุ้มครอง พ.ศ. 2535 - IUCN: Endangered - CITES: Appendix I
ลักษณะทว่ั ไป จะงอยปากค่อนข้างทู่เม่ือเปรียบเทียบกับเต่ากระ มีรอยหยัก ขนาดเล็กอยู่บนริมฝีปากทั้งบนและล่าง เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จ้านวน 1 คู่ มเี กล็ดกลางหลัง จา้ นวน 5 เกลด็ เกลด็ แถวขา้ ง คู่แรก สุดไม่ติดกับเกล็ดขอบคอ มีจ้านวน 4 คู่ ลักษณะขอบของเกล็ดจะ เช่ือมต่อกันไม่ซ้อนกัน กระดองสีน้าตาลเหลือบขาวและด้า โตเต็มที่ ยาว 120 ซม. หนัก 150 กก. ชวี ประวตั แิ ละพฤตกิ รรม เต่าตนุเพศเมียเต็มวยั วางไข่ทุก 2 ปี โดยเริ่มวางไข่ได้ตั้งแต่ ช่วงอายุ 14-25 ปี สามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปี แต่มีช่วงสูงสุด ระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม เต่าตนุเพศผู้สามารถผสมพันธุ์ กับเพศเมียได้หลายตัว และเต่าตนุเพศเมียสามารถผสมพันธ์ุกับ เพศผู้ไดห้ ลายตวั เชน่ กนั อาหาร เต่าตนุเปน็ มังสวริ ตั ิ ในวยั เดก็ กนิ ทงั้ พืชและสัตวน์ า้ เล็กๆ เปน็ อาหาร สว่ นเตา่ โตเตม็ วยั กนิ พชื เป็นหลกั ไดแ้ ก่ สาหรา่ ยทะเล และ หญา้ ทะเล
ถ่นิ อาศัยและการแพรก่ ระจาย พบในเขตรอ้ นและก่งึ ร้อน ตามแนวชายฝงั่ แหลง่ หญา้ ทะเลและเกาะ ประเทศไทยพบการแพรก่ ระจาย ในธรรมชาติ ทง้ั ฝง่ั ทะเลอา่ วไทยและฝง่ั ทะเลอันดามนั แหล่งวางไข่ ฝงั่ อา่ วไทย ไดแ้ ก่ เกาะคราม จ.ชลบุรี และเกาะกระ จ.นครศรธี รรมราชสว่ นฝั่งอันดามนั ไดแ้ ก่ เกาะสมิ ิลนั เกาะสุรนิ ทร์ (เกาะตอรลิ ลา เกาะสตอ็ ก) เกาะระ เกาะพระทอง เกาะคอเขา จ.พังงา และหมูเ่ กาะอาดงั ราวี จ.สตลู
เต่ากระ เต่ากระ หรือ เต่าปากเหย่ียว (อังกฤษ: Hawksbill sea turtle; ชื่อวิทยาศาสตร์: Eretmochelys imbricata) จัดอยู่ใน ไฟลมั สัตวม์ แี กนสนั หลงั ชน้ั สัตวเ์ ล้ือยคลาน และเป็นสิ่งมีชีวติ เพียงชนิด เดยี วเท่าน้นั ทีอ่ ยู่ในสกลุ Eretmochelys มีลกั ษณะคลา้ ยเตา่ ตนุ (Chelonia mydas) โดยทเ่ี ปน็ เต่าทะเล ขนาดกลาง มีล้าตัวไม่ใหญ่มากนัก จะงอยปากแหลมงองุ้มคล้ายกับ จะงอยปากของนกเหยี่ยว มีเกล็ดบริเวณหัวด้านหน้า 2 คู่ และเกล็ด บริเวณด้านข้างข้างละ 4 เกล็ด ลักษณะของกระดองมีลวดลายและ สีสันสวยงาม ขอบกระดองเป็นหยักโดยรอบ ซึง่ ในอดีตมักจะถูกน้าไป ท้าเป็นเครื่องประดับและข้าวของต่าง ๆ เช่น หวี เมื่อโตเต็มที่ จะมี ขนาดความยาวประมาณ 100 เซนติเมตร และมีน้าหนักประมาณ 120 กโิ ลกรัม สถานการณอ์ นรุ กั ษ์ เส่ียงขนั้ วกิ ฤตติ ่อการสญู พันธ์ุ (IUCN 2.3)
แผนทีก่ ารแสดงการกระจายพันธุข์ องเตา่ กระ (สแี ดง) เตา่ กระพบกระจายพันธุใ์ นเขตอบอุ่นในมหาสมุทรท่ัวท้ังโลก โดย มักอาศัยอยู่ใกล้ชายฝั่งท่ีสงบเงียบไม่มีการรบกวน จากการศึกษา พบว่า เต่ากระกินท้ังได้พืชและสัตว์ โดยใช้ปากที่งองุ้มนี้กินทั้งสาหร่าย ทะเล, หญ้าทะเล รวมทั้งสัตว์น้าประเภทต่าง ๆ รวมถึงปะการังด้วย วางไขบ่ นชายหาดครั้งละ 150-250 ฟอง จัดเป็นสัตวป์ ่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ตามพระราชบญั ญตั สิ งวน และคุ้มครองสัตวป์ ่า พทุ ธศกั ราช 2535 และจดั เปน็ 1 ใน 4 ชนิดของ เต่าทะเลทพ่ี บไดใ้ นนา่ นน้าไทย
เต่าหญ้า ชือ่ อังกฤษ Olive Ridley Turtle ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Lepidochelys olivacea (Eschscholtz, 1829) ชือ่ อ่นื ๆ เตา่ สงั กะสี สถานภาพ - สตั วป์ ่าคมุ้ ครอง ตาม พรบ. สงวนและคมุ่ ครองสัตวป์ ่าคุ้มครอง พ.ศ. 2535 ลกั ษณะทวั่ ไป กระดองเรยี บสีเทาอมเขยี ว สสี นั ไมส่ วยงามเท่าเต่ากระและเต่าตนุ ส่วนหัวค่อนข้างโต จะงอยปากมนกว่าเต่าตนุ และท่ีแตกต่างกันชัดเจน คือเต่าหญ้ามีเกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้า 2 คู่ และเกล็ดบนกระดองหลัง แถวข้าง มีจา้ นวน 6-8 แผน่ โดยคูแ่ รกชิดติดกับเกล็ดขอบคอ ในขณะที่ เต่ากระและเต่าตนุมีเพียง 4 แผ่น ขนาดโตเต็มที่ 75-80 ซม. น้าหนัก 50 กก. ขนาดท่ีสามารถแพร่พันธุ์ได้ ความยาวกระดอง 60-65 ซม. จัดเป็นเต่าทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุด
ชีวประวตั แิ ละพฤตกิ รรม ตัวเต็มวัยหากินอยู่ชายฝ่ังน้าตื้นแต่สามารถด้าน้าได้ถึง 300 เมตร วางไข่ทุกๆ 1-3 ปี ฤดูวางไข่ตั้งแต่เดือนตุลาคม -มนี าคม อาหาร จะงอยปากใหญแ่ ละแขง็ แรง กนิ สตั ว์น้าตา่ งๆ ได้แกก่ งุ้ หอย ปู และปลา ถน่ิ อาศยั และการแพรก่ ระจาย ถน่ิ อาศยั หลกั อย่ใู นเขตซีกโลกเหนอื บริเวณทม่ี อี ณุ หภมู ขิ องน้า 20บC ประเทศไทยพบมากในฝั่งทะเลอนั ดามนั ส้าหรบั การเกยตนื้ พบทัว่ ไป ดา้ นฝง่ั ทะเลอนั ดามนั ดา้ นฝงั่ อา่ วไทย พบการเกยต้ืนเพียงบางแห่งเท่าน้นั แหลง่ วางไข่ พบเฉพาะฝ่งั ทะเลอนั ดามนั ไดแ้ ก่เกาะระ เกาะพระทอง เกาะคอเขา และหาดทา้ ยเหมอื ง จ.พังงา และ หาดไม้ขาว หาดกมลา หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต ปัจจบุ ันพบเต่าวางไขน่ อ้ ยมากจนน่าจะใกลส้ ญู พนั ธุ์
เตา่ หัวคอ้ น ชอ่ื อังกฤษ Loggerhead Turtle ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Caretta caretta(Linneaus, 1758) ช่อื อ่นื ๆ เต่าตาแดง สถานภาพ - สัตวป์ ่าคมุ้ ครอง ตาม พรบ. สงวนแ ละคุ้มครองสัตวป์ า่ คมุ้ ครอง พ.ศ. 2535 - IUCN: Endangered - CITES: Appendix I ลกั ษณะทว่ั ไป ลักษณะทว่ั ๆ ไปคลา้ ยเตา่ หญา้ และเต่าตนมุ ากตา่ งกนั ที่เกลด็ บน สว่ นหวั ตอนหน้า มจี า้ นวน 2 คู่ เท่ากับเตา่ หญ้า แตเ่ กล็ดบนกระดองหลงั แถวข้างมีจา้ นวนขา้ งละ 5 เกลด็ และเกล็ดคแู่ รกอยู่ชิดติดกับเกลด็ ขอบคอ ลักษณะรปู ทรงของกระดองห ลงั จะเรียวเลก็ ลงมาทางสว่ นทา้ ย ลา้ คอหนา และส้ัน เพศเมีย ตวั เตม็ วัยโตเต็มท่ียาว 95 ซม. น้าหนัก 120 กก.
ชีวประวตั แิ ละพฤตกิ รรม ลูกเต่าแรกเกิดอาศัยอยู่ในกระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรจนกระทั่ง ถงึ วัยใกล้สบื พนั ธ์จุ ึงกลบั สู่ชายฝ่งั ทเ่ี ป็นแหล่งฟักตวั อาหาร หอย ปู และหมึก ถน่ิ อาศยั และการแพรก่ ระจาย อาศัยใกลช้ ายฝงั่ น้าตืน้ มักอาศัยในเขตทนี่ า้ ทะเลมอี ณุ หภูมิ มากกว่า 20บC ประเทศไทย พบการเกยตน้ื ทง้ั ฝงั่ อา่ วไทยและฝงั่ ทะเล อนั ดามัน ซงึ่ เข้าใจว่าเปน็ ประชากรเตา่ ทะเลจากแหลง่ อนื่ ของประเทศ เพ่ือนบา้ นทเี่ ข้ามาอาศัยหรอื หาอาหารในนา่ นนา้ ไทย แหลง่ วางไข่ ไมพ่ บแหล่งวางไข่ในประเทศไทย แม้ในอดีตเคยมรี ายงานพบเตา่ หวั คอ้ น วางไข่ทางฝ่ังทะเลอันดามนั แตป่ จั จุบนั ไมพ่ บเต่าหวั คอ้ นขน้ึ มาวางไข่
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: