Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป 5 บท สุขภาวพอนามัย

สรุป 5 บท สุขภาวพอนามัย

Published by nuynapitchaya, 2021-11-21 03:41:20

Description: สรุป 5 บท สุขภาวพอนามัย

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาต่อเนอื่ ง/การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการอบรมใหค้ วามรสู้ ่งเสรมิ สขุ ภาวะอนามยั ของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง วนั ท่ี 16 มิถนุ ายน 2564 ประจำปี งบประมำณ 2564 โดย นายไชยกรานต์ งานจัตุรัส ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเขาสวนกวาง สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จังหวัดขอนแกน่

คำนำ กศน.อำเภอเขำสวนกวำง ได้ตระหนักถึงสุขภำวะอนำมัยเป็นส่ิงท่ีน่ำสนใจ น่ำค้นหำ และเป็นส่ิงท่ีน่ำเรียนรู้ และบอกถึงเร่ืองรำวต่ำงๆท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยในเร่ืองของสุขภำพ จึงได้จัดโครงกำรส่งเสริมสุขภำวะอนำมัยของ ประชำชน กศน.อำเภอเขำสวนกวำง เพื่อเป็นเป็นประโยชน์ต่อประชำชน ซ่ึงข้อมูลที่ผู้จัดทำโครงกำรส่งเสริมสุขภำวะ อนำมัยของประชำชน กศน.อำเภอเขำสวนกวำง นำมำเผยแพร่นี้เก่ียวกับเรื่องสุขภำพ ถือว่ำเป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภำพและ ประโยชน์ให้กบั ประชำชน ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำผู้ที่ได้เข้ำมำอ่ำนจะสำมำรถเข้ำใจ ได้มำกหรือน้อยนั้น อยู่ท่ีกำรเข้ำใจของแต่ละคน หำกเกิดขอ้ ผิดพลำดประกำรใดกข็ ออภยั มำ ณ ที่นีดว้ ย นำยไชยกรำนต์ งำนจัตรุ สั หวั หนำ้ กศน.ตำบลดงเมืองแอม

สำรบญั หน้ำ เรอ่ื ง 1 2 บทท่ี 1 บทนำ 12 บทที่ 2 เอกสำรและหลกั กำรที่เกีย่ วข้อง 16 บทท่ี 3 วธิ กี ำรดำเนนิ กำร 21 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน 23 บทท่ี 5 สรุปผลกำรดำเนินงำน ภำคผนวก -ภำพกิจกรรม -โครงกำร -คำสงั่ คณะทำงำน -แบบประเมินโครงกำร -หนังสือเชญิ วิทยำกร -หนงั สอื ขอใช้สถำนท่ี -แผนกำรใชง้ บประมำณ

1 บทที่ 1 บทนำ 1. ช่ือโครงกำร : โครงกำรอบรมใหค้ วำมรู้สง่ เสรมิ สขุ ภำวะอนำมยั ของประชำชน กศน.อำเภอเขำสวนกวำง 2. สอดคล้องกับนโยบำย และจุดเน้น กำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำ พ.ศ.2564 ข้อที่ ๒ ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชำชนท่ี เหมำะสมกบั ทุกชว่ งวยั . หลกั การและเหตุผล สุขภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ และการดารงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ไม่ใชเ่ พียงแต่ความปราศจากโรค หรอื ทพุ พลภาพเท่านั้น สุขภาวะของความไม่มีโรคหรือไม่บกพรอ่ งยัง ไม่ถือว่ามีสุขภาพแต่สุขภาพมีความหมายเชิงบวกท่ีเน้นความเป็นอยู่ท่ีสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ และสังคม น่ันคือ ต้องมสี ุขภาพกาย สุขภาพจิต โดยมีแนวความคิดสุขภาพก็คือ สุขภาวะ หรือ Well- being ความสุข คือ ความเป็นอิสระหรือการหลุดพ้นจากความบีบค้ัน ดังน้ัน สุขภาพคือสุขภาวะหรือ ความเป็นอิสระหลุดพ้นจากความบีบค้ันทางกายทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา สุขภาพ กาย หมายถึง สภาพของร่างกายท่ีมีความเจริญเติบโต แต่พัฒนาการสมกับวัย สะอาด แข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และทุพพลภาพ พร้อมทั้งมีภูมิคุ้มกันโรคหรอื ความต้านทานโรคเป็น อย่างดี 4. วัตถุประสงค์ 1) เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีความรู้ ความเข้าใจสขุ ภาวะอนามัย 2) เพอ่ื ให้ประชาชนได้มสี ุขภาวะอนามัยและมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ขี ้นึ

2 บทที่ 2 เอกสำรและหลักวชิ ำกำรทีเ่ กี่ยวข้อง เอกสารและหลักวิชาการที่เก่ียวข้องในการดาเนินโครงการดาเนินงานตามโครงการส่งเสริม สุขภาวะอนามยั ของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง เป็นหลกั วชิ าที่ประมวลจากแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้อง ซึ่งได้นาเสนอดงั นี้ 1.เทคนคิ การบริหารงานแบบ PDCA 2.งานวชิ าการ/บทความท่ีเกยี่ วขอ้ ง เทคนิคกำรบรหิ ำรงำนแบบ PDCAA ควำมหมำยของ PDCAAวงจรกำรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพ ประกอบด้วย P = Plan คอื การวางแผนงานจากวัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายที่กาหนดขึ้น D = Do คือ การปฏิบัติตามข้ันตอนในแผนงานท่ีได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความ ตอ่ เน่ือง C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความ ต่อเนอื่ ง A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนท่ีมีปัญหา หรือถ้าไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทาง ปฏิบตั ิตามแผนงานท่ีไดผ้ ลสาเร็จเพื่อนาไปใช้ในการทางานคร้งั ตอ่ ไป A = Advertising คือ การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ เม่ือได้วางแผนงาน (P) นาไปปฏบิ ัติ (D) ระหว่างปฏิบัตงิ านก็ไดด้ าเนินการตรวจสอบ (C) พบ ปัญหาก็ดาเนินการแก้ไขและปรับปรุง (A) (A) การปรับปรุงก็เร่ิมจากการวางแผนก่อนวนไปได้เรื่อยๆ จงึ เรียกวงจร PDCAA ประโยชน์ของ PDCAA 1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบัติงานจะทาให้เกิดความพร้อม เม่ือได้ปฏิบัติงานจริงการ วางแผนงานควรวางให้ครบทัง้ 4 ขน้ั ตอน ดงั นี้ -ขั้นการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการต้องการของตลาด ข้อมูลด้านวัตถุดิบ ดา้ นทรัพยากรที่มีอยหู่ รอื เงนิ ทุน - ขั้นเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานท่ี การออกแบบลิตภัณฑ์ ความ พรอ้ มของพนกั งาน อปุ กรณเ์ ครือ่ งจกั ร วัตถดุ บิ - ขน้ั ดาเนนิ งาน คือ กานวางแนวทางการปฏบิ ัตงิ านของแตล่ ะส่วน แตล่ ะฝ่าย เชน่ ฝา่ ยผลิต ฝ่ายขาย - ข้ันการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลอย่างเป็นระบบ เช่นการ ประเมินจากยอดการจาหนา่ ย ประเมินการติชมของลูกคา้ เพ่อื ใหท้ ่ไี ด้จากการประเมนิ การเทยี่ งตรง 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบข้ันตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือ ทราบอุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนั้นการปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียบร้อย นาไปสู่ เปา้ หมายทไี่ ด้กาหนดไว้

3 3. การตรวจสอบ ใหไ้ ด้ผลทีเ่ ที่ยงตรงเช่ือถอื ได้ ประกอบด้วย - ตรวจสอบจากเป้าหมายท่ีได้กาหนดไว้ - มเี ครือ่ งมือที่เช่ือถือได้ - มเี กณฑ์การตรวจสอบทีช่ ัดเจน - มีกาหนดเวลาการตรวจทแ่ี น่นอน - บุคลากรทท่ี าการตรวจสอบตอ้ งไดร้ ับการยอมรบั จากทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เมอื่ การตรวจสอบไดร้ ับกายอมรบั การปฏบิ ัตงิ านขนั้ ตอ่ ไปกด็ าเนินตอ่ ไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นไม่วาจะเป็นข้ันตอนไดก็ตาม เม่ือมีการปรับปรุง แก้ไขคณุ ภาพก็จะเกดิ ข้ึน ดังนนั้ วงจร PDCA จึงเรยี กว่า วงจรบริหารงานคณุ ภาพ

4 งำนวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง 1. ควำมหมำยของคำว่ำ\"สุขอนำมัย\"และ\"สุขภำพ\" สขุ ภำพคือ ภาวะแห่งความสมบูรณ์ทางรา่ งกายจติ ใจและการดารงชีวิตอยใู่ นสังคมด้วยดีไมใ่ ชเ่ พียงแต่ ความปราศจากโรคหรือทุพพลภาพเท่านั้น(องค์การอนามัยโลก ,2491) จากคาจากัดความน้ีแสดงให้ เห็นวา่ ภาวะของความไมม่ โี รคหรอื ไม่บกพร่องยงั ไมถ่ อื วา่ มีสุขภาพ แต่สุขภาพมีความหมาย เชิงบวกที่ เน้นความเป็นอยู่ท่ีสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสงั คม นั่นคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และ สุขภาพทางสังคมครบทุกด้านก่อนพ.ศ. 2500 เราใช้คาว่าสุขภาพน้อยมากเพราะขณะนั้นเราใช้คา ว่า “อนามัย” เริ่มใช้ “สุขภาพ” แทน ในสมัยต่อมากเ็ น่ืองจากคาวา่ อนามัย(อน + อามัย) ซ่ึงตามรูป ทรัพย์หมายถึง \"ความไม่มีโรค\" ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบแล้วเห็นว่าสุขภาพมีความหมายกว้างกว่าอนามัย เพราะสขุ ภาพเปน็ ความสุข เปน็ ความหมายเชิงบวก ตรงข้ามกับอนามัยเปน็ ความทุกข์ซึ่งมคี วามหมาย เชิงลบแนวคิดเก่ียวกับสุขภาพในอนาคตอาจจะปรับเปล่ียนไปจากน้ีได้ เน่ืองจากในท่ีประชุมสมัชชา องค์การอนามัยโลก ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้ตกลงว่าจะเติมคาว่า “Spiritual Well- being” เข้ าไป ใน ค าจากั ด ค วาม ข อ งค าว่าสุ ขภ าพ นิ ยาม ค าว่าสุ ขภ าพ แ บ บ ไท ย ค ว ร เพ่ิม “Intellectual Well-being” เข้าไปอีกด้วย โดยมีแนวความคิดสุขภาพก็คือ สุขภาวะ หรือ Well-being ความสุข คือ ความเป็นอิสระหรือการหลุดพ้นจากความบีบคั้นดังนั้น สุขภำพคือ สุขภาวะหรือความเป็นอิสระหลุดพ้นจากความบีบค้ันทางกายทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา สขุ ภำพกำย หมายถึง สภาพของร่างกายท่ีมีความเจริญเติบโตแต่พัฒนาการสมกับวยั สะอาด แข็งแรง สมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และทุพพลภาพ พร้อมทั้งมีภูมิคุ้มกันโรคหรอื ความต้านทานโรคเป็น อย่างดีสุขภำพจิต หมายถึงความสามารถในการปรับตัวของคนเราให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมท้งั สถานการณ์ในอดีตและอนาคตด้วยดงั นัน้ สุขภำพ หมำยถึง ภำวะของกำรดำรงชีวิตที่มคี วำม สมบูรณ์ท้งั ร่ำงกำย จิตใจรวมท้ังกำรอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยดี อยู่บนพื้นฐำนของคุณธรรม และ กำรใช้สติปัญญำสุขภำพกำย สุขภาพจิต สุขภาพกาย ลักษณะของผู้ที่มีสุขภาพจิตดี ประโยชน์ของ การมีสุขภาพจิตดี สุขภาพกายและสุขภาพจิตของคนย่อมมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น เด็กที่มี ความบกพร่องทางกาย เช่น หูตึง หรือสายตาส้ัน อาจได้รับความลาบาก ในการปรับตัว เด็กที่มีโรค ประจาตัวบางอย่างมักมีอารมณ์หงุดหงิด ทาตัวให้เข้า กับเพื่อนฝูงได้ยาก เด็กประเภทนี้จาเป็นต้อง ได้รับความช่วยเหลือ มฉิ ะนนั้ สุขภาพจิตของเด็กกม็ ีหวงั เสื่อมทรามลงไปได้มาก ๆ คนที่ขาดสุขภาพจิต มกั มีสุขภาพกายเสื่อมลงไปด้วย เด็กที่เสียสขุ ภาพจิต ถ้าเกิดเจ็บป่วยขึ้นมาก็มักเจ็บป่วยมาก กล่าวคือ เด็กจะเสียกาลังใจและตีโพย ตีพายไปเกินกว่าเหตุ อาการเจ็บป่วยธรรมดาอาจเพิ่มขึ้นโดยไม่จาเป็น กาลังใจของคนไข้เป็นส่วนประกอบอันสาคัญในการที่จะรักษาโรคให้ได้ผล ถ้าคนไข้เป็นคนขาด สุขภาพจิตแล้วก็จะทาให้การรักษาโรคลาบากย่ิงขึ้น ร่างกายและจิตใจมีความสัมพันธก์ ันอย่างใกล้ชิด ถ้าร่างกาย เกิดผิดปกติก็จะทาให้จิตใจผิดปกติไปไม่มากก็น้อย ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับบุคคลและส่ิงแวดล้อม ด้วย ในทางกลับกัน ถ้าสุขภาพจิตไม่ดีก็จะมีผลให้สุขภาพกายเปล่ียนแปลงไป อาจทาให้เกิดโรคทาง กายได้ ผู้ที่มีอารมณ์หว่ันไหว วิตกกังวล หรือเครียด อาจจะมีอาการท้องเดิน เมื่อเกิดความกลัวก็ อาจจะมอี าการปวดศรี ษะ หรือเกิดอารมณ์ทางกายอ่ืน ๆ เมอื่ เราตืน่ เตน้ ตกใจก็จะทาให้การหายใจเร็ว ข้ึน ตัวส่ัน เป็นต้น ดังนั้น การท่ีคนเราจะมีร่างกายท่ีสมบูรณ์ได้ก็ควรจะต้องมีอารมณ์อยู่ในภาวะ ที่

5 สมบูรณ์ด้วย จากความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดของร่างกายและจิตใจนี้ จึงมีผู้กล่าวว่า จิตใจที่แจ่มใส ย่อมอยู่ในรา่ งกายทสี่ มบูรณ์ 2. ลกั ษณะของผทู้ ี่มสี ขุ ภำพจิตดี สุขภาพจิต สขุ ภาพกาย ลกั ษณะของผ้ทู ่ีมีสุขภาพจิตดี ประโยชนข์ องการมีสุขภาพจติ ดี ผู้ทม่ี ีสุขภาพจติ ดีมีลักษณะหลายประการ ดงั น้ี 1. เปน็ ผทู้ ี่มคี วามสามารถและความเต็มใจทีจ่ ะรบั ผิดชอบอยา่ ง เหมาะสมกับระดับอายุ 2. เปน็ ผู้ทีม่ คี วามพอใจในความสาเร็จจากการได้เขา้ รว่ ม กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของกลมุ่ โดยไม่คานึงว่าการเข้ารว่ มกจิ กรรมนัน้ จะมกี ารถกเถียงกันมาก่อนหรือไม่กต็ าม 3. เป็นผูเ้ ต็มใจท่จี ะทางานและรบั ผิดชอบอยา่ งเหมาะสมกับบทบาท หรือตาแหน่งในชวี ติ ของเขา แมว้ า่ จะทาไปเพอ่ื ต้องการตาแหนง่ กต็ าม 4. เมือ่ เผชิญกับปัญหาทีจ่ ะตอ้ งแก้ไข เขาก็ไมห่ าทางหลบเล่ยี ง 5. จะรสู้ ึกสนกุ ต่อการขจดั อุปสรรคทข่ี ัดขวางต่อความสุขหรือ พฒั นาการ หลังจากทเ่ี ขาค้นพบด้วยตนเองวา่ อปุ สรรคน้ันเปน็ ความจริง ไมใ่ ช่อปุ สรรคในจนิ ตนาการ 6. เปน็ ผู้ทส่ี ามารถตัดสินใจดว้ ยความกังวลนอ้ ยทส่ี ดุ มีความรู้สึกขัดแยง้ ในใจและหลบหลีกปัญหา นอ้ ยท่สี ดุ 7. เป็นผูท้ ่ีสามารถอดได้ รอได้ จนกวา่ จะพบสงิ่ ใหม่ หรือ ทางเลอื กใหมท่ ี่มคี วามสาคัญหรอื ดีกวา่ 8. เปน็ ผทู้ ปี่ ระสบผลสาเร็จดว้ ยความสามารถที่แทจ้ ริง ไมใ่ ช่ความสามารถในความคิดฝนั 9. เปน็ ผู้ที่คิดก่อนทา หรือมีโครงการแน่นอนก่อนทจี่ ะปฏิบัติ ไม่มีโครงการทีถ่ ่วงหรือหลกี เลยี่ งการ กระทาต่าง ๆ 10. เป็นผู้ทเ่ี รยี นร้จู ากความลม้ เหลวของตนเองแทนทจี่ ะหา ขอ้ แก้ตวั ดว้ ยการหาเหตผุ ลเข้าขา้ ง ตนเอง หรอื โยนความผิดให้แกค่ นอนื่ 11. เมอ่ื ประสบผลสาเร็จ กไ็ ม่ชอบคยุ โอ้อวดจนเกนิ ความเป็นจริง 12. เป็นผ้ทู ปี่ ฏบิ ัตติ นไดส้ มบทบาท ร้วู ่าจะปฏิบตั ิอย่างไรเมื่อถึงเวลา ทางาน หรือจะปฏิบตั ิอย่างไรเม่ือถึงเวลาเล่น 13. เป็นผู้ทส่ี ามารถจะปฏเิ สธตอ่ การเขา้ ร่วมกิจกรรมท่ีใช้เวลา มากเกนิ ไปหรือกิจกรรมทส่ี วนทางกับทเี่ ขาสนใจแมว้ ่ากิจกรรมนนั้ จะทาให้ เขาพอใจไดใ้ นชว่ งเวลาใดเวลาหน่งึ กต็ าม 14. เปน็ ผทู้ ี่สามารถตอบรับที่จะเข้ารว่ มกิจกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สาหรบั เขา แม้วา่ กจิ กรรมน้นั จะไม่ทาให้เขาพงึ พอใจก็ตาม 15. เป็นผทู้ ี่จะแสดงความโกรธออกมาโดยตรง เมื่อเขาไดร้ บั ความเสยี หายหรือถูกรงั แก และจะแสดงออกเพื่อป้องกนั ความถกู ต้อง ของเขาด้วยเหตุด้วยผลการแสดงออกนี้จะมีความรุนแรงอยา่ งเหมาะสม

6 กบั ปริมาณความเสยี หายทเี่ ขาได้รบั 16. เป็นผทู้ ส่ี ามารถแสดงความพอใจออกมาโดยตรงและจะแสดงออก อย่างเหมาะสมกบั ปรมิ าณ และชนิดของสิ่งที่กอ่ ใหเ้ กิดความพึงพอใจ 17. เปน็ ผูท้ สี่ ามารถอดทน หรอื อดกลั้นต่อความผิดหวัง และ ภาวะความคับข้องใจทางอารมณไ์ ด้ดี 18. เป็นผทู้ ีม่ ลี ักษณะนสิ ยั และเจตคติทก่ี ่อรปู ขน้ึ อยา่ งเป็นระเบยี บ เมอ่ื เผชญิ กับสงิ่ ยุ่งยากต่าง ๆ ก็สามารถจะประนปี ระนอมนิสัยและเจตคติ เขา้ กับสถานการณ์ท่ียงุ่ ยากตา่ ง ๆ ได้ 19. เปน็ ผู้ท่สี ามารถระดมพลังงานท่ีมีอยใู่ นตวั ออกมาใช้ได้อยา่ งทันที และพร้อมเพรยี ง และสามารถรวมพลังงานนั้นส่เู ปา้ หมายอย่างใดอย่างหนึง่ เพื่อความสาเร็จของเขา 20. เปน็ ผู้ท่ีไม่พยายามทีจ่ ะเปลย่ี นแปลงความจริงซึ่งชีวิตของเขา จะต้องดิ้นรนต่อสู้อยา่ งไม่มที ่ี สิ้นสดุ แตเ่ ขาจะยอมรับว่าบคุ คลจะต้องต่อสู้ กับตนเอง ฉะนั้นเขาจะตอ้ งมีความเขม้ แขง็ ให้มากทสี่ ุด และใชว้ จิ ารณญาณ ที่ดีทส่ี ุด เพ่ือจะผละจากคลืน่ อปุ สรรคภายนอก 1. สามารถปรบั ตัวเขา้ กบั สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม 2. มคี วามกระตือรอื รน้ ไม่เหนอ่ื ยหน่าย หรอื ท้อแท้ใจ หรอื หมดหวังในชวี ติ 3. มอี ารมณม์ ่ันคง และสามารถควบคุมอารมณ์ไดด้ ี 4. ไมม่ อี ารมณ์เครียดจนเกนิ ไป มีอารมณ์ขนั 5.มคี วามรสู้ ึก และมองโลกในแงด่ ีเสมอ 6. มคี วามต้ังใจในการทางาน 7. รจู้ ักตนเอง และเขา้ ใจบคุ คลอ่นื ได้ดี 8. มคี วามเช่ือตนเองอย่างมเี หตุผล 9. สามารถแสดงออกอยา่ งมเี หตผุ ล 10. มคี วามสามารถตดั สินใจได้รวดเรว็ และถกู ตอ้ ง ไม่ผิดพลาด 11. มีความปรารถนา และยินดี เม่ือบุคคลอ่ืนมีความสุข ความสาเร็จ และมีความปรารถนาดีในการ ปอ้ งกันผู้อื่น ให้มคี วามปลอดภัยจากอันตราย หรอื โรคภัยไข้เจบ็ 3. หลักกำรในกำรดูแลรกั ษำสขุ ภำพทำงกำย รักษำสุขภำพร่ำงกำยใหแ้ ขง็ แรง 1. รู้จักประมาณตน การประมาณตนในการออกกาลังกายแต่พอควร จะช่วยให้ร่างกายเผาผลาญ อาหารและพลงั งานสว่ นเกินได้ดี มีข้อสังเกตคือ ถา้ ออกกาลังกาย เหนอื่ ยแลว้ ยงั ฝืนต่อดว้ ยความหนัก เท่าเดิม โดยไม่เหน่ือยเพ่ิมขึ้น และพักไม่เกิน 10นาที ก็รู้สึกหายเหนื่อย แสดงว่า ร่างกายทนได้ ตรง ขา้ มถ้าออกกาลังกายจนเหนื่อยทนไม่ไหว หรือพักแล้วยังไม่หายเหน่ือย แนะนาให้หยุด เพราะขนื เล่น ต่อไป อาจเกดิ หวั ใจวายเฉียบพลนั ได้ 2. มีโรคประจาตัวหรือไม่ หากมี ควรปรึกษาแพทย์ก่อนท่ีจะเลือกวิธีการออกกาลังกายเพ่ือความ ปลอดภยั

7 3. แต่งกายเหมาะสม ควรใช้ผ้าฝ้าย เพ่ือระบายความร้อนสะสมท่ีเกิดขึ้นขณะออกกาลังกาย เพราะความร้อนจะเป็นตัวจากัดการออกกาลังกาย แล้วยังทาอันตรายต่อระบบต่างๆ ในร่างกายด้วย ส่วนการเลือกใช้รองเท้าท่ีไม่เหมาะกับสภาพสนาม อาจส่งผลเสียต่อการเคล่ือนไหวและเกิดการ บาดเจบ็ ได้ 4. เลือกเวลาออกกาลังกาย เวลาเช้าตรู่และตอนเย็นเหมาะที่สุดในการออกกาลงั กายมากกว่าตอน กลางวัน ซึ่งจะทาให้เหนื่อยเร็วและได้ปริมาณน้อย บางรายอาจหน้ามืดเป็นลมก็มี ทั้งนี้ควรเป็นเวลา เดยี วกนั ทกุ วัน เพราะจะส่งผลดตี ่อการปรบั ตัวของรา่ งกาย 5. สภาพกระเพาะอาหาร ควรงดอาหารหนักเพ่ือป้องกันการจุกเสียดก่อนออกกาลังกายหรือเล่น กีฬาอย่างน้อย 3 ช่ัวโมง โดยเฉพาะกีฬาท่ีมีการกระทบกระแทก เช่น รักบ้ีฟุตบอล บาสเกตบอล รวมถึงกีฬาที่ต้องเล่นเป็นเวลานานๆ เช่น ว่ิงมาราธอน จักรยานทางไกล ซึ่งควรรับประทานอาหาร จาพวกคารโ์ บไฮเดรตท่ยี ่อยงา่ ยในปรมิ าณไมถ่ ึงอ่ิมเป็นระยะๆ จะดกี ว่า 6. ดื่มน้าเพียงพอ หลังการออกกาลังกาย ร่างกายจะสูญเสียเสียน้าได้ถึง 2 ลิตร หรือมากกว่านั้น ดังนัน้ ควรให้น้าชดเชยในปรมิ าณเทา่ กบั ท่สี ูญเสียไป โดยดมื่ ทีละนิดๆ เปน็ ระยะ 7. บาดเจ็บกลางคัน ขณะออกกาลังกาย ให้หยุดพักจะดีที่สุด แต่หากบาดเจ็บเล็กน้อย อาจออก กาลงั กายต่อได้ แตถ่ า้ รูส้ กึ เจ็บปวดมากขึ้น กต็ อ้ งหยุด เพราะการฝืนต่อไปอาจเปน็ อนั ตรายถึงชวี ิต 8. จิตใจต้องพร้อม ควรทาจิตใจให้ปลอดโปร่ง หากมีเรื่องไม่สบายใจ ก็ไม่ควรออกกาลังกาย เพราะอาจทาใหเ้ กิดอบุ ตั เิ หตุได้งา่ ย 9. ความสม่าเสมอ ไม่ว่าจะออกกาลังกายให้สุขภาพแข็งแรงหรือลดน้าหนัก แต่จะได้ผลแค่ไหน ข้นึ กบั ปรมิ าณ และความหนกั เบาของการออกกาลงั กายด้วย 10. พกั ผอ่ นเพยี งพอ หลังการออกกาลังกาย จาเป็นต้องพกั ผอ่ นให้เพียงพอ เพ่ือใหร้ ่างกายไดฟ้ ้ืนฟู สภาพของตนเองและพร้อมรับการออกกาลังกายครั้งใหม่อย่างมีพลังต่อไป 4. หลักกำรในกำรดแู ลรกั ษำสุขภำพทำงจิต 8 วธิ ีดแู ลสขุ ภำพจิต 1. รูจ้ ักกการส่ือสาร การแสดงความรู้สกึ ในทางที่ไม่ก้าวร้าว ไม่ต่อต้านเป็นหนทางทใี่ ช้กับคนสาคัญใน ชีวิตคุณ รวมถึงคอบครัวเพ่ือนและเพื่อนร่วมงาน อย่ารอให้เกิดความกดดันและความโกธรสุดขีด จัดการกบั ความโกธรหรืออารมณไ์ ม่ดเี สียกอ่ นที่จะเป็นเหตใุ ห้คุณเครยี ด 2. ใหเ้ วลากับตวั เอง อยู่คนเดียวทกุ วันเพยี งแค่ 10 นาทีในห้องน้าหรือเดนิ สัก 20 นาที หรือออกกาลัง กายในโรงยิม ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ เช่น การทาสมาธิ การฟังเสียงเพลงเบาๆ หรือเพียงแค่มี ความสุขกัลบธรรมชาติรอบตวั 3. อย่าพยายามรักษาผลประโยชน์จากคนอ่ืนให้ได้มากที่สุดการมองหาส่ิงที่สาคัญต่อสุขภาพจิตมี ความสาคัญมากกว่าสิ่งภายนอก เช่น การแบ่งเวลาให้แก่คนท่ีรัก มีความสุขกับการดูพระอาทิตย์ ตกหรือนอนอาบแดด หางานที่คุณรักและทาดว้ ยหวั ใจที่มีความสขุ 4. สร้างความสัมพันธ์กับเพ่ือนท่ีคุณไว้วางใจ คนท่ีคุณแบ่งปันความคิดเห็น ความสุขและความ เศร้า จาไวว้ ่าร้จู ักให้พอๆ กับรู้จกั รบั 5. หลีกเลี่ยงความสัมพันธ์ที่ไม่ดีต้อสุขภาพจิตท่ีทาให้คุณรู้สึกเศร้า หรือท้อแท้ ไมว่ ่าผลออกมาจะเป็น อย่างไร ใหอ้ อกมาจากสถานการณ์น้ี

8 6. ทากิจกรรมทางร่างกายทุกๆ วันไม่ว่าจะเป็นการทาสวน การล้างรถ เดินหรือออกกาลังกาย การศึกษา๙ให้เห็นวา่ การออกกาลงั น้ันชว่ ยปล่อยสารเอน้ เดอรฟ์ ินในร่างกายเพื่อทาใหร้ ู้สกึ ดี 7. แบ่งปนั ชวี ติ ร่วมกบั คนทค่ี รุ รกั 8. จรงิ ใจกับตัวเอง 5. หลักกำรในกำรดูแลรักษำสขุ ภำพทำงสงั คม กำรดแู ลตนเองทำงสงั คม 1 รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคนใกล้ชิด โดยเฉพาะสมาชิกในครอบครัว ควรคิดว่าจะเปิดเผย หรือไม่เปิดเผยเร่ืองการติดเชื้อกับผู้อื่น โดยคิดถึงผลกระทบที่จะได้รับทั้งด้านบวกและลบ ซึ่งเป็น สิทธิส่วนตัวทจ่ี ะไมเ่ ปิดเผยให้ผูอ้ ื่นรู้ 2 เตรียมความพร้อมท้ังด้านร่างกาย และจิตใจ ในการอยู่ร่วมกับเพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงานและ ชมุ ชน เชน่ การไปวัดทาบุญกับญาตกิ ารเป็นอาสาสมัครชว่ ยเหลอื ชุมชน 6. วธิ ีกำรดูแลสขุ ภำพของตนเอง หลกั 8 ประกำรของกำรดแู ลรกั ษำสขุ ภำพ 1. รับประทำนอำหำร อย่างถกู ต้องเหมาะสม อำหำรเชำ้ สาคัญมากเพราะช่วงเช้าร่างกายขาดนา้ ตาล ถ้าไม่รบั ประทานอาหารเช้าจะเกิดภาวะ ขาดนา้ ตาลซึ่งจะมี ผลทาให้ความคิดตื้อตันไม่ปลอดโปร่ง วิตกกังวล ใจสั่น อ่อนเพลีย หงุดหงิด โมโหง่าย ม้ือเช้า รับประทานได้เช้าที่สุดยิง่ ดี (ระหวา่ งเวลา 6.00–7.00 น.) เพราะท้องวา่ งมานาน หากยังไม่มีอาหารให้ ดื่มน้าอุ่นหรือน้าข้าวอุ่น ๆก่อน ควรทานข้าวต้มร้อน ๆ จะช่วยให้ง่ายต่อการขับถ่ายอุจจาระ ถ้า จาเป็นต้องรับประทาน(สาย) ใกล้อาหารมื้อกลางวัน อย่ารับประทานมากอำหำรเพล (อาหารม้ือ กลางวัน)ควรเป็นอาหารหนัก เช่น ข้าวสวย พร้อมกับข้าวครบ ๕ หมู่ เพราะร่างกายต้องใช้พลังงาน มาก และควรรบั ประทานให้เพียงพอแกค่ วามต้องการของร่างกาย 2. ขบั ถ่ำย อุจจาระ ปัสสาวะ สมา่ เสมอทุกวัน 3. ใสเ่ สอ้ื ผ้ำให้เหมำะสม กบั ฤดกู าล เช่น หนา้ หนาวก็ใสเ่ สอ้ื ผ้าหนา ๆ สวมหมวก ถงุ มือ ถุงเทา้ ขณะนอนตอนกลางคนื ควรห่มผา้ ปดิ ถึงอก 4. ออกกำลงั กำย ควรออกกาลงั กายกลางแจง้ ทกุ วัน 5. รกั ษำควำมสะอำดของสถำนที่พักอำศยั เพ่อื ชว่ ยใหส้ ่ิงแวดลอ้ มดี อากาศดี 6. รักษำอำรมณใ์ หป้ ลอดโปรง่ แจม่ ใสตลอดทง้ั วัน และอย่าลืมนั่งสมาธิทุกวนั 7. พกั ผ่อนให้เพียงพอ เหมาะสมกับเพศ และวัยไมค่ วรนอนดกึ เกิน ๒๒.๐๐ น. ตดิ ต่อกนั หลายวัน 8. มที ่ำทำง และอริ ยิ ำบถทถี่ ูกต้องเหมำะสม ในการทางานในชีวิตประจาวัน แหลง่ ทีม่ า : https://sites.google.com/site/rungratsarthien/hlak-ptibati-keiyw-kab-kar- dulae-sukhphaph-xnamay

9 งำนวิจยั ที่เกี่ยวข้อง การส่งเสริมสุขอนามัย ความหมายของสุขอนามัย สุขภาพ หมายถึง ความสมบูรณ์ของ ร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการดารงชีวิตอยู่ในสังคม ด้วยดี ส่วนคาว่าอนามัย หมายถึง ความไม่มีโรค (กรมอนามยั , 2548: 30) สุขภาวะ หมายถึง ภาวะแห่งความสุขอันสมบรู ณ์ท้งั ทางรา่ งกาย ทางใจ ทาง สังคม และ ทางจิตวิญญาณ ซึ่งสุขภาพทางกาย หมายถึง ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง คล่องแคล่ว มีกาลังไม่เป็นโรค ไม่พิการ อวัยวะต่างๆ อยู่ในสภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ทางานได้ตามปกติ มีประสิทธิภาพ สุขภาพทางใจ หมายถึง จิตใจท่ีมีความสุข ความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ทาจิตใจให้เบิกบาน มี สติ มีสมาธิ มีปัญญา สุขภาพทางสังคม หมายถึง ความสามารถของบุคคลที่ สามารถปรับตัวให้อยู่ใน สังคมแห่งตนได้อย่างดี และมีความสุข การอยู่ร่วมกันด้วยดี มีครอบครัวที่ อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคม มีความยุติธรรม มีความเสมอภาค มีความภราดรภาพ มีสันติภาพ สุขภาวะทางจติ วิญญาณ หมายถึงความรู้สกึ มีความสุขในจิตใจท่เี กดิ ขึ้นเม่ือทาความดีหรือจิตสัมผัสท่ีมี คุณค่าสูงส่ง หรือสิ่งสูงสุด เช่น การเสียสละ (ประภาพร ไตรนิรันดร, 2552: 12) ณัฐริณีย์ พิมเสน (2553: 62) และ กฤตธัช มูมลา (2557: 32) ได้สรุปควาหมายของ สุขอนามยั ไว้ในทานองเดยี วกนั คือ การที่รจู้ ักบารุง รักษาดแู ลร่างกาย จติ ใจให้มชี ีวติ อยไู่ ด้อย่างปกติ สุข สขุ ภาพเปน็ รากฐานทีส่ าคัญของ ชีวิตและได้เร่ิมมาต้ังแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา หลังจากนั้น สุขภาพก็ยังมีบทบาทสาคัญตลอดชีวิต ของคน คนที่มีสขุ ภาพไม่ดีนั้น แม้จะให้การศกึ ษาอบรมดวี ิเศษ อย่างไร ก็ไมส่ ามารถดารงชีวิตได้อย่าง มน่ั คงโดยเฉพาะนักเรยี นท่ีสุขภาพไมด่ ี แมจ้ ะมีสตปิ ัญญาสงู ก็มิ อาจใช้ให้เกิดประโยชนไ์ ด้เท่าท่คี วร สิ่ง ท่ีกาหนดให้มีสุขภาพที่ดี (สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2560: 1) มีดังน้ี 1) ปัจจัยทางด้านบุคคล เช่น พันธุกรรม เพศ อายุ สภาพร่างกาย พฤติกรรม 2) ปัจจัยทาง สภาพแวดล้อม เช่น เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ศาสนา 3) ปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ เช่น คุณภาพและประสิทธิภาพของการบริการใน โรงพยาบาล คลินิก การกระจายตัวของบริการ สาธารณสุข หรอื ระบบการจัดการด้านสาธารณสุขและ สุขภาพ สรุปได้ว่า สุขอนามัย คอื การป้องกัน ดแู ลรักษาร่างกาย จิตใจ ให้สมบูรณ์แขง็ แรง ไม่ เป็นโรคภยั ไขเ้ จ็บ นโยบายด้านการสง่ เสริมสุขอนามัย การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) มีความเกี่ยวข้องกับการทาให้คนมีสุขภาพ ที่ดี ด้วย กระบวนการต่าง ๆ ท้ังการเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมให้ตัวบุคคลดูแลสุขภาพ ตนเอง และครอบครัว รวมถึงการสนับสนุนผลักดันให้สังคม สิ่งแวดล้อม อยู่ในสภาวะที่เอื้อต่อการทา ให้มี สุขภาพท่ีดี เช่น การเข้าถึงระบบการศึกษา การออกแบบผังเมือง การปรับโครงสร้างภาษีหรือ ปรับปรงุ กฎ ระเบียบต่าง ๆ ที่เอ้ือต่อการจากัด หรือลดความเสี่ยงที่กอ่ ให้เกิดผลทางสุขภาพ และเพ่ิม พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์(สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2560: 1) แนวคิด และหลักการของการสร้างเสริมสุขภาพ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ระหว่างวันที่ 9-13 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) โดยมีสาระโปรแกรมใหม่ขององค์การอนามัย โลกสานักภูมิภาค แห่งยุโรป ได้แก่ โปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพ โดยการสร้างเสริมสุขภาพเป็น กระบวนกรที่เอ้ือให้ ประชาชนสามรรถควบคุมและปรับปรุงสุขภาพของตนเอง (สินศักดิ์ชนม์ อุ่นพรมมี, 2556: 50-57) โดยมีหลักการดังนี้ 1. การสรา้ งเสริมสขุ ภาพเก่ียวขอ้ งกับประชากรในภาพรวม ในฐานะของบริบทของ ชวี ติ ประจาวันของเขาเหล่าน้นั มากกว่าจะมองท่ีโอกาสเส่ยี งตอ่ โรคใดโรคหนงึ่ การสร้างเสริมสขุ ภาพ แหลง่ ทม่ี า : http://cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/1245/5/Chapter%202.pdf

10 บทที่ 3 วิธกี ำรประเมินโครงกำร รปู แบบกำรประเมินโครงกำร การประเมินโครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะอนามยั ของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง ใช้รปู แบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟิลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดงั นี้ ประเมนิ สภาวะแวดล้อม  หลกั การ ( Context Evaluation )  วตั ถุประสงคข์ องโครงการ  เป้าหมายของโครงการ ประเมนิ ปัจจยั เบอ้ื งต้น  การเตรียมการภายในโครงการ ( Input Evaluation )  บคุ ลากร  วสั ดุอปุ กรณ์ ประเมินกระบวนการ  เครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ ( Process Evaluation )  งกบารปดราะเมนานิ ณโครงการ  กจิ กรรมการดาเนินงานตาม การประเมินผลผลติ ( Product Evaluation ) โครงการ  การนิเทศตติ ามกากับ  การประเมนิ ผล  ผลการดาเนนิ โครงการ  คุณภาพผเู้ รียน/ผู้รับบริการ

11 วธิ กี ำรประเมินโครงกำร ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร : ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง กลุ่มตัวอย่าง : กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประเมินคร้ังนี้ ได้จาก ประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง ที่เข้าร่วมจานวน 25 คน โดยใช้ รูปแบบและเคร่ืองมือท่ใี ช้ในกำรดำเนนิ งำน เคร่ืองมือในการประเมินผลความพึงพอใจน้ี เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตอ่ การจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ สุขภาวะอนามัยของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง เป็นการ รายงานผลตามแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ตอ่ การจัดกิจกรรมโครงการสง่ เสริม สุขภาวะอนามัยของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง เมื่อการเข้าร่วมกิจกรรมเสร็จส้ินแล้ว ให้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามความคิดเห็น ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และ ปรบั ปรงุ โครงสร้างแบบสอบถามมี 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป มี 4 ขอ้ ส่วนที่ 2 ความคดิ เหน็ /ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม มี 14 ข้อ ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เกณฑ์กำรประเมนิ มีดงั น้ี 4.50 - 5.00 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั มากที่สดุ 3.50 - 4.49 หมายถึง ผลความพงึ พอใจระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถึง ผลความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั น้อย 1.00 - 1.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั น้อยท่ีสดุ ควรปรับปรุง วิธกี ำรสรำ้ งและพฒั นำเคร่ืองมือ ผูป้ ระเมนิ ไดส้ รา้ งและพฒั นาเครื่องมือท่ีใชใ้ นการดาเนนิ งาน ดังน้ี 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง 2. กาหนดแผนงานและโครงการ 3. กาหนดกจิ กรรมหรืองานท่ปี ฏิบตั ิในแตล่ ะขน้ั ตอน 4. เขียนแบบประเมินความพึงพอใจฉบับร่าง โดยให้มีข้อถามหรือข้อความครอบคลุม เนือ้ หา กิจกรรม หรืองานท่ีปฏบิ ตั ติ ลอดโครงการ และจัดทาแบบบันทกึ คะแนน กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ประเมินได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยดาเนินการในช่วงสิ้นสุดการจัดกิจกรรม โครงการส่งเสริม สขุ ภาวะอนามัยของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง

12 การวเิ คราะห์ข้อมูล ผ้ปู ระเมนิ ไดท้ าการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมิน ความพึงพอใจ เป็นแบบประเมินกาหนดเป็นมาตราส่วนประมาณค่าตามแนวคิดของลิเคิร์ท (Likert) แสดงระดับความคดิ เหน็ ของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดงั น้ี 5 หมายถึง มากทสี่ ดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถงึ น้อยท่ีสดุ จากน้นั นาข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ย  รายขอ้ โดยกาหนดเกณฑ์ ดงั นี้ 4.50 - 5.00 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดับมากท่ีสุด 3.50 - 4.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถงึ ผลความพึงพอใจระดบั น้อย 1.00 - 1.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั น้อยท่ีสดุ สถิตทิ ่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล นาข้อมลู ท่ีได้มาหาค่าสถติ ิทางคณติ ศาสตร์ ดังนี้ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean) การนาเสนอข้อมลู การนาเสนอขอ้ มลู เปน็ การนาเสนอในรูปความเรยี ง ประกอบรายละเอียดในตาราง แจกแจงดว้ ย ค่าความถ่ีและร้อยละ การวิเคราะห์ผลการประเมนิ โครงการ วเิ คราะหผ์ ลการประเมินโครงการ โดยใช้ X , S.D. และเปรยี บเทยี บกบั เกณฑเ์ ฉล่ยี สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล 1. ค่าเฉลย่ี X=  ƒx ใชส้ ูตร คา่ เฉลย่ี N X=  ƒx = N= ผลรวมของความถ่ขี องคะแนนทง้ั หมด ทั้งหมด จานวนประชากรท่เี ข้ารว่ มโครงการตาบลเขาสวนกวาง

13 2. ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน nX 2  x2 ใชส้ ูตร S.D. = nn 1 S.D. = ค่าความเบย่ี งเบนมาตรฐาน X 2 = ผลรวมของกาลังสองของคะแนน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ยกกาลงั สอง x2  = จานวนคนในกลุ่มตวั อย่าง n= เกณฑเ์ ฉลีย่ การประเมินโครงการ (บญุ ชม ศรีสะอาด,2545:100) คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มกี ารดาเนินการในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลย่ี 3.51-4.50 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดบั มาก คะแนนเฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มกี ารดาเนนิ การในระดบั น้อย คะแนนเฉล่ยี 1.00-1.50 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดับน้อยทส่ี ุด

14 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนินงำน 1. สภาพการดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมสุขภาวะอนามยั ของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง ผ้เู ข้าร่วมโครงการได้รบั การพัฒนา เพ่ือให้มี 1.1 จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง จานวน 25 คน 1.2 ความพงึ พอใจผู้เขา้ ร่วมโครงการ มีตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจจานวน 25 ชุด จาแนกตามระดับความคิดเห็นดงั น้ี ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็น/ความพึงพอใจ แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ดงั นี้ สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป ตาราง 1 จานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ที่ เพศ จานวน รอ้ ยละ (คน) 1 ชาย 1 4.00 2 หญงิ 24 96.00 รวม 25 100.00 จากตาราง 1 พบว่าจานวนผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม จานวน 25 คน แบง่ เปน็ เพศชาย 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.00 และเปน็ เพศหญงิ 24 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00 จานวน 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ตาราง 2 อายผุ ูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม ที่ อายุ จานวน ร้อยละ 1. 15 – 30 ปี - - 2. 31–45 ปี - - 3. 46–59 ปี - - 4. 60 ปีข้ึนไป 25 100.00 รวม 25 100.00 จากตารางท่ี 2 ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมที่มีชว่ งอายรุ ะหวา่ ง 15 – 30 ปี มีจานวน - คน คดิ เป็น รอ้ ยละ - ช่วงอายุระหว่าง 31 - 45 ปีมีจานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ช่วงอายุระหว่าง 46 - 59 ปี มีจานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ช่วงอายรุ ะหว่าง ปีขึ้นไปจานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00

15 ตำรำง 3 ระดับการศึกษาของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม จำนวน รอ้ ยละ ระดบั กำรศึกษำ 25 100.00 - ประถมศกึ ษา - - มัธยมศึกษาตอนต้น - - มัธยมศึกษาตอนปลาย 25 - ปริญญาตรขี น้ึ ไป 100.00 รวม จากตาราง 3 พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา มากที่สุด จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ – ส่วนท่ี 2 ควำมพงึ พอใจที่มีตอ่ กำรจดั กจิ กรรม/โครงกำรดงั ตารางที่ 2.1 ถึง ตารางที่ 2.4 ตำรำงท่ี 2.1 กระบวนกำร ขั้นตอนกำรใหบ้ ริกำร ในการจดั กิจกรรมและความพงึ พอใจใน การเข้ารว่ มโครงการ ระดับควำมคดิ เห็น ผลกำร ประเมิน ที่ ประเด็นคำถำม ดี ดี ปำน นอ้ ย น้อย X มำก กลำง ทีส่ ุด 1. การประชาสัมพนั ธ์ 5 20 - - - 4.20 ดี โครงการฯ 2. ความเหมาะสมของ 6 19 - - - 4.42 ดี สถานที่ ความเหมาะสมของ 3. ระยะเวลา 5 20 - - - 4.20 ดี (จานวนชั่วโมง, จานวนวัน) 4. ความเหมาะสมของ 5 20 - - - 4.20 ดี ชว่ งเวลา 5. การจดั ลาดับขน้ั ตอนของ 7 18 - - - 4.28 ดี กจิ กรรม ค่ำเฉลี่ย ( X ) 4.26 ดี จากตารางที่ 2.1 กระบวนการ ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ ารอยู่ในระดับ ดี คอื มีคา่ เฉลี่ย (X ) เท่ากบั 4.26 หรอื คิดเป็นร้อยละ 85.00

16 ตำรำงที่ 2.2 เจ้ำหนำ้ ท่ผี ใู้ ห้บรกิ ำร/วทิ ยำกร/ผู้ประสำนงำน ในการจัดกิจกรรมและความ พงึ พอใจ ในการเข้ารว่ มโครงการ ระดบั ความคิดเหน็ ผลการ ประเมิน ที่ ประเด็นคาถาม ดีมาก ดี ปาน นอ้ ย นอ้ ย X กลาง ท่สี ดุ 1. ความรอบรู้ ในเนื้อหาของวิทยากร 5 20 - - - 4.20 ดี 2. ความสามารถในการถ่ายทอด 7 18 - - - 4.28 ดี ความรู้ 3. การตอบคาถาม 6 19 - - - 4.42 ดี 4. ความเหมาะสมของวิทยากร ใน 5 20 - - - 4.20 ดี ภาพรวม ค่าเฉลีย่ ( X ) 4.27 ดี จากตารางท่ี 2.2 เจ้าหน้าทผี่ ูใ้ หบ้ ริการ/วทิ ยากร/ผู้ประสานงาน อยใู่ นระดบั ดี คือมีค่าเฉล่ยี ( X) เทา่ กบั 4.51 หรือ คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.20 ตำรำงท่ี 2.3 กำรอำนวยควำมสะดวก ในการจัดกจิ กรรมและความพึงพอใจในการเขา้ รว่ ม โครงการ ระดบั ควำมคิดเห็น ผลกำร ที่ ประเด็นคำถำม ดี ดี ปำน น้อย น้อย X ประเมนิ มำก กลำง ท่สี ุด 1. เอกสาร 4 21 - - - 4.16 ดี 2. โสตทศั นูปกรณ์ 7 18 - - - 4.28 ดี 3. เจา้ หนา้ ที่สนับสนนุ 6 19 - - - 4.42 ดี 4. อาหาร,เคร่ืองดม่ื และ 5 20 - - - 4.20 ดี สถานท่ี คำ่ เฉล่ีย ( X ) 4.26 ดี จากตารางที่ 2.3 การอานวยความสะดวกต่างๆในการจัดกจิ กรรม/โครงการ อยใู่ นระดับ ดี คือมีค่าเฉล่ยี ( X ) เท่ากับ 4.26 หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 85.20

17 ตำรำงท่ี 2.4 คุณภำพกำรให้บริกำรในการจดั กจิ กรรมและความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ ระดบั ควำมคดิ เห็น ผลกำร ประเมนิ ที่ ประเด็นคำถำม ดี ดี ปำน นอ้ ย น้อย X มำก กลำง ทส่ี ุด ท่านได้รับความรู้ แนวคดิ 1. ทักษะและประสบการณ์ 5 20 - - - 4.20 ดี ใหม่ๆจากโครงการ/กจิ กรรม ทา่ นสามารถนาสิง่ ที่ได้รบั 2. จากโครงการ/กิจกรรมนี้ไป 7 18 - - - 4.28 ดี ใช้ในการเรียน/การ ปฏบิ ตั งิ าน สิ่งท่ีทา่ นไดร้ ับจากโครงการ/ 3. กิจกรรมครั้งนีต้ รงตามความ 7 18 - - - 4.28 ดี คาดหวังของทา่ น สดั สว่ นระหว่างการฝกึ อบรม 4. ภาคทฤษฎีกับภาคปฏบิ ัติ 8 17 - - - 4.32 ดี (ถ้ามี) มคี วามเหมาะสม 5. ประโยชน์ทีท่ ่านไดร้ ับจาก 10 15 - - - 4.40 ดี โครงการ/กจิ กรรม ค่ำเฉลี่ย ( X ) 4.30 ดี จากตารางท่ี 2.4 คณุ ภาพการให้บรกิ าร ประโยชน์ท่ีไดร้ ับในการเข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ อยู่ในระดับ ดี คือมีค่าเฉลี่ย (X ) เท่ากับ 4.39 หรือ คิดเป็นร้อยละ 86.00 สรุปแยกเป็นรายประเด็น พบว่า ข้อที่ 5 ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมอยู่ในระดับดี คือมีค่าเฉล่ีย 4.40 ค่าเฉล่ีย ( X ) คิดเป็นร้อยละ 88.00 บทสรปุ ส่วนที่ 2 ควำมพึงพอใจทม่ี ีต่อกำรจัดกิจกรรม /โครงกำร จากตารางที่ 2.1 ถึง ตารางท่ี 2.4 ผลการประเมินพบว่าความพึงพอใจที่มีตอ่ โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ อนามัยของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง อยู่ในระดับ ดี โดยมีค่าเฉลี่ยในภาพรวม ( X ) เทา่ กับ 4.41 และคดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.20

18 บทที่ 5 สรุปผลกำรดำเนินงำน/ขอ้ เสนอแนะ การประเมินผลโครงการสง่ เสรมิ สุขภาวะอนามัยของประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง ณ ศรช.บา้ นโนนสง่า ตาบลคามว่ ง อาเภอเขาสวนกวาง จงั หวดั ขอนแกน่ สรปุ ผลการประเมินโครงการ ข้อเสนอแนะ ตารางสรปุ ระดับความคิดเหน็ ของผู้รับบริการ 4 ด้าน ด้านที่ หัวข้อการประเมนิ คา่ เฉลย่ี ระดับความคดิ เหน็ 1 ดา้ นระดบั ความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ าร 4.26 ดี 2 ด้านครูผ้สู อน/วิทยากรผ้จู ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.27 ดี 3 ดา้ นจดั ส่ิงอานวยความสะดวกแกผ่ เู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 4.26 ดี 4 ดา้ นคณุ ภาพของการจัดกิจกรรม 4.30 ดี รวม 4.27 ดี พบว่า ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ โดยภาพรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ย 4.27 อยู่ในระดับ ดี โดยกระบวนการขั้นตอนให้บริการ มีค่าเฉลี่ย 4.26 อยู่ในระดับ ดี ด้านเจ้าหน้าท่ีวิทยากรผู้ ประสานงาน มีค่าเฉล่ีย 4.27 อยู่ในระดับ ดี ด้านจัดส่ิงอานวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ย 4.26 อยู่ใน ระดับ ดี ดา้ นคณุ ภาพใหบ้ รกิ าร มคี ่าเฉล่ยี 4.30 อยู่ในระดบั ดี

19 จำกตำรำง 2.4 เปา้ หมาการ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลการ บรรลุ ความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ ดาเนินงาน บรรลุ ไม่ ร้อยละ บรรลุ 84.00 กิจกรรมที่จัดมปี ระโยชน์ สอดคล้องกับความ ร้อยละ 80 พึง  ต้องการของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม พอใจ รอ้ ยละ 85.60  ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ท่ีไดร้ บั อยใู่ นระดับ ดี ขน้ึ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวันได้ ไป รอ้ ยละ  85.60 กิจกรรมทจี่ ัดสามารถสง่ ผลดีต่อการพัฒนา ร้อยละ 80 พึง  คน สังคม และชุมชน พอใจ ร้อยละ 86.40  ความพึงพอใจทม่ี ีตอ่ โครงการ/กิจกรรม อยใู่ นระดบั ดี ขึ้น ภาพรวม ไป ร้อยละ 88.00 ประโยชนแ์ ละความพงึ พอใจท่มี ตี อ่ โครงการ/ ร้อยละ 80 พึง กจิ กรรมในภาพรวม พอใจ อยู่ในระดบั ดี ข้นึ ไป รอ้ ยละ 80 พึง พอใจ อยู่ในระดบั ดี ขึ้น ไป ร้อยละ 80 พงึ พอใจ อยู่ในระดับ ดี ข้ึน ไป ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ 1.ควรให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทาใบงานใบควคามรู้เพ่ิมเติม เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้ และ การศึกษาค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ตอ่ ไป 2.ควรนาเรอ่ื งใกลต้ วั มาสอนเพม่ิ เตมิ เพ่ือเปน็ การเสริมทักษะความรแู้ ละเพ่ือใหส้ ามารถนา ความรู้ท่ไี ด้มาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

20 ภำคผนวก - ภาพกิจกรรม - โครงการ - คาสั่งคณะทางาน - แบบประเมนิ โครงการ - หนงั สือเชญิ วิทยากร - หนงั สือขอใช้สถานที่ - แผนการใชง้ บประมาณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook