Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่องความเป็นครู ดร. นัฎ

รายงานเรื่องความเป็นครู ดร. นัฎ

Published by nidnoi3597, 2019-08-13 02:30:39

Description: รายงานเรื่องความเป็นครู ดร. นัฎ

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ความเป็ นครู จดั ทาโดย นางสาวกนิษฐา ปานศรี รหัสนักศึกษา ๖๑๒๐๘๗๙๔๐๒ นักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็ เสนอ ดร.นัฎชฎารัตน์ ณ นคร รายงานเล่มนเี้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ า ปรัชญาการศึกษาและความเป็ นครู (๑๑๐๒๕๐๓) ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๔๖๑ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็

2 ความเป็ นครู การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีทาใหม้ นุษส์ ามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ของตนเองให้ สามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มีการเก้ือหนุนการพฒั นาประเทศไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สอดคลอ้ ง กบั การเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ดา้ น และบุคคลที่มีความสาคญั อยา่ งยง่ิ ต่อการจดั การศึกษาดงั กล่าวกค็ ือครู นน่ั เอง เพราะครูเป็ นผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ และการพฒั นาโดยรอบใหเ้ กิดในตวั ผเู้ รียน เพ่ือใหม้ ีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในเชิงวชิ าการ นาไปสู่การมีสภาพชีวติ ความ เป็นอยทู่ ี่ดีข้ึน รวมท้งั การดารงตนเป็ นสมาชิกที่ดีของสงั คม ดงั น้นั การจะพฒั นาการศึกษาใหม้ ีคุณภาพ จึงยอ่ มตอ้ งพ่งึ พาอาศยั ครูท่ีมีคุณภาพ ครูที่มีความเป็นครู คาว่า ครู หรือคุรุ ในภาษาไทย มาจากคาว่า คุรุธาตุ หรือ ครธาตุ ซ่ึงแปลความได้ว่าเป็ นผูท้ ่ี หนกั ในวชิ าความรู้ ในคุณธรรม และในภารกิจการงาน รวมท้งั การทาหนา้ ที่ยกยอ่ งเชิดชูศิษยข์ องตนเอง จากผทู้ ี่ไมร่ ู้ใหก้ ลายเป็ นผูร้ ู้ ผูท้ ี่ไม่มีความสามารถใหม้ ีความสามารถ ผทู้ ี่ไม่มีความคิดให้มีความคิด ผทู้ ่ี มีความประพฤติไม่เหมาะสมให้มีความเหมาะสม และจากผทู้ ่ีไม่พึงปรารถนาใหเ้ ป็ นผูท้ ี่พึงปรารถนา ซ่ึงตามนยั ของความเป็นครูในภาษาไทยจึงเป็นผทู้ ่ีตอ้ งทางานหนกั จริงๆ ส่วนในภาษาองั กฤษมาจากคา วา่ TEACHER กเ็ ช่นเดียวกนั กล่าวคือ T- Teach E– Example A–Ability C- Characteristic H– Health E- Enthusiasm R - Responsibility 1. TEACH (การสอน) คุณลกั ษณะประการแรกของความเป็นครูก็คือ ตอ้ งสอนได้ สอนเพ่ือให้ผูเ้ รียนเกิดกระบวนการ เรียนรู้ในตนเอง มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่ดี โดยการ : 1. ฝึกฝนแนะนาใหเ้ ป็นคนดี 2. สอนใหเ้ ขา้ ใจแจม่ แจง้ 3. สอนศิลปวทิ ยาใหห้ มดสิ้น 4. ยกยอ่ งใหป้ รากฏในหมู่คณะ 5. สร้างเครื่องคุม้ กนั ในสารทิศ (สอนให้รู้จกั เล้ียงตวั รักษาตนในอนั ที่จะดาเนินชีวิตต่อไป ดว้ ยดี) และท่ีสาคญั คือ 6. ตอ้ งสอนใหเ้ กิดความงอกงามทางสติปัญญา มีความคิด และสร้างสรรค์

3 อยา่ งไรก็ตามการสอนของครูแต่ละคนน้นั ข้ึนกบั ทกั ษะและลกั ษณะของตนเอง (Teaching skill and style) เป็ นการนาเทคนิควธิ ีและทกั ษะหลาย ๆ ดา้ นมาผสมผสานใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกนั จึง ตอ้ งใช้เทคนิคและทกั ษะหลายด้านร่วมกบั ประสบการณ์เพ่ือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และตอ้ งมุ่ง จดั สรรการเรียนรู้น้ันไปในทิศทางที่ดีและมีคุณธรรมในสังคม บทบาทการสอนของครูจึงต้อง ดาเนินการ โดย 1. สอนเน้ือหาวชิ าการตามหลกั สูตรรายวิชาที่ไดร้ ับมอบหมาย โดยการมีการเตรียมการสอน อยา่ งเป็ นข้นั เป็ นตอน ต้งั แต่การทา Course Syllabus แผนจดั การเรียนรู้หรือแผนการสอนรายชวั่ โมง การดาเนินการสอน และการประเมินผล มีการปรับปรุงพฒั นา และสร้างผลงานทางวชิ าการอยเู่ สมอ 2. สอนการปรับตวั ใหเ้ หมาะสมในสังคม 3. สอนให้ให้เจริญเติบโต มีความคิด มีเหตุผล และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตามแผนท่ีได้ กาหนดหรือเตรียมการไวเ้ ป็นอยา่ งดี 2. EXAMPLE (เป็ นตัวอย่าง) ผเู้ รียนโดยทว่ั ไปน้นั จะ “เรียน” และ “เลียน” จากตวั ครู การทาตวั เป็ นตน้ แบบหรือแบบอยา่ ง จึงเป็ นสิ่งท่ีมีอิทธิพลมากกวา่ การบอกกล่าวเฉยๆ เพราะการแสดงตน้ แบบให้เห็นดว้ ยสายตาน้นั เป็ น ภาพท่ีมองเห็นชดั เจนและง่ายต่อการลอกเลียนยิ่งกวา่ การรับฟังและบอกเล่าอย่างปกติ ถา้ ตอ้ งการให้ ผเู้ รียนเป็นอะไร จงพยายามแสดงออกเช่นน้นั ท้งั ในการดาเนินชีวติ และในการสนทนา การวางตวั ของครูเป็ นตวั อย่างหรือเย่ียงอย่างให้แก่ผูเ้ รียนไดม้ าก แมว้ ่าผูเ้ รียนจะมีความคิด ความอ่านของตนเองท่ีไม่ตอ้ งการเลียนแบบผูใ้ หญ่ทุกประการเหมือนเด็กเล็ก แต่ครูก็ คือครูที่ผูเ้ รียน พจิ ารณาวา่ มีความหมายสาคญั อยมู่ าก โดยเขาจะสนใจและเฝ้าสงั เกตนบั ต้งั แตก่ ารแต่งกาย ไปจนถึงการ ประพฤติปฏิบตั ิ จะเป็ นประสบการณ์ให้เขาได้พิจารณา นอกจากน้ีการรู้ตวั เองของครู การแนะนาให้ ผเู้ รียนประพฤติใหเ้ หมาะสม ก็เป็นสิ่งจาเป็นที่ครู (ตวั เรา) ตอ้ งประพฤติและปฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมดว้ ย 3. ABILITY (ความสามารถ) คาวา่ “ความสามารถ” หมายถึงกาลงั ที่มีจริงในการแสดงหรือในการกระทาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ไม่วา่ การกระทาน้นั จะเป็ นการกระทาทางกายหรือทางจิตใจ และไม่วา่ กาลงั น้นั จะไดม้ าจากการฝึ กฝน อบรมหรือไม่ก็ตาม แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 ประเภท คือ ความสามารถทว่ั ไป (general ability) และ ความสามารถพิเศษ (specific ability) นอกจากน้นั ครูจะตอ้ งทราบถึงการเปล่ียนแปลงใหม่หรือนวตก รรมทางการศึกษา (inovation in teaching) เพื่อจะช่วยปรับปรุงและพฒั นากระบวนการเรียนรู้หรือการ เรียนการสอนให้ดียิ่งข้ึนไป การเรียนการสอนก็เช่นเดียวกบั การวินิจฉัย การรักษาโรคทางการแพทย์ หรือจะสมมติเป็ นการปรุงอาหารในครัวก็ได้ ท่ีจะตอ้ งแสดงฝี มืออยา่ งเต็มที่ให้ไดอ้ าหารอร่อยที่สุด

4 ดงั น้นั ครูจึงตอ้ งประเมินตวั เอง ประเมินการสอน และปรับปรุงขอ้ บกพร่องของส่ิงที่ตนสอนไปเสมอ (diagnosis and treatment of course defects) เพอื่ ใหผ้ ลการสอนดีท่ีสุด นอกจากครูจะตอ้ งเขา้ ใจบทบาทความเป็ นครูของตนเองแลว้ (teacher’s role) ครูควรจะมี ความสามารถดงั น้ี - จิตวทิ ยาการเรียนรู้ (psychology of learning) - การกาหนดวตั ถุประสงคข์ องการสอนอยา่ งชดั เจน (specific of objectives) - การวเิ คราะห์เน้ือหา (content analysis) - การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน (learning activities) - การนาโสตทศั นูปกรณ์มาช่วยสอน (the application of audiovisual aids) - การจดั ทาแผนการสอน (course syllabus and Lesson planning) - การประเมินการเรียนการสอน (assessment) 4. CHARACTERISTIC (คุณสมบัต)ิ ความหมายที่ใชโ้ ดยทวั่ ๆไป หมายถึง คุณภาพหรือคุณสมบตั ิที่สังเกตไดช้ ัดเจนในตวั บุคคล ทา ใหท้ ราบไดว้ า่ บุคคลน้นั แตกต่างไปจากบุคคลอ่ืนๆ ในความหมายเฉพาะ อุปนิสัยหมายถึง ผลรวมของ นิสัยต่างๆ ที่บุคคลมีอยู่ หรือผลรวมของลกั ษณะของพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคล ตามความเขา้ ใจของ คนทว่ั ไป คาวา่ อุปนิสยั น้ีแฝงความหมายของคุณธรรมจรรยาในตวั ดว้ ย เช่น เราพูดวา่ เขาผนู้ ้นั มีอุปนิสัย ดี เป็ นตน้ ในคุณสมบตั ิของความเป็ นครู สิ่งสาคญั คือ ครูจะตอ้ งมีเจตคติท่ีดีต่อผูเ้ รียน ต่อวิชาที่สอน และต่องานที่ทา 5. HEALTH (สุขภาพด)ี การมีสุขภาพดี หมายถึงการไม่มีโรค รวมถึงมีสภาพทางร่างกายและจิตใจท่ีสมบูรณ์แข็งแรง พอที่จะดารงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข ผูท้ ่ีเป็ นครูน้นั ต้องทางานหนัก ดงั น้ันสุขภาพทางด้าน ร่างกายจึงเป็ นสิ่งสาคญั แต่ท่ีสาคญั กว่าคือสุขภาพจิต คงเคยไดย้ ินคาว่า “จิตเป็ นนาย กายเป็ นบ่าว” ดงั น้นั ครูจึงจาเป็ นตอ้ งมีสุขภาพจิตท่ีดีดว้ ย จิตดีน้นั ไม่เพียงแต่ไม่เป็ นโรคจิตโรคประสาทเท่าน้นั แต่ เป็ นผูท้ ่ีมีสมรรถภาพ มีการงานและมีชีวิตท่ีเป็ นสุขทาประโยชน์ต่อสังคมด้วยความพอใจ สามารถ ปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั ต่อบุคคลที่เราอยูร่ ่วมและต่อสังคมท่ีเราเก่ียวขอ้ ง โดยไม่ก่อความ เดือดร้อนใหท้ ้งั ตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น

5 6. ENTHUSIASM (ความกระตือรือล้น) ความกระตือรือลน้ ของครูน้นั อาจจะเป็ นการใฝ่ หาความรู้ใส่ตน เพราะจะตอ้ งถือวา่ การใฝ่ หา ความรู้เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนน้นั เป็ นกระบวนการอยา่ งหน่ึงของการพฒั นาตน (Learning to teach is a process of self-development) การเพ่ิมพูนความรู้มีหลายรูปแบบ เช่น การประชุมสัมมนา อบรมระยะส้ัน จะทาให้ครูท่ีขาดความรู้ในเรื่องท่ีตนสอนไดม้ ีความรู้เพิ่มเติมและทาให้มีความมนั่ ใจ ในการสอนมากข้ึน ความกระตือรือล้นของครูน้ัน ไม่ใช่มุ่งเน้นเฉพาะการพฒั นาตวั ครูเท่าน้นั แต่ จะตอ้ งมีความกระตือรือลน้ ในการพฒั นาการเรียนการสอนดว้ ย 7. RESPONSIBILITY (ความรับผดิ ชอบ) ครูท่ีดีจะตอ้ งมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนตามที่ได้กล่าวมาแล้วเป็ นอย่างดี รวมท้งั ยอมรับผลแห่งการกระทาน้นั ๆ ไม่วา่ จะดีหรือไมก่ ็ตาม และพร้อมท่ีจะปรับปรุงแกไ้ ข การสอนของครู สาหรับการสอนของครูในการช่วยเหลือผูเ้ รียนน้นั คาถามต่อไปน้ีจะบ่งช้ีวา่ ครูท่านน้นั เป็ นครู ท่ีดีหรือไม่ รวมท้งั ตวั เราเองที่เป็นครูดว้ ย ซ่ึงสามารถตรวจสอบไดด้ ว้ ยตวั เอง ดงั น้ี การสอนทสี่ ่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึ กหัดเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self learning) 1. ใหผ้ เู้ รียนไดต้ อบคาถามเก่ียวกบั วชิ าการท่ีเรียนหรือไม่ ? 2. ใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ เพอ่ื ตอบคาถามหรือเพ่ือแกไ้ ขปัญหาเพม่ิ เติมหรือไม่ ? 3. จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนไดร้ ู้จกั คิด และฝึกทกั ษะในการทางานหรือไม่ ? การประเมินและการบอกให้ผ้เู รียนทราบถึงผลงานทที่ า (Feed back) 4. บอกผเู้ รียนหรือไมว่ า่ เม่ือมอบหมายงานใหท้ าแลว้ เขาทางานเป็นอยา่ งไร? 5. อธิบายใหผ้ เู้ รียนทราบหรือไมถ่ ึงขอ้ บกพร่องต่างๆ ท่ีทา ? 6. อธิบายใหผ้ เู้ รียนทราบหรือไม่ วา่ ทาอยา่ งไรจึงจะทาไดด้ ีกวา่ น้ี ? การให้ความกระจ่างชัดในการสอน (Clearity) 7. สงั เกตหรือไมว่ า่ ผเู้ รียนทุกคนสามารถไดย้ นิ และมองเห็นชดั เจน ? 8. ใชค้ าพูดง่ายๆ เหมาะสมกบั วยั ของผเู้ รียนหรือไม่ ?

6 9. ใชอ้ ุปกรณ์การสอนเพอื่ ช่วยใหก้ ารเรียนการสอนมีความหมายยง่ิ ข้ึนหรือไม่ ? ซ่ึงอุปกรณ์การสอนดงั กล่าว อาจประกอบดว้ ย - รูปภาพ ภาพถ่าย ภาพวาด - ภาพโปสเตอร์ - แผนภูมิ แผนผงั แผนท่ี - ภาพหลกั - ภาพติดกระดานผา้ สาลี - ภาพกระจกฉาย - ภาพยนตร์ - ภาพชุด - วตั ถุของจริง - วตั ถุจาลอง - นิทรรศการ - เครื่องบนั ทึกเสียง เป็นตน้ การทาให้การสอนมคี วามหมายมากขนึ้ (Making your meaningful) 10. ไดส้ อนโดยเชื่อมโยงบทเรียนท่ีสอนกบั สภาพที่ผเู้ รียนเป็ นอยหู่ รือไม่ ? 11. ไดย้ กตวั อยา่ งเพ่อื ใหผ้ เู้ รียนมองเห็นภาพพจน์กระจา่ งข้ึนหรือไม่ ? 12. ไดเ้ ช่ือมโยงสิ่งที่ครูสอนกบั งานที่ผเู้ รียนจะตอ้ งกระทาหรือไม่ ? 13. ไดส้ รุปเพ่อื ใหผ้ ไู้ ดแ้ นวคิดที่ดีอีกคร้ังหรือไม่ ? จะต้องแน่ใจว่าผู้เรียนเรียนรู้เรื่องสิ่งทสี่ อน (Ensuring mastery) 14. ไดต้ รวจสอบหรือไม่ ? วา่ ผเู้ รียนทุกคนเขา้ ใจในทุกๆเรื่อง ทุกๆจุดท่ีสอน ? 15. เคยตรวจสอบหรือไมว่ า่ ผเู้ รียนแตล่ ะคนสามารถฝึกทกั ษะไดห้ รือไม่ ? จะต้องเข้าใจถึงความแตกต่างของผ้เู รียนแต่ละคน (Individual differences) 16. ยนิ ยอมใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะคนไดท้ างานตามความสามารถและใชเ้ วลาท่ีไมเ่ ทา่ กนั หรือไม่ ? 17. เคยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้โดยวธิ ีแตกตา่ งกนั ออกไปหรือไม่ ? 18. เคยใชว้ ธิ ีสอนหลาย ๆ วธิ ีหรือไม่ ซ่ึงวธิ ีสอนมีหลายวธิ ี ดงั น้ี - อธิบายจากหนงั สือแลว้ ใหผ้ เู้ รียนไปอา่ นเองนอกเวลา - อธิบายจากหนงั สือแลว้ ใหอ้ า่ นหนงั สือพร้อมกนั - วธิ ีประชุมกลุ่มใหผ้ เู้ รียนออกความคิดเห็นอภิปรายร่วมกนั - การแสดงหรือเล่นละครส้ันๆ - สอนจากเหตุการณ์หรือประสบการณ์ - ใชก้ รณีศึกษา - ใชว้ ธิ ี constructivism - ทารายงานคน้ ควา้ เป็นรายบุคคล - ทารายงานคน้ ควา้ เป็ นกลุ่ม - วธิ ีสาธิต

7 - ใหม้ ีการฝึกปฏิบตั ิ - ใหท้ าโครงการหรือโครงงาน - การทศั นศึกษา - จดั หาประสบการณ์ตรง (first hand experience) ท้งั ในหอ้ งเรียนและนอก หอ้ งเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาท่ีสอน - ใชว้ ธิ ีการปฏิบตั ิใหเ้ กิดกระบวนการทางปัญญา เป็ นตน้ ให้การดูแลผ้เู รียนทกุ คน (Caring) 19. เคยใหค้ วามมน่ั ใจแก่ผเู้ รียนหรือไม่วา่ ครูรักผเู้ รียนทุกคนไมว่ า่ จะทาดีหรือไม่? 20. แสดงใหผ้ เู้ รียนเห็นหรือไม่วา่ สนใจและเตรียมสอนอยา่ งดีตลอดช่วงเวลาท่ีสอน? 21. เคยฟังความคิดเห็น หรือใหผ้ เู้ รียนวจิ ารณ์การสอนบา้ งหรือไม่? การเป็นครูมืออาชีพใช่วา่ จะเป็นกนั ไดง้ ่าย ๆ เพราะงานครูเป็นงานท่ียง่ิ ใหญแ่ ละหนกั ๆ กวา่ งานใด ๆ เป็นงานสร้างและพฒั นาคน และองคป์ ระกอบแรกท่ีมีความสาคญั ต่อการพฒั นาคือ สติปัญญา ซ่ึงตอ้ งยอมรับความเป็ นจริงวา่ โดยรวมผเู้ รียนส่วนใหญ่มิไดม้ ีระดบั สิติปัญญาดีเลิศ ดงั น้นั การจะ พฒั นาพวกเขาจึงตอ้ งอาศยั ครู อาศยั พวกเรา-ท่าน เป็นหลกั เพราะอยา่ งนอ้ ยกม็ ีส่วนแบง่ ประมาณ 30- 40 % ท่ีส่งผลตอ่ การเรียนรู้ของพวกเขา จึงใคร่ขอใหท้ ุกทา่ นที่เป็นครูจงไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของการเป็ นครู ตามขอ้ เขียนท่ีไดก้ ล่าวถึงท้งั หมด เพอื่ นามาประกอบการพจิ ารณาปรับปรุงและพฒั นา ตวั ของท่านเอง การสอนทม่ี ีคูณภาพ การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบตา่ งๆในกระบวนการเรียนการสอน และ ในองคป์ ระกอบน้ีครู-อาจารยผ์ สู้ อนและพฤติกรรมการสอนที่แสดงออกมา จะเป็นส่วนหน่ึงท่ีมี ความสาคญั ในลาดบั ตน้ ๆ ท่ีส่งผลต่อคุณภาพหรือความสาเร็จในการเรียนรู้ของนกั ศึกษา ทา่ นเป็นครู- อาจารยซ์ ่ึงถือวา่ เป็นส่วนสาคญั ของความสาเร็จน้นั ไดเ้ คยตรวจสอบพฤติกรรมการสอนของตวั ท่านเอง บา้ งหรือไม่วา่ มีคุณภาพอยใู่ นระดบั ใด ? คุณภาพในที่น้ีหมายถึงคุณภาพตามเกณฑท์ ี่ผคู้ นทวั่ ไปพอใจ หรือตามท่ีหน่วยงานที่น่าเช่ือถือเป็นผกู้ าหนดข้ึนมา ซ่ึงเมื่อพิจารณาจากพฤติกรรมการเรียนการสอน แบง่ ออกเป็น 5 ระดบั คือ สอนตรง หมายถึง การใชว้ ธิ ีการสอนที่ก่อใหเ้ กิดการพฒั นาดา้ นสติปัญญาข้นั ตน้ เป็นการ พฒั นาทางสมองในการเก็บรักษาเร่ืองราว ขอ้ มูล เทจ็ จริง เนน้ ความสามารถในการจาความรู้ตา่ งๆ เช่น

8 การจากฎ หลกั เกณฑ์ ทฤษฎีต่างๆ ได้ หากพิจารณาการมีส่วนร่วมของนกั ศึกษาในการเรียนการสอน แลว้ อยใู่ นระดบั 0 -20% สอนอธิบายขยายความ หมายถึง การสอนใหเ้ กิดความเขา้ ใจในเน้ือหา ความรู้ สามารถ อธิบาย แปลความหรือขยายความดว้ ยคาพดู ของตนเองได้ การสอนระดบั น้ีเป็ นการเนน้ พฒั นาการ ความสามารถในการสื่อความหมายระหวา่ งตนเองกบั ผอู้ ่ืน หากพิจารณาดา้ นการมีส่วนร่วมของ นกั ศึกษาในการดาเนินการเรียนการสอนแลว้ อยใู่ นระดบั 21-40% สอนคดิ หมายถึง การพฒั นาความสามารถในการวเิ คราะห์ แยกแยะเน้ือหาความรู้เรื่องใดเร่ือง หน่ึง เป็นส่วนประกอบยอ่ ยๆ หรือความรู้ดา้ นต่างๆ พร้อมท้งั สามารถเปรียบเทียบความแตกตา่ ง คลา้ ยคลึงกนั ของส่วนประกอบยอ่ ยๆ หรือความรู้ดา้ นตา่ งๆ เหล่าน้นั ดว้ ย หากพิจารณาดา้ นการมีส่วน ร่วมของนกั ศึกษาในการดาเนินการเรียนการสอนแลว้ อยูใ่ นระดบั 41-60% สอนสร้าง หมายถึง การพฒั นาความสามารถในการบอกความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผลของ ส่วนประกอบยอ่ ย ๆ หรือความรู้หลาย ๆ ดา้ น และสามารถนาไปอธิบายใหข้ อ้ เสนอแนะในการ แกป้ ัญหา หรือนาไปใชไ้ ด้ หากพิจารณาดา้ นการมีส่วนร่วมของนกั ศึกษาในการดาเนินการเรียนการ สอนแลว้ อยใู่ นระดบั 61-80% สอนค้นพบ หมายถึง การพฒั นาความสามารถในการสงั เคราะห์ หรือการรวมส่วนประกอบ ยอ่ ย ๆ ของความรู้หลาย ๆ เรื่องใหเ้ ป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ซ่ึงเป็นการบูรณาการความรู้เพอ่ื สร้างสิ่งใหม่ ๆ หรือสามารถแกป้ ัญหาใหม่ๆ ท่ีตอ้ งใชค้ วามสามารถในการคิดเป็ นอยา่ งมาก เป็ นการคิดอยา่ งมี วจิ ารณญาณและสามารถประเมินค่าสิ่งตา่ งๆ ได้ หากพิจารณาดา้ นการมีส่วนร่วมของนกั ศึกษาในการ ดาเนะเนินการเรียนการสอนแลว้ อยใู่ นระดบั 81-100% จากการสารวจสภาพการเรียนการสอน และการประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรพบวา่ ครู- อาจารยท์ วั่ ไป ส่วนใหญย่ งั คงจดั การเรียนการสอนโดยเป็ นผอู้ ธิบาย บอกจด หรือเขียนกระดานดา และ เนน้ เน้ือหาสาระมากกวา่ กระบวนการ ภายใตส้ ภาพดงั กล่าวจะไมม่ ีการแลกเปล่ียนความรู้ซ่ึงกนั และกนั ไมเ่ ปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษาไดส้ ร้างองคค์ วามรู้ใหม่ และก่อใหเ้ กิดปัญหาที่ไม่สามารถคิดดดั แปลงทฤษฎี ไปสู่การปฏิบตั ิ หรือประยกุ ติใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์จริงได้ เพราะเป็นวธิ ีการสอนท่ีไม่สามารถ ตอบสนองศกั ยภาพและยงั ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนกั ศึกษาใหเ้ ป็นไปตามท่ีหลกั สูตร คาดหวงั กล่าวไดว้ า่ ยงั มีปัญหาท้งั ในเร่ืองของการจดั การเรียนการสอนและคุณภาพของผเู้ รียน ดงั น้นั เพ่ือใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในตวั นกั ศึกษาเพื่อใหพ้ วกเขามีคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ครู-อาจารยจ์ ึงตอ้ งมี การทบทวนรูปแบบการสอนใหม่ ซ่ึงจากการวจิ ยั ท้งั ในและตา่ งประเทศไดเ้ สนอวา่ รูปแบบการสอนท่ีดี น้นั ควรเป็นในลกั ษณะของการสอนแบบบูรณาการ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วม มีกิจกรรม มีการปฏิบตั ิ หรือเป็นศูนยก์ ลางของการเรียนการสอน

9 การสอนทเี่ น้นให้ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลางของการเรียนการสอน การเรียนรู้ที่แทจ้ ริงเกิดจากการที่ผเู้ รียนไดม้ ีปฎิสมั พนั ธ์กบั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีอยรู่ อบตวั ดงั น้นั การ จดั การเรียนการสอนจึงตอ้ งจดั ใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีส่วนร่วมในการทากิจกรรม หรือมีการปฏิบตั ิใหม้ ากที่สุด เท่าท่ีจะทาได้ เป็นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง ผสู้ อนจะมีบทบาทนอ้ ยลง ผเู้ รียนจะมีโอกาสได้ พฒั นาทกั ษะการคิดในระดบั สูง รู้จกั วางแผนการทางาน ทางานเป็น รู้จกั ตดั สินใจแกป้ ัญหาได้ มีการ ทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน และไดแ้ สดงออกซ่ึงคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ตอ่ ไปน้ีเป็นการเปรียบเทียบใหเ้ ห็น วธิ ีการสอน (บางวธิ ี) ที่มีครูเป็นศูนยก์ ลาง และผเู้ รียนเป็ นศูนยก์ ลาง ซ่ึงตามนยั ดงั ไดก้ ล่าวมา ท่านผสู้ อน ควรเลือกวธิ ีหลงั และ/หรือบูรณาการหลายๆ วธิ ีผสมกนั โดยใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมในการ เสริมสร้างการเรียนรู้ของผเู้ รียน วธิ ีการ บทบาทของครู พฤตกิ รรม เน้นครูเป็ นศูนย์กลาง การบรรยาย มาก การพดู ครูเสนอความรู้โดยไม่มีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผเู้ รียน การบรรยาย – ถามตอบ มาก – ปานกลาง การพูด ครูเสนอความรู้และมีส่วนของการถามตอบ การสาธิต ดว้ ย การใหท้ าตามตวั อยา่ ง มาก – ปานกลาง การแสดงให้ดู มีผู้แสดงให้ดูอยู่หน้าช้ันพร้อม อธิบายส่ิงท่ีแสดงใหด้ ู เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง การอภิปราย มาก การแสดงให้ดู มีผูป้ ฏิบัติให้ดูตามที่ต้องการให้ ผเู้ รียนทาตามหรือทาตามแบบ การอภิปรายแบบ Panel นอ้ ย – ปานกลาง การมีปฏิสัมพนั ธ์ท้งั ช้ันเรียนหรือกลุ่มย่อย มีการ การแสดงบทบาทสมมติ นอ้ ย แลกเปลี่ยนความคิดในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง นอ้ ย การพูด กลุ่มผูเ้ รียนนาเสนอและอภิปรายถกเถียงใน การเรียนแบบร่วมมือ นอ้ ย เร่ืองใดเร่ืองหน่ึงหนา้ ช้นั การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนแสดงบทบาทในเหตุการณ์หรือ สถานการณ์หน่ึงๆ การปฏิบตั ิ กลุ่มผเู้ รียนท่ีมีความสามารถแตกต่างกนั ร่วมมือกนั ทางานท่ีกาหนดให้

10 วธิ ีการ บทบาทของครู พฤติกรรม การคน้ พบ นอ้ ย – ปานกลาง การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนดาเนินงานตามวธิ ีการที่ กาหนดใหเ้ พ่ือแกป้ ัญหาใดปัญหาหน่ึงโดยอาศยั ประสบการณ์ตรง การเสาะแสวงหาความรู้ นอ้ ย การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนคิดวธิ ีการแกป้ ัญหาเอง โดยอาศยั ประสบการณ์ตรง การสร้างสถานการณ์/เกม นอ้ ย การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในสถานการณ์ท่ีสร้าง ข้ึน หรือเหตุการณ์ท่ีเหมือนจริงท่ีสามารถควบคุม ความปลอดภยั ได้ การสอนเป็ นรายบุคคล นอ้ ย – ปานกลาง การพดู /การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนท่ี ออกแบบมาเพื่อใหเ้ หมาะกบั ความตอ้ งการและ ความสามารถของผเู้ รียน การศึกษาดว้ ยตนเอง นอ้ ย การพูด/การปฏิบตั ิ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยมีการ แนะนาเพยี งเลก็ นอ้ ยหรือไมม่ ีเลย ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น ห รื อ นอ้ ย การปฏิบัติ ผู้เรี ยนคิดวิธีการแก้ปัญหาเอง และ โครงการ ดาเนินการแกป้ ัญหา โดยอาศยั มีประสบการณ์ตรง อาจมีการแนะนาเพียงเลก็ นอ้ ยหรือไมม่ ีเลย การทาแฟ้มสะสมงาน นอ้ ย – ปานกลาง การปฏิบตั ิ ผเู้ รียนเรียนรู้ และมีพฒั นาการในเร่ือง ของการคิด การทางาน การจดั การ การส่ือความหมาย และ สังคม โดยมีการแนะนาเพยี งเลก็ นอ้ ย บทบาทของครู-อาจารย์กบั การเรียนการสอนทม่ี ีผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง 1. เป็นผจู้ ดั การ (Manager) ครู-อาจารยจ์ ะเป็นผกู้ าหนดบทบาทใหผ้ เู้ รียนทุกคนไดม้ ีส่วนร่วม ทากิจกรรม แบง่ กลุ่ม หรือจบั คู่ เป็นผมู้ อบหมายงานหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบแก่ผูเ้ รียนทุกคน จดั การให้ ทุกคนไดท้ างานท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถความสนใจของตน 2. เป็นผรู้ ่วมทากิจกรรม (An Active Participant) เขา้ ร่วมทากิจกรรมในกลุ่มจริงพร้อมท้งั ให้ ความคิดและความเห็นหรือเชื่อมโยงประสบการณ์ส่วนตวั ของผเู้ รียนขณะทากิจกรรม 3. เป็นผชู้ ่วยเหลือและแหล่งวทิ ยาการ (Helper and Resource) คอยใหค้ าตอบเม่ือผเู้ รียน ตอ้ งการความช่วยเหลือทางวชิ าการ เพราะการใหข้ อ้ มูล หรือความรู้ในขณะที่ผเู้ รียนตอ้ งการจะช่วยทา ใหก้ ารเรียนรู้มีประสบการณ์เพิม่ ข้ึน

11 4. เป็นผสู้ นบั สนุนและเสริมแรง (Supporter and Encourager) ช่วยสนบั สนุนดา้ นส่ืออุปกรณ์ หรือให้คาแนะนาท่ีช่วยกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมหรือฝึกปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง 5. เป็นผตู้ ิดตามตรวจสอบ (Monitor) คอยตรวจสอบงานท่ีผเู้ รียนผลิตข้ึนมาก่อนที่จะส่งต่อไป ใหผ้ เู้ รียนคนอื่นๆโดยเฉพาะความถูกตอ้ ง เปรียบเทยี บผลการเรียนรู้แบบครูเป็ นศูนย์กลางกบั ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง วธิ ีสอนแบบครูเป็ นศูนย์กลาง วธิ ีสอนแบบผ้เู รียนเป็ นศูนย์กลาง 1. ดา้ นบทบาทครู 1. ดา้ นบทบาทครู 1) มุง่ สอนเน้ือหาและการจาเน้ือหาได้ 1) มุ่งพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ศกั ยภาพ ความคิด 2) จะบอก เล่า สงั่ อธิบายเน้ือหา 2) กระตุน้ ใหเ้ ด็กคิดและปฏิบตั ิตามความคิด 3) ครูจะจดั กิจกรรมแบบ Passive Learning 3) ครูจดั กิจกรรมแบบ Active Learning 4) ปฏิสัมพนั ธ์จะเป็นแบบทางเดียว ครูจะเรียนร่วมกบั ผเู้ รียนและคิดหาวธิ ีการ ใหมๆ่ เพ่ือพฒั นาผเู้ รียน 2. ดา้ นผลท่ีเกิดกบั ผเู้ รียน : 2. ดา้ นผลท่ีเกิดกบั ผเู้ รียน : ดา้ นการคิดและดา้ นบุคลิกภาพ ดา้ นการคิดและดา้ นบุคลิกภาพ 1. คิดไดจ้ ากดั คิดชา้ 1. คิดเป็น เรียนรู้โดยการคิดแบบปฏิบตั ิ 2. เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบนิรนยั 2. เกิดกระบวนการเรียนรู้แบบอุปนยั 3. จะมีบุคลิกภาพแบบพ่ึงพา ไมเ่ ชื่ออานาจในตน 3. มีบุคลิกภาพแบบพ่งึ ตนเอง เชื่ออานาจในตน 4. เชื่อฟัง ทาตาม วา่ ง่าย 4. ใชเ้ หตุใชผ้ ล วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วธิ ีการจัดกระบวนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็ นศูนย์กลาง ข้นั ตอนกระบวนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง มีดงั น้ี คือ 1. ข้นั นา - สร้าง/กระตุน้ ความสนใจ หรือ - เตรียมความพร้อมในการเรียน 2. ข้นั กจิ กรรม จดั กิจกรรมที่ใหผ้ เู้ รียนบรรลุวตั ถุประสงค์ โดยกิจกรรมควรมีคุณสมบตั ิดงั น้ี - ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดส้ ร้างความรู้ดว้ ยตนเอง (Construct) - ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีปฏิสมั พนั ธ์ช่วยกนั เรียนรู้ (Interaction) - ช่วยใหผ้ เู้ รียนมีบทบาทและส่วนร่วมในการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง (Participation)

12 - ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้กระบวนการ (Process) ควบคูก่ บั ผลงาน (Product) - ช่วยใหผ้ เู้ รียนนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ (Application) 3. ข้นั วเิ คราะห์ อภปิ รายผลจากกจิ กรรม - วเิ คราะห์ อภิปรายผลงาน/ขอ้ ความรู้ที่สรุปไดจ้ ากกิจกรรม (Product) - วเิ คราะห์ อภิปรายกระบวนการเรียนรู้ 4. ข้นั สรุป และประเมินผลการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงค์ ยุทธวธิ ีส่งเสริมการคดิ การสอนที่มีคุณภาพ คือการสอนใหผ้ เู้ รียนสามารถ คิดเป็ น ทาเป็น แกป้ ัญหาเป็ น และ ความสามารถในการคิดของคนเราน้ีโดยทวั่ ไปเชื่อวา่ อยทู่ ี่สมอง คนเก่งมกั ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ มี มนั สมองดี นกั วทิ ยาศาสตร์พบวา่ การทาใหค้ นมีสมองดีน้นั ทาไดโ้ ดยการกระตุน้ ใหม้ ีการขยายสาขา ของประสาท (neural branching) เพอื่ สร้างจุดตอ่ (synapses) ระหวา่ งเซลลใ์ หม้ ากข้ึน ซ่ึงจะส่งผลทาให้ มีการส่งต่อสญั ญาณไดม้ ากข้ึน มีประสิทธิภาพสูงข้ึนนนั่ เอง Cardellichio และ Field (อา้ งถึงใน สุร ศกั ด์ิ, 2540 : 21-24) ไดเ้ สนอแนะแนวทางในการทาใหส้ มองมีประสิทธิภาพไว้ 7 วธิ ี ซ่ึงสามารถ นาไปใชใ้ นหอ้ งเรียนไดโ้ ดยใหด้ าเนินการ ดงั น้ี 1. ฝึกการคิดแบบสมมติฐาน (Hypothetical thinking) 2. ฝึกการคิดกลบั ทิศทาง (Reversal) 3. ฝึกการใชแ้ บบสญั ลกั ษณ์ใหม่ (Application of different symbol) 4. ฝึกการอุปมาอุปมยั (Analogy) 5. ฝึกการวเิ คราะห์แนวความคิด (Analysis point of view) 6. ฝึกการเติมใหส้ มบูรณ์ (Completion) 7. ฝึกวเิ คราะห์ความเก่ียวโยง (Web analysis) ผทู้ ี่มีจิตวญิ ญาณของความเป็ นครูทุกทา่ น ลว้ นแตม่ ีความตอ้ งการให้ ลูกศิษยป์ ระสบผลสาเร็จ ในการเรียนและในชีวติ ของเขาท้งั สิ้น ความสาเร็จน้นั ไดม้ ีการทดสอบจนเป็นท่ียอมรับกนั โดยทวั่ ไป เช่ือวา่ ส่วนหน่ึงมาจากครู-อาจารยผ์ สู้ อนอยดู้ ว้ ย ดงั น้นั เมื่อรู้แลว้ วา่ พฤติกรรมการสอนใดที่จะส่งผลต่อ พวกเขา จึงเป็นสิ่งที่ตอ้ งตระหนกั และใหค้ วามสาคญั อยา่ งยง่ิ มีคากล่าววา่ \"การพฒั นาชาติใหเ้ ร่ิมที่ ประชาชน จะพฒั นาคนใหเ้ ร่ิมที่ใจ จะพฒั นาอะไรใหเ้ ร่ิมที่ตวั เองก่อน\" ท่านจะเป็นครู-อาจารยแ์ บบใด กต็ ามตวั ทา่ นเองนน่ั แหละรู้ดีท่ีสุด และพฤติกรรมใดๆ ที่ท่านแสดงออกมา ยอ่ มทาใหบ้ งั เกิดผลอยา่ งใด อยา่ งหน่ึงเสมอ ดงั น้นั ขอ้ เขียนที่ท่านอ่านมาท้งั หมดน้ี จึงขอฝากไวใ้ หพ้ ิจารณาดว้ ย เพ่ืออนาคต ประเทศชาติของเราครับ

13 บรรณานุกรม กรมวชิ าการ . 2539 . คูม่ ือการพฒั นาโรงเรียนเขา้ สู่มาตรฐานการศึกษาอนั ดบั ท่ี 15 . ม.ป.ท. (อดั สาเนา) กรมวชิ าการ . 2541 . “ทิศทางการจดั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน”. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิง วชิ าการระดมความคิดเห็น, 26 กุมภาพนั ธ์ 2541 ณ โรงแรมสยามซิต้ี กรุงเทพฯ. (อดั สาเนา) จงกล พลู สวสั ด์ิ. 2541 . รูปแบบการเรียนของนิสิต: ศึกษาเฉพาะกรณีนิสิตสาขาศึกษาศาสตร์-เกษตร. กรุงเทพฯ : วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. จุมพต พมุ่ ศรีพานนท.์ 2531. องคป์ ระกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าสัตววทิ ยาของ นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง วทิ ยาเขตเกษตร พระนครศรีอยธุ ยา. กรุงเทพฯ : วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. อา้ งถึง H. Maddox. 1965. How to study London : The English Language Book Society. ทิศนา แขมณี และคณะ. 2540 . “การเรียนรู้เพื่อพฒั นากระบวนการคิด”. วารสารครุศาสตร์. 26(กค.- ตค.)35-60. นฤมล ยตุ าคม . 2541 . “แนวทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ : การใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิจริง” สาระ การศึกษา “การเรียนการสอน”. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สิริพร ทิพยค์ ง . (มปป.) . ความเป็นครู . ภาควชิ าการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (เอกสารโรเนียว) สุรชาติ สงั ขร์ ุ่ง. 2541. “ผลงานทางวชิ าการตามสภาพจริง”. วารสารขา้ ราชการครู. 5 (มิย.-กค.) : 15-23. สุรศกั ด์ิ หลาบมาลา . 2540 . “ยทุ ธวธิ ีส่งเสริมการคิด” ศึกษาศาสตร์ปริทศั น์. 12 (กนั ยายน-ธนั วาคม 2540) 21-24 อา้ งถึง Cardellichio Thomas and Wendy Fild . 1997 . “Seven Strategies that Encourage Neural Branching” Educational Leadership. pp. 33-36 หทยั รัตน์ เทพสถิตย.์ 2542 . รูปแบบการเรียนการสอนในวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี กลุ่มภาค ตะวนั ออก. กรุงเทพฯ : วทิ ยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. อดุลย์ วริ ิยเวชกลุ . 2541 . คูม่ ือการจดั การเรียนการสอนระดบั บณั ฑิตศึกษา . บณั ฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั มหิดล. อุไร พลกลา้ และ ศุภมาศ ณ ถลาง . 2539 . “ทาไมจึงตอ้ งนกั เรียนเป็นศูนยก์ ลาง” . กรุงเทพฯ : หน่วย ศึกษานิเทศก์ กรมสามญั ศึกษา. (อดั สาเนา)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook