การศกึ ษาต่อเน่อื ง/การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต โครงการคา่ ยพัฒนาทกั ษะชวี ติ รทู้ นั ภัยยาเสพตดิ เพอื่ สรา้ งภูมคิ ุม้ กนั และปลูกจติ สานึก ระหว่างวนั ท่ี ๒๕-๒๗ สงิ หาคม ๒๕๖๔ ประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๔ โโดย นางฉนั ทนา กรองไตร ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศนกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเขาสวนกวาง สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ขอนแก่น
คำนำ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพติด เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันและปลูกจิตสานึกจัดทาข้ึนโดยมี วตั ถุประสงค์เพอ่ื เพื่อใหน้ ักศึกษา กศน.อาเภอเขาสวนกวาง มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพ ตดิ เพือ่ สร้างภมู ิคุ้มกัน และปลกู จิตสานกึ ไม่ย่งุ เกยี่ วกับยาเสพตดิ และกลมุ่ เสีย่ ง อายรุ ะหว่าง 15-25 ปี บัดนี้ การดาเนินโครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพติด เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันและปลูก จิตสานึก ได้ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน โดยการจัดทาเคร่ืองมือแบบสอบถามสอบ และขอขอบพระคุณ ทุกท่านที่เสียสละเวลามาเข้า ร่วมโครงการค่ายพัฒนาทกั ษะชวี ติ ร้ทู นั ภัยยาเสพติด เพ่อื สร้างภมู คิ ุ้มกนั และปลกู จติ สานึก ในครั้งนี้ นางฉนั ทนา กรองไตร ครู กศน.ตาบล
สำรบัญ หนำ้ 1 เร่ือง 3 บทที่ 1 บทนา 15 บทท่ี 2 เอกสารและหลักการทเ่ี กีย่ วข้อง 19 บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ การ 24 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 26 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน/ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก
1 บทที่ 1 บทนำ 1. ชื่อโครงกำรโครงกำรค่ำยพัฒนำทักษะชีวิตรู้ทันภัยยำเสพติด เพ่ือสร้ำงภูมิคุ้มกันและปลูก จิตสำนึก 2. สอดคล้องกับนโยบำย และจุดเน้น กำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ภารกจิ ต่อเนือ่ ง ข้อท่ี 2. จดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิตให้กบั ทุกกลมุ่ เปา้ หมายโดยเฉพาะ พิการผู้สูงอายุท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมี ทักษะการดารงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการ บริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ี เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและเตรียมพร้อมสาห รับการปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของขา่ วสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเนือ้ หาสาคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVOD -19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การ ป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสรา้ งค่านิยมที่พ่ึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ ชุมนมุ การอบรมส่งเสรมิ ความสามารถพิเศษตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 3.หลกั กำรและเหตผุ ล รัฐบาลให้ความสาคัญปัญหายาเสพติดที่จะต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาโดยด่วน และทุกภาค ส่วนในสงั คมจะต้อง ร่วมกันดาเนินการให้ประสบความสาเร็จ ในการต่อสกู้ ับยาเสพติด โดยสานักงาน ป.ป.ส.ได้กาหนดแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ปี 2564 ในการ ขบั เคลื่อนงาน ซงื่ มีจดุ เนน้ เสริมสร้างภูมิค้มุ กนั และปอ้ งกันยาเสพตดิ ในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพอื่ ไม่ใหเ้ กิด ผู้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดรายใหม่(Demand Reduction)โดยมุ่งเน้นกลุ่มที่มีความเส่ียงสูงเป็น ความสาคัญเร่งด่วน เพ่ือตัดวงจรผู้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดรายใหม่ให้ได้มากท่ีสุด และกาหนดให้ กระทรวงศกึ ษาร่วมรับผิดชอบด้านการป้องกนั ยาเสพติด เป้าหมายท่ี 1 : ลดประชากรวยั เส่ียงสงู (ห้วง อายุ 15-24 ปี) ท่ีเขา้ ไปเกี่ยวกบั ยาเสพติด นานโยบายสู่การปฏิบตั ิในพ้ืนตามภารกิจที่ได้รบั มอบหมาย ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม สานักงาน กศน.ได้ร่วมมือกับสานักงาน ป.ป.ส. มอบหมายให้ กศน.อาเภอเขา สวนกวางเป็นสถานศึกษานาร่อง ดาเนินโครงการค่ายพัฒนา ทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพติดเพ่ือสร้าง ภูมิคุ้มกันและปลูกจิตสานึกไม่ยุ้งเก่ียวกับยาเสพติด (กศน.) (พ้ืนท่ีเป้าหมายแพร่ระบาด เร่งด่วน A ใน 22 จังหวัด 59 อาเภอ) เป็นการดาเนินงานด้านยาเสพติดให้บรรลุผลสาเร็จ ปลูกฝังจิตสานึก ลด จานวนนักศกึ ษา กศน. ไม่ใหเ้ ขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพติด ตามนโยบายของรฐั บาล
2 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพ่ือให้นกั ศึกษา กศน.อาเภอเขาสวนกวาง มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะชีวิตรู้ทัน ภยั ยาเสพติดเพอ่ื สร้างภมู คิ มุ้ กัน และปลกู จติ สานกึ ไมย่ งุ่ เก่ียวกับยาเสพติด 4.2 นกั ศึกษา กศน.อาเภอเขาสวนกวาง กล่มุ เสี่ยง อายรุ ะหว่าง 15-25 ปี จานวน 60 คน ในพ้ืนทอี่ าเภอ เขาสวนกวาง
3 บทที่ 2 เอกสำรและหลกั วชิ ำกำรท่เี ก่ียวข้อง เอกสารและหลักวิชาการที่เก่ยี วขอ้ งในการดาเนนิ โครงการอบรมเรียนรู้ศาสตร์พระราชาส่โู คก หนองนาโมเดล เป็นหลักวชิ าที่ประมวลจากแนวคิดและทฤษฎีทเี่ ก่ียวขอ้ ง ซงึ่ ได้นาเสนอดังนี้ 1.เทคนิคการบริหารงานแบบ PDCA 2.งานวชิ าการ/บทความที่เก่ียวข้อง เทคนคิ กำรบริหำรงำนแบบ PDCAA ควำมหมำยของ PDCAA วงจรกำรบรหิ ำรงำนคุณภำพ ประกอบดว้ ย P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายทกี่ าหนดขน้ึ D = Do คือ การปฏิบัติตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความ ตอ่ เนอ่ื ง C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนินงานท่ีได้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความ ต่อเนอื่ ง A = Action คือ การปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา หรือถ้าไม่มีปัญหาใดๆ ก็ยอมรับแนวทาง ปฏิบตั ติ ามแผนงานท่ไี ดผ้ ลสาเรจ็ เพ่ือนาไปใชใ้ นการทางานครงั้ ตอ่ ไป A = Accountability คือ การนาเสนอผลประเมินต่อผู้เกี่ยวข้อง/แลกเปล่ียนและให้ข้อมูล ป้อนกลบั เม่ือได้วางแผนงาน (P) นาไปปฏิบัติ (D) ระหว่างปฏิบัติงานก็ได้ดาเนินการตรวจสอบ (C) พบ ปญั หาก็ดาเนินการแก้ไขและปรับปรุง (A) (A) การปรับปรุงก็เริ่มจากการวางแผนก่อนวนไปได้เรื่อยๆ จงึ เรยี กวงจร PDCAA ประโยชน์ของ PDCAA 1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบัติงานจะทาให้เกิดความพร้อม เมื่อได้ปฏิบัติงานจริงการ วางแผนงานควรวางใหค้ รบทั้ง 4 ขนั้ ตอน ดงั น้ี -ข้ันการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการต้องการของตลาด ข้อมูลด้านวัตถุดิบ ดา้ นทรัพยากรท่มี ีอยหู่ รือเงินทนุ - ข้ันเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานที่ การออกแบบลิตภัณฑ์ ความ พรอ้ มของพนกั งาน อุปกรณ์เครื่องจักร วตั ถุดิบ - ขัน้ ดาเนินงาน คือ กานวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วน แต่ละฝ่าย เช่น ฝา่ ยผลิต ฝา่ ยขาย - ข้ันการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลอย่างเป็นระบบ เช่นการ ประเมนิ จากยอดการจาหน่าย ประเมินการตชิ มของลูกคา้ เพอ่ื ใหท้ ่ไี ด้จากการประเมนิ การเทีย่ งตรง 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือ ทราบอุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังน้ัน การปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบร่ืน และเรียบร้อย นาไป สู่ เปา้ หมายทีไ่ ดก้ าหนดไว้
4 3. การตรวจสอบ ใหไ้ ด้ผลทีเ่ ท่ียงตรงเชอ่ื ถือได้ ประกอบด้วย - ตรวจสอบจากเปา้ หมายทไ่ี ดก้ าหนดไว้ - มเี ครื่องมือท่เี ช่ือถือได้ - มเี กณฑก์ ารตรวจสอบท่ชี ดั เจน - มกี าหนดเวลาการตรวจทแ่ี นน่ อน - บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องไดร้ ับการยอมรบั จากทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เม่ือ การตรวจสอบไดร้ บั กายอมรบั การปฏบิ ัตงิ านขัน้ ต่อไปกด็ าเนินตอ่ ไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึนไม่วาจะเป็นข้ันตอนไดก็ตาม เม่ือมีการปรับปรุง แก้ไขคณุ ภาพก็จะเกดิ ขน้ึ ดงั นน้ั วงจร PDCAA จึงเรยี กว่า วงจรบรหิ ารงานคุณภาพ ตอนท่ี 1 กำรพฒั นำทักษะชีวิตเพอื่ กำรสรำ้ งภมู คิ มุ้ กนั ปัญหำยำเสพติด มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะตามความมุ่งหมายและเจตนารมณ์ของ หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 แต่ดว้ ยสถานการณ์ปญั หา ทางสงั คม ซงึ่ คุกคามเข้า สู่สถาบันครอบครัวอย่างรวดเร็ว รุนแรง และมีความสลบั ซับซ้อน ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนทั้ง ทางตรงและทางอ้อม จึงเป็นอุปสรรคสาคัญในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามหลักการและ แนวคิดดังกล่าวได้โรงเรียนทุกระดับ จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ท่เี ข้มแขง็ มีแนวทางใหม่ ๆ ในการรับมือกับสถานการณ์ปัญหา โดยเฉพาะสถานการณ์ปัญหาการแพร่ ระบาดของ สิ่งเสพติดท่ีแทรกซึมอยู่ในทุกซอกส่วนของสังคม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จึงต้อง คานึงถึงการสร้างความสมดุลระหว่างความเก่ง ความดีและความสุข รวมท้ังสวัสดิภาพ และความ ปลอดภัยของผู้เรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตเพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้เรียน จึงมีความสาคัญและ ความจาเป็นเร่งด่วนที่ครูทุกคนจะต้องคานึงถึง และสามารถสอดแทรกบูรณาการลงใน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยเพาะอย่างย่ิงกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ซ่ึงใน แต่ละมาตรฐานและตัวชี้วัด สามารถบูรณาการสอดแทรก กิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิต เพ่ือให้ ผู้เรียนมีภูมิคุ้มกันทางร่างกายและจิตใจได้ เป็นอย่างดี การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตอย่างเพียงพอ ต่อการเผชิญปัญหายาเสพติด โรงเรียนสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทางต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ระบบขอ้ มูล สถานศกึ ษาควรมขี ้อมูลสภาพปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา เชน่ สภาพการใช้สารเส ตดิ ของครู/นักเรียน ข้อมูลส่วนบคุ คลของนักเรียนท่ีมีพฤติกรรม ทุกดา้ นทั้งด้านดีและเบ่ียงเบน ข้อมูล เกี่ยวกับพฤติกรรมยาเสพติดและการแก้ไข ข้อมูล การดาเนินงาน เพื่อเป็นองค์ความรู้สาคัญในด้าน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 2. ระบบป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เน้นกิจกรรมด้านการป้องกัน และสร้างภูมิคุ้มกัน เช่น การให้ความรู้ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมของนักเรียน กาหนด ในเน้ือหาการเรียนรู้เพ่ือป้องกันยาเสพติด ในหลักสูตร กาหนดมาตรการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ป้ายนิเทศการจัดนิทรรศการเน่ืองในโอกาส สาคัญ ๆการจัดเสียงตามสาย กิจกรรมหน้าเสาธง การบรรยายพิเศษ ตลอดจนการสร้างเสริมทักษะ
5 ชีวิต เพ่ือสร้าง คุณลักษณะหรือความสามารถในเชิงสังคมจิตวิทยาให้นักเรียนได้สามารถเผชิญกับ สถานการณท์ ี่เกดิ ขึน้ ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 3. ระบบให้คาปรึกษา การให้คาปรึกษาจะช่วยให้นักเรียนแสวงหาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาที่ เกดิ ข้ึนไดอ้ ย่างเหมาะสม ทง้ั ปัญหาสว่ นตัว ครอบครัว หรอื การเรยี น เป็นต้น โดยใช้ทรพั ยากรบุคคลที่ เก่ียวขอ้ งเข้ามามีสว่ นช่วยเหลือ เชน่ กลมุ่ เพื่อน ครูทป่ี รึกษา ครูแนะแนว 4. ระบบเฝ้าระวัง สถานศึกษาควรสร้างระบบกลไกเฝ้าระวังยาเสพติด ในสถานศึกษาให้เป็นระบบ การแจ้งเตือนในเร่ืองยาเสพติดให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ สารวจ สภาพปัญหาและพฤติกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดอยู่เสมอ รับแจ้งข่าวสารเบาะแส จากบุคคลภายในสถานศึกษาและชุมชน จัดให้มีช่องทาง การแจง้ ขา่ วสาร เชน่ โทรศพั ท์ สายดว่ น ตรู้ บั แจง้ เบาะแส เป็นต้น 5. ระบบการสนับสนุนจากชุมชนและสร้างเครือข่ายการทางาน การสรา้ ง ความร่วมมือภาคีเครือข่าย ในการทางาน เป็นการช่วยเสริมความเข้มแข็งในการทางาน และมีพลังในการทางานมากข้ึน เช่น ผู้ปกครองเป็นบุคคลท่ีมีบทบาทสาคัญในการอบรม เล้ียงดูบุตรหลานให้เหมาะสมกับวัย ให้ความรัก ความอบอุ่น สถานศึกษาควรให้ความรู้และสร้างความร่วมมือช่วยเหลือระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน รวมท้ังผู้นาชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ระดมทุกฝ่ายท่ี เก่ียวข้องเข้ามา มีส่วนร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ตัดสินใจเลือกแนวทางในการป้องกัน ตลอดจนร่วม ประเมิน ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน 6. ระบบบรหิ ารจัดการ สถานศึกษาควรกาหนดผรู้ บั ผิดชอบทช่ี ัดเจน ซง่ึ อาจจะประกอบด้วยผู้บริหาร สถานศึกษา ครู บุคลากรทุกฝา่ ย ผู้ปกครอง นกั เรียนและ ชุมชนในรูปของคณะกรรมการโดยมีภารกิจ หลกั คือ 6.1 จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีบริหารทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า และ ลดความซ้าซ้อนในการ ดาเนินงาน 6.2 อานวยความสะดวกในการขับเคลื่อนกิจกรรมต้านยาเสพติด และ ระดมทรัพยากร ดาเนินงานจากหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่าย เครือข่ายการทางานและชมุ ชน 6.3 พัฒนาบุคลากรเพื่อปฏบิ ัตงิ านด้านยาเสพตดิ เชน่ นักเรียนแกนนา ครแู กนนา เปน็ ตน้ 6.4 กากับติดตามการดาเนินงาน 6.5 รวบรวมและรายงานผลการดาเนนิ งาน 6.6 วิจัยและพัฒนาการต่อต้านยาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อเผยแพร่ และศึกษาพัฒนาต่อ ยอด พัฒนารปู แบบการดาเนนิ งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อย่างมีประสิทธภิ าพ การพัฒนา ทักษะชีวิตเพ่ือการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ควรบูรณาการกับทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษาซ่ึงมีสาระการเรียนรู้และ มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ การพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติด
6 รวมทั้งพัฒนาระบบงาน เพื่อรองรับการปฏิบัติงานสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ประกอบดว้ ยระบบขอ้ มูล ระบบป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ระบบใหค้ าปรกึ ษา ระบบ เฝ้าระวัง ระบบการสนับสนุนจากชุมชนและสร้างเครอื ข่ายการทางาน และระบบ การบริหารจัดการ จะช่วยให้ นักเรยี นพ้นภยั จากยาเสพติดไดอ้ ย่างยั่งยืน ควำมหมำยของทักษะชวี ติ ทักษะชีวิตเป็นความสามารถของบุคคลท่ีจะจัดการกับปัญหาต่าง ๆ รอบตัว ในสภาพสังคมปัจจุบัน และเตรียมความพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต องค์ประกอบของทักษะชีวิต สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้กาหนดองค์ประกอบของทักษะ ชีวิตสาคัญที่จะสร้างและ พัฒนาเป็นภูมิคุ้มกันชีวิตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพสังคม ปัจจุบันและเตรียมความพร้อมสาหรับ อนาคตไว้ 4 องค์ประกอบ ดังน้ี องค์ประกอบที่ 1 การตระหนักรู้และเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผู้อ่นื การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น หมายถึง การรู้ความถนัด ความสามารถ รู้ จุดเด่น จุดด้อยของตนเอง เข้าใจความแตกต่างของแต่ละบุคคล รู้จักตนเอง ยอมรับ เห็นคุณค่าและ ภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น มีเป้าหมายในชีวิต และ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ซ่ึงระบุพฤติกรรม ทกั ษะชวี ิตทค่ี าดหวงั ดงั นี้ 1. คน้ พบความถนัด ความสามารถ และบคุ ลิกภาพของตนเอง 2. ค้นพบจดุ เด่นจุดดอ้ ยของตนเอง 3. ยอมรับความแตกต่างระหว่างตนเองและผู้อ่ืน 4. มองตนเองและผู้อ่ืนในแง่บวก 5. รักและเหน็ คณุ คา่ ในตนเองและผู้อ่ืน 6. มคี วามภาคภูมใิ จในตนเองและผอู้ ืน่ 7. มคี วามเชื่อม่นั ในตนเองและผู้อ่ืน 8. รู้สทิ ธขิ องตนเองและเคารพสทิ ธิผู้อ่ืน 9. มีทักษะชวี ิตในการกาหนดเปา้ หมายและทิศทางสู่ความสาเร็จ 10. มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม องคป์ ระกอบที่ 2 กำรคิดวิเครำะห์ ตัดสินใจ และแกป้ ญั หำอยำ่ งสรำ้ งสรรค์ การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์หมายถึงการแยกแยะ ข้อมูลข่าวสาร ปัญหาและสถานการณ์รอบตัว วิพากษ์วิจารณ์และประเมินสถานการณ์ รอบตัวด้วยหลักเหตุผลและ ข้อมูลท่ีถูกต้อง รับรู้ปัญหา สาเหตุของปัญหา หาทางเลือก และตัดสินใจในการแก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรคซ์ ึง่ ระบพุ ฤตกิ รรม ทกั ษะชีวติ ทคี่ าดหวัง ดังน้ี 1. เลอื กผู้รบั ข้อมลู ข่าวสารอย่างไตร่ตรองและรู้เทา่ ทันสังคมท่ีเปลยี่ นแปลง 2. ตดั สินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเผชญิ อยา่ งมเี หตุผลและรอบคอบ 3. แกป้ ัญหาในสถานการณ์วิกฤตได้อยา่ งเป็นระบบและสรา้ งสรรค์ 4. มองโลกในแงด่ ี 5. มีทกั ษะในการแสวงหาข้อมลู ใช้ข้อมูลใหเ้ ปน็ ประโยชน์ 6. ประเมนิ และสร้างข้อสรุปบทเรยี นชวี ติ ของตนเอง
7 องคป์ ระกอบที่ 3 กำรจัดกำรกบั อำรมณ์และควำมเครยี ด การจัดการกับอารมณ์และความเครียด หมายถึง ความเข้าใจและรู้เท่าทัน ภาวะอารมณ์ของ บุคคลรูส้ าเหตุของความเครียดรู้วธิ ีการควบคุมอารมณ์และความเครียด รู้วธิ ีผอ่ นคลาย หลกี เลี่ยง และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดอารมณ์ไม่พึงประสงค์ ไปในทางท่ีดีซ่ึงระบุพฤติกรรมทักษะชีวิตที่ คาดหวัง ดงั นี้ 1. ประเมินและรเู้ ท่าทันภาวะอารมณ์ท่ีเกิดขนึ้ กับตนเอง 2. จดั การกับความขัดแยง้ ต่าง ๆ ได้ดว้ ยวธิ ีทีเ่ หมาะสม 3. รจู้ ักคลายความเครยี ดด้วยวธิ ีการทส่ี ร้างสรรค์ 4. รจู้ กั สรา้ งความสุขใหก้ ับตนเองและผู้อ่ืน องคป์ ระกอบท่ี 4 กำรสร้ำงสัมพันธภำพทีด่ ีกับผ้อู ่นื การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน หมายถึงการเข้าใจมุมมองอารมณ์ความรู้สึก ของผู้อ่ืน ใช้ ภาษาพดู และภาษากายเพ่ือส่ือสารความรสู้ ึกนึกคิดของตนเอง รับรู้ ความร้สู ึกนกึ คิดและความตอ้ งการ ของผู้อื่น วางตัวได้ถูกต้องเหมาะสมในสถานการณ์ต่างๆ ใช้การส่ือสารท่ีสร้างสัมพันธภาพที่ดีสร้าง ความร่วมมือและทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้อย่าง มีความสขุ ซึ่งระบพุ ฤติกรรมทักษะชวี ติ ทค่ี าดหวงั ดังนี้ 1. ยืนยันความตอ้ งการของตนเอง ปฏิเสธและต่อรองบนพื้นฐานของความถกู ตอ้ ง 2. กลา้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3. ทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย 4. มีจติ อาสาช่วยเหลือผ้อู นื่ 5. สร้างสัมพนั ธภาพทีด่ ีกบั ผอู้ นื่ ด้วยการส่อื สารเชิงบวก 6. เคารพกฎกตกิ าของสงั คม 7. ให้คาปรึกษาแก่ผู้อื่นได้ (เอกสารอ้างอิง : สา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพฒั นาทักษะชีวิต ในระบบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน) กำรสรำ้ งทักษะชีวิต ทักษะชีวิตเป็นควำมสำมำรถท่ีเกิดในตัวผู้เรียนได้ดว้ ยวธิ กี ำรสำคัญ 2 วธิ ีคือ 1. เกิดเองตามธรรมชาตเิ ป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ของตนเอง และมีการเปล่ียนแปลงที่ ดีแต่การเรียนรู้ตามธรรมชาติจะไม่มีทิศทางและเวลาที่แน่นอน บางคร้ังกว่าจะเรียนรู้ก็อาจจะสาย เกนิ ไป 2. การสรา้ งและพัฒนาโดยกระบวนการเรียนการสอน เปน็ การเรียนรทู้ ่ี ผู้เรียนไดเ้ รยี นรรู้ ่วมกันในกลุ่ม ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ ได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้ร่วม อภิปรายแสดงความคิดเห็น ได้แลกเปลี่ยน ความคดิ และประสบการณ์ซงึ่ กนั และกัน สะท้อนความรสู้ ึกนึกคิด มุมมอง เชื่อมโยงสู่วถิ ชี ีวติ ของตนเอง เพือ่ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และปรบั ใช้กบั ชีวิต ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน จากการ เรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางานและการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้าง ความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหว่างบคุ คล การจัดการปญั หาและความขดั แย้ง ต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน 9 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสร้าง
8 ภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ทักษะชีวิตเฉพาะสามารถพัฒนาได้ด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น สาคัญ ที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ และสร้างความรู้ด้วยตนเองร่วมกับกลมุ่ ได้เรียนรู้จากเหตุการณ์สถานการณ์ จริงในชีวิต จากส่ือและแหล่งเรียนรู้ท่ีมีความหมายกับชีวิตของตนเอง เชื่อมโยงชีวิตและการดาเนิน ชีวิตของผูเ้ รยี นในปจั จบุ นั และอนาคต ทกั ษะชวี ิตกบั กล่มุ สำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มสี าระการเรียนรู้5 สาระ สำระท่ี 1 การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจในธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ สำระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และทักษะ ในการดาเนนิ ชีวิต สำระท่ี 3 การเคล่ือนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬา สากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหวกิจกรรมทางกายการเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม การเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็น ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพ สิทธิกฎ กตกิ า มนี ้าใจนักกีฬา มีจติ วญิ ญาณในการ แขง่ ขัน และช่ืนชมในสนุ ทรียภาพของกฬี า สำระท่ี 4 การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพ การป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารง สุขภาพ การ ป้องกันโรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สำระท่ี 5 ความปลอดภยั ในชวี ติ มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลีย่ งปัจจยั เสี่ยง พฤติกรรมเส่ียงตอ่ สุขภาพ อุบัติเหตุการใช้ ยา สารเสพติด และความรุนแรง เม่ือศึกษาในเอกสารตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จะพบว่าตัวช้ีวัด ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1-3 มคี วามสัมพันธ์เกี่ยวขอ้ งกับการพฒั นาทกั ษะชีวิตเพ่ือการสร้าง ภูมิคุ้มกันปัญหายา เสพติด ดังน้ัน ทักษะชีวติ กับกลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและ พลศกึ ษาจึงเป็นการศึกษาด้านสุขภาพ ทม่ี เี ปา้ หมายเพ่ือดารงสุขภาพ การเสริมสร้าง สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคลให้สามารถ ท่ีจะจัดการกับปัญหาต่าง ๆ รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรียมความพร้อมสาหรับการปรับตัว ในอนาคตได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เป็นการสร้างภูมิคมุ้ กนั ปญั หายาเสพติดท่ดี ีมคี ณุ ภาพอีกทางหนึ่ง ตอนท่ี 2 กำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้ ในตอนนี้จะเป็นการวิเคราะห์ตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ทีส่ ามารถพฒั นา ทักษะชีวิตเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติด โดยพิจารณา เป็นรายตัวช้ีวัดท้ัง 5 สาระที่สัมพันธ์กับ พฤติกรรมทักษะชีวิตตั้งแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทั้ง 4 องค์ประกอบของ ทักษะชีวิตในระบบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ท่ีสามารถนาไปสกู่ ารมภี ูมคิ ุ้มกันปัญหายาเสพติดได้โดยแสดง เป็นตารางวิเคราะห์ความ สัมพันธ์ระหว่างตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษากับ พฤติกรรมทักษะ ชีวิตท่ีวิเคราะห์ไว้แล้วจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งผลให้นักเรียนมี คุณภาพ ตามตัวช้ีวัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รวมทั้งการมีทักษะชีวิต ตามท่ี
9 วิเคราะห์ไว้ควบคู่ไปด้วย โดยจะผนวกไว้ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ/หรือใช้เทคนิค คาถาม R - C - A เพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ ตามความเหมาะสม เอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง ลักษณะ อาการ และการป้องกันสารเสพติด ลกั ษณะผ้ทู ตี่ ิดสารเสพตดิ 1. การเปล่ยี นแปลงทางรา่ งกาย - สขุ ภาพทรุดโทรม ผอมซูบซีด - รมิ ฝีปากเขียวคลา้ แหง้ แตก - ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง - น้ามูกนา้ ตาไหล เหงอ่ื ออกมาก - มักใสแ่ ว่นกรองแสงสเี ข้ม เพอื่ ต่อสกู้ ับแสงสวา่ งเพราะม่านตาขยาย - มรี อ่ งรอยการเสพยาโดยการฉีด น้ิวมอื มีรอยคราบเหลืองสกปรก - มรี อยแผลเปน็ ท่ีทอ้ งแขนเปน็ รอยกรดี ด้วยของมคี ม (ทารา้ ยตนเอง) 2. การเปล่ียนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติ และบคุ ลกิ ภาพ - ไมส่ นใจต่อส่ิงแวดล้อม ชอบแยกตัวเอง หลบซอ่ นตัว ทาตัวลึกลับ - เป็นคนเจ้าอารมณห์ งดุ หงิด เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตผุ ล พูดจาก้าวรา้ ว ดื้อรั้นไมเ่ ช่อื ฟงั สามารถทารา้ ยบิดามารดาได้ - ไมส่ นใจความเปน็ อยูข่ องตนเอง แต่งกายไม่สภุ าพเรยี บรอ้ ย สกปรก - สีหนา้ แสดงความผดิ หวงั กังวล ซึมเศรา้ - พกอุปกรณเ์ กยี่ วกับการใช้สารเสพตดิ เชน่ เขม็ ฉดี ยา กระดาษตะกัว่ ไมข้ ีดไฟ เมอื่ ขำดยำเสพติดจะมอี ำกำรอยำกยำเสพติด ดังน้ี - อาการมนี า้ มูก นา้ ตาไหล หาวนอน จามคล้ายเปน็ หวดั - กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ลึก จ้องหาแต่ยาเสพติด จะขวนขวายหามาเสพ ไม่วา่ ด้วยวธิ กี ารใด ๆ - คล่นื ไส้อาเจยี น ท้องเดิน อาจมีเลือดปนออกมาดว้ ย เรียกวา่ ลงแดง - ขนลุก เหงื่อออก เป็นตะครวิ กลา้ มเนื้อกระตุก ขบฟัน ปวดเม่ือย ตามร่างกาย ปวดเสียวใน กระดูกดิ้นทรุ นทรุ าย - มไี ข้และความดันโลหิตสงู ชักกระตกุ นอนไม่หลบั คลุ้มคล่ัง เสียสติ กำรปอ้ งกนั ปัญหำสำรเสพติด 1. ป้องกันตนเอง ไม่ทดลองเสพยาเสพติดทุกชนิด ถ้ามีปัญหาหรือไม่สบายใจ อย่าเก็บไว้ คน เดียว ไม่หาทางออกในทางที่เป็นโทษ ควรปรึกษา พ่อ แม่ ครผู ู้ใหญ่ ใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ เช่น อา่ นหนังสือ เล่นกีฬา หรือทางานอดิเรกต่าง ๆ ระมัดระวังการใช้ยา และศึกษาให้เข้าใจถึงโทษของยา เสพติด 2. ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวอย่าให้เก่ียวข้องกับยาเสพ ติด อบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษภัยของยาเสพติด ดูแลเรื่องการคบเพ่ือน คอยส่งเสริมให้เขา รู้จักการใช้
10 เวลาในทางที่เป็นประโยชน์ เชน่ การทางานบ้าน เล่นกีฬา ฯลฯ เพ่ือป้องกัน มิให้เด็กหันเหไปสนใจยา เสพติด สิ่งสาคญั ก็คือ ทุกคนในครอบครัวควรสร้างความรกั ความเขา้ ใจและความสมั พันธ์อนั ดตี ่อกัน 3. ป้องกันชุมชน หากพบผู้ติดยาเสพติดควรช่วยเหลือแนะนาให้เข้ารับการบาบัดรักษา โดยเร็ว “การสมัครขอเข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติดก่อนท่ีความผิดจะปรากฏ ต่อเจ้าหน้าที่ กฎหมายยกเว้นโทษให้” และเม่ือรู้ว่าใครผลติ นาเข้า สง่ ออกหรอื จาหน่ายยาเสพตดิ ควรแจ้งเจา้ หน้าท่ี ตารวจ เจ้าหน้าที่ศุลกากร นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ หรือเจ้าหน้าที่ของสานักงาน ป้องกัน และปราบปรามยาเสพติด (สานักงาน ป.ป.ส.) เพอื่ ดาเนนิ การกวาดลา้ งและปราบปราม มใิ ห้ยาเสพติด กระจายไปสชู่ มุ ชน ตอนท่ี 3 สำระนำ่ รูเ้ กย่ี วกับยำเสพตดิ ยาเสพติด... ปญั หาท่ีไมค่ วรวางเฉย สมองติดยา การติดยาเสพตดิ เก่ียวข้องกับสมอง 2 ส่วน คือสมองส่วน นอกหรือสมองส่วนคิด (Cerebral Cortex) และสมองส่วนที่อยู่ชั้นในหรือสมองส่วนอยาก (Limbic System) สมองส่วนคิด ทาหน้าที่ควบคุมสติปัญญา ใช้ความคิดแบบมีเหตุผลขณะที่สมองส่วนอยาก เป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์ความรู้สึก เมื่อเราเสพยาเสพติด ตัวยาจะไปกระตุ้นสมอง ส่วนอยากให้สร้าง สารเคมีที่มีผลให้เกิดความรู้สึกสุข ได้แก่ โดปามีน ซีโรโตนิน เอ็นโดฟีนกลูตาเมท ฯลฯ ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับ การออกฤทธ์ขิ องยาเสพตดิ แต่ละตัว ขณะท่ียาออกฤทธิ์ผู้เสพจึงรู้สึกเป็นสุข แต่เป็นความรู้สึกท่ีสร้างขึ้นอย่าง ผิดธรรมชาติเมื่อ หมดฤทธิ์ยาและผู้เสพใช้ชีวิตโดยปกติสมองจะพยายามปรับสภาพ ให้เข้าสู่ภาวะปกติด้วยการลดการ หลั่งสารเคมีน้ันลง ทาให้ผู้เสพเกิดอาการหงุดหงดิ หรือซึมเศร้า ในยาเสพติดบางชนิดจะมีอาการทุกข์ ทรมานอย่างชัดเจนเนื่องจากขาดสาร ดังกล่าว ในที่สุดผู้เสพจึงต้องแสวงหายามาใช้อีก แต่เน่ืองจาก สมองพยายามปรับตัว ให้ตอบสนองต่อยาน้อยลง ผู้เสพจึงต้องเพิม่ ปริมาณและความถ่ีของการเสพข้ึน เร่ือย ๆ เพื่อให้ได้ฤทธ์ิของยาตามท่ีเคยได้ส่ิงเหล่านี้เกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าอีกจนกลายเป็นสถานการณ์ เสพ ติดนน่ั เอง ความต้องการยาเสพติดมาเสพ ทาให้ผตู้ ดิ ต้องแสวงหายามาใชด้ ้วยวถิ ีทางทั้งท่ี ถูกตอ้ งและผิด ต่อครอบครัวและสังคม ระหว่างน้ีสมองส่วนคิดจะถูกทาลาย ความคิด ที่เป็นเหตุเป็นผลจะเสียไป สมองส่วนอยากจะอยู่เหนือสมองส่วนคิด จนทาอะไรตามใจ ตามอารมณ์มากกว่าเหตุผล ผู้ที่ใช้ยาจึง มักแสดงพฤติกรรมทไ่ี ม่เหมาะสม โกหก ขี้ขโมย เกียจคร้าน ก้าวร้าว หงดุ หงดิ โดยควบคุมตัวเองไม่ได้ จาเป็นตอ้ งได้รบั การรกั ษาโดยเร็ว จะดีกวา่ ปล่อยไวเ้ น่ินนาน ยาเสพตดิ อนั ตารายทแี่ พรร่ ะบาดมากทส่ี ดุ 3 อันดับแรกในประเทศไทย ได้แก่ ยำบำ้ กญั ชำ และสำรระเหย ยำบ้ำ (Methamphetamine) ออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาท ระยะแรกจะออกฤทธ์ิ ทาให้ร่างกาย ต่ืนตัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อ ยาออกฤทธิจ์ ะรู้สึกอ่อนเพลีย มากกว่าปกติประสาทล้า ทาให้การตัดสินใจช้าและ ผิดพลาดถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทาให้ สมองเส่อื ม ประสาทหลอน เหน็ ภาพลวงตา หวาดระแวง คลมุ้ คล่ัง
11 กัญชำ (Cannabis) ออกฤทธิ์ท้ังกระตุ้นประสาท กดประสาท และหลอนประสาท ใน เบื้องต้นจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทาให้ตื่นเต้น ช่างพูด และหัวเราะ ตลอดเวลา ต่อมาจะกด ประสาทมีอาการคล้ายเมาสุรา เซ่ืองซึมและง่วงนอน หากใช้ ปริมาณมากจะหลอนประสาท เห็นภาพ ลวงตา หแู วว่ ความคิดสบั สน ควบคุมตัวเองไมไ่ ด้ สำรระเหย (Inhalant) ออกฤทธก์ิ ดระบบประสาท ระยะแรกมอี าการเคลบิ เคล้มิ ตน่ื เตน้ หัว ใจเต้นเร็ว ต่อมามีอาการมึนงงคล้ายเมาสุรา ควบคุมตนเองไม่ได้กล้ามเน้ือ ทางานไม่ประสานกัน ระบบประสาทอัตโนมัติถูกกดระยะยาว จะระคายเคืองเย่ือบุ ในปากและจมูก เกิดเป็นอัมพาตได้การ ทางานของตับและไตล้มเหลว มีอาการทาง จิตประสาท เซลล์สมองเสื่อมท่ีเรียกว่า สมองฝ่อ นอกจากน้ียังมียาเสพติดที่มีแนวโน้มจะแพร่ระบาดมากข้ึน ได้แก่ ยาเสพติด ประเภท Club Drugs หรอื ยาเสพตดิ ทใ่ี ช้เพื่อความบันเทงิ มตี วั ยาท่ีแพร่ระบาดมาก ได้แก่ ไอซย์ าอียาเค ไอซ์ (Ice)คือ Methamphetamine ที่มีความบริสุทธิ์สูง เป็นสารเคมีหลักที่ใช้ ผสมกับตัว ยาอื่นในการผลิตเปน็ ยาบ้า ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท นอนไม่หลับ ตาแข็ง พร่ามัว ปากแห้ง หัว ใจเต้น ไม่สม่าเสมอ ปอดและไตทางานผดิ ปกติปวดศรี ษะรุนแรง เวยี นศีรษะ หน้ามดื หงุดหงิด กระวน กระวาย ก้าวร้าว หนุ หนั หวาดระแวง เพ้อ คลง่ั ยำอี หรือเอ็กซ์ตำซ่ี (Ecstasy)ออกฤทธิ์3ลักษณะคือกระตุ้นระบบประสาท ระยะสั้น ๆ หลงั จากนนั้ จะหลอนประสาทอย่างรุนแรง ฤทธิ์ของยาจะทาใหผ้ ู้เสพรสู้ ึกรอ้ น เหง่อื ออกมาก หัวใจเต้น เร็วความดันโลหิตสูงการได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ทาลายระบบ ภูมิคุ้มกันของร่างกาย ส่งผลให้ผเู้ สพมีโอกาสติด เชือ้ โรคได้ง่าย ยำเค หรือ เคตำมีน (Ketamine) เป็นยาสลบใช้ในทางการแพทย์ออกฤทธ์ิ หลอนประสาท อย่างรุนแรง รู้สึกเคลิบเคล้ิม สูญเสียกระบวนการทางความคิด ความคิด สับสน การรับรู้และการ ตอบสนองต่อส่งิ แวดล้อม ทัง้ ภาพ แสง สเี สียง จะเปลี่ยนแปลง หากใช้ติดต่อกนั เปน็ เวลานานจะทาให้ ผเู้ สพประสบกับสภาวะโรคจิตและกลายเปน็ คนวิกลจริตได้ กำรติดยำ/สำรเสพตดิ การติดสารเสพติดเป็นโรคทางสังคมท่ีซับซ้อนมาก เพราะภาวะติดสารเสพติด เกิดจาก ความสมั พนั ธเ์ ช่อื มโยงระหวา่ ง 3 ปจั จยั หลัก ไดแ้ ก่ บุคคล คือ วุฒิภาวะ อารมณ์ทัศนคติวิธีคิด ตัดสินใจ และทักษะในการจัดการ ชีวิต เช่น ความคึกคะนอง ไม่เห็นคุณค่าตนเอง เหงา ต้องการการยอมรับจากเพ่ือน อย่างมาก ขาดทักษะการ จัดการความเครยี ด ขาดทักษะการปฏิเสธ ขาดทกั ษะ การตัดสินใจ เปน็ ต้น สำรหรือตัวยำ คือ ฤทธ์ิของสารในยาเสพติด เช่น ทาให้เมาจนขาดสติลืมความ ทุกข์ในโลก ของความเป็นจรงิ ชั่วขณะ เปน็ ต้น สิ่งแวดล้อม คือ สภาวะท่ีบุคคลดารงอยู่ เช่น ภาวะขาดความรักในครอบครัว ค่านิยมของ กลุ่มเพ่ือนท่ีมองการใช้ยาเสพติดเป็นการแสดงความกล้า ภาวะในชุมชน/สังคม อาทิมีโอกาสเข้าถึงยา เสพตดิ ไดง้ า่ ยเห็นการเสพยาเสพติดเปน็ ปกติในชวี ติ ประจาวนั เปน็ ต้น
12 ยำเสพติ : ปัญหำทตี่ อ้ งปอ้ งร่วมกัน ข้อมูลทางการแพทย์ยืนยันได้ว่า เมื่อเซลล์สมองเสียหายแล้วไม่สามารถสร้าง ขึ้นใหม่ได้อีก นั่น หมายถงึ ผ้ตู ดิ ยาทเี่ ลิกใชย้ าเสพติด แม้จะสามารถดารงชวี ิตในสังคมได้ ตามปกติแตเ่ ซลล์สมองท่ีเสียไป แลว้ ก็ไมอ่ าจฟ้ืนกลบั มาดังเดิมได้ครบสมบูรณด์ ังนนั้ หากเรารกั ตัวของเราและคนใกล้ชิดเราควรสนใจท่ี จะป้องกันตนเองและคนใกล้ชดิ ใหห้ า่ ง จากการใช้ยาเสพติดให้มากทสี่ ุด การป้องกนั ยาเสพตดิ มหี ลกั การในการปอ้ งกันใหญๆ่ 4 ข้อ คือ 1. ป้องกันตนเอง เริ่มจาการมีระเบียบวินัยในตนเอง ขยันหมั่นเพียร ทาตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ เลือกคบเพ่ือนท่ดี ไี ม่มั่วสุมในอบายมขุ และส่งิ เสพติด และ ไมใ่ ชย้ าโดยมไิ ด้ รบั คาแนะนาจากแพทยร์ วมทั้งอย่าทดลองยาเสพตดิ ทกุ ชนิดโดยเดด็ ขาด 2. ป้องกันครอบครัว เร่ิมจากการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว แบ่งเบาภาระหน้าที่แก่กันและกันภายในบ้าน มีความรักใคร่กลมเกลียว และมีความ เข้าใจกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อมีปัญหา ช่วยสอดส่องดูแลสมาชิกในครอบครัว อย่าให้เก่ียวข้องกับยาเสพ ติด คอยอบรมตักเตือนสมาชิกในครอบครัวให้รู้ถึงโทษและ ภัยของยาเสพติด หากมีสมาชิกเสพติดใน ครอบครัวรีบให้เข้ารักษาตัว อย่าปล่อยท้ิงไว้ นาน ๆ ควรรีบรักษาโดยเร็วที่สุดเพื่อประโยชน์ในการ รักษา 107 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติด ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 3. ป้องกันชุมชน ช่วยช้แี จงใหเ้ พือ่ นบา้ นเขา้ ใจถึงโทษและภัยของยาเสพติดเพื่อมิใหเ้ พื่อนบ้าน ท่รี ูเ้ ท่าไม่ถึงการณ์ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่า เพื่อนบ้านติดยาเสพตดิ จงช่วย แนะนาให้ไปรักษา ตัวที่โรงพยาบาล รวมทัง้ รว่ มมอื กนั ในชุมชนเพื่อสอดสอ่ ง เฝา้ ระวงั ปญั หาในชุมชน/ละแวกบ้านไมใ่ ห้มี คนภายในชุมชน หรือคนภายนอกชุมชนมีพฤติกรรม เก่ียวข้องกับยาเสพติด โดยอาจใช้มาตรการ ตักเตือน กดดันทางสังคม หรอื แจง้ เจ้าหนา้ ที่ ตารวจ คณะกรรมการหมบู่ ้าน/ชมุ ชน 4. ป้องกันสังคม โดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ ในการเป็นหูเป็นตาช่วยสอดส่อง เฝ้า ระวังปัญหาเมื่อทราบว่าสถานการณ์ที่ใดเป็นแหล่งแพร่ระบาดยาเสพติด มีกิจกรรมใด ท่ีเป็นปัจจัย เสย่ี งที่จะชักนาให้เด็กและเยาวชนเข้าไปยุ่งเก่ียว หรือมบี ุคคลใดมีพฤตกิ รรม น่าจะเก่ียวข้องกับการนา ยาเสพติดมาแพร่ระบาด โปรดแจ้งเบาะแสให้เจา้ หน้าท่ีตารวจ ทกุ แห่งทุกทอ้ งที่ทราบ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ ชมุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. กรมสุขภาพจติ . คู่มอื การจัดกิจกรรมเพ่ือเสริมสรา้ ง ทักษะชีวิตสาหรับเด็ก. กรมสุขภาพจิต, 2541. จิตรา ธนสารเสณี. การศึกษาเรื่องการส่ือสารความรู้ ทัศนคติและทักษะการปฏิเสธ สิ่งเสพติดของนักเรียนมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ นิเทศ ศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. ชุลีพร ดัดงาม. การศึกษาความสามารถ การใช้ทักษะตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรยี นอสั สมั ชัญแผนก ประถม ปีการศึกษา 2554. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2554. ทัศนีย์ ไชยเจริญ. “ใบความรู้เร่ืองหลักการปฏิเสธและการเตือนเพ่ือน”, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก http://www.slideshare.net (วันที่ค้นขอ้ มูล 24 มกราคม 2556). สถาบันบาบดั รกั ษาและฟน้ื ฟู ผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี.“วิธีปฏิเสธยาเสพติด ”, [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
13 http://www.thanyarak.go.th (วันท่ีค้นข้อมูล 24 มกราคม 2556). สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน. การพัฒนาทักษะชวี ติ ในระบบการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
14 บทที่ 3 วิธีกำรประเมนิ โครงกำร รปู แบบกำรประเมนิ โครงกำร การประเมินโครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ใช้รูปแบบ การประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟิลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261-265 ) ดังน้ี ประเมินสภาวะแวดลอ้ ม หลกั การ ( Context Evaluation ) วัตถุประสงคข์ องโครงการ เป้าหมายของโครงการ การเตรียมการภายในโครงการ ประเมนิ ปจั จัยเบ้ืองต้น บคุ ลากร ( Input Evaluation ) วสั ดอุ ุปกรณ์ เครื่องมือเคร่อื งใช้ ประเมินกระบวนการ งบประมาณ ( Process Evaluation ) การดาเนินโครงการ การประเมินผลผลติ กจิ กรรมการดาเนินงานตาม ( Product Evaluation ) วิธกี ำรประเมนิ โครงกำร โครงการ การนิเทศตติ ามกากบั ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง การประเมนิ ผล ผลการดาเนินโครงการ คุณภาพผ้เู รยี น/ผู้รบั บรกิ าร
15 ประชากร : ประชากรท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี คือ ประชาชน ตาบลคาม่วง กลุ่มตัวอย่าง : กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ประเมินครั้งนี้ ได้จาก ประชาชน ตาบลคาม่วง ท่ีเข้าร่วม จานวน 60 คน โดยใช้ รูปแบบและเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นกำรดำเนนิ งำน เครอ่ื งมือในการประเมินผลความพงึ พอใจนี้ เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมต่อ การจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการทาบัญชีครัวเรือน เป็นการรายงานผลตามแบบสอบถามความพึง พอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ต่อการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะชีวิต เร่ือง เข้าใจ เรียนรู้ เรื่อง โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพติด เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันและปลูกจิตสานึกตาบลคาม่วง เม่ือการเข้าร่วมกิจกรรมเสร็จส้ินแล้ว ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามความคิดเห็น ซึ่งเป็น แบบประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ คือ มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย และปรับปรุง โครงสร้างแบบสอบถามมี 3 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป มี 4 ขอ้ สว่ นท่ี 2 ความคดิ เหน็ /ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม มี 14 ข้อ สว่ นที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม เกณฑก์ ำรประเมิน มีดังน้ี ผลความพงึ พอใจระดับมากท่ีสดุ 4.50 - 5.00 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดับมาก 3.50 - 4.49 หมายถึง 2.50 - 3.49 หมายถึง ผลความพงึ พอใจระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดับนอ้ ย 1.00 - 1.49 หมายถึง ผลความพงึ พอใจระดบั น้อยท่ีสดุ ควรปรบั ปรุง วธิ ีกำรสร้ำงและพฒั นำเคร่ืองมอื ผูป้ ระเมนิ ได้สร้างและพฒั นาเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการดาเนินงาน ดังน้ี 1. ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 2. กาหนดแผนงานและโครงการ 3. กาหนดกจิ กรรมหรอื งานทป่ี ฏบิ ัตใิ นแต่ละขนั้ ตอน 4. เขียนแบบประเมินความพึงพอใจฉบับร่าง โดยให้มีข้อถามหรือข้อความครอบคลุม เนื้อหา กจิ กรรม หรอื งานท่ีปฏบิ ัติตลอดโครงการ และจัดทาแบบบันทกึ คะแนน กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้ประเมินได้ทาการเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยดาเนนิ การในช่วงสิ้นสุดการจัดกิจกรรม โครงการ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชีวิตรทู้ ันภัยยาเสพติด เพ่ือสร้างภมู คิ ุ้มกันและปลูกจิตสานกึ
16 การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ประเมินได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ เกณฑ์ การให้คะแนนแบบประเมินความพึงพอใจ เป็นแบบประเมินกาหนดเป็นมาตราส่วนประมาณค่าตาม แนวคดิ ของลเิ คิร์ท (Likert) แสดงระดับความคดิ เห็นของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมโดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดงั นี้ 5 หมายถึง มากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถงึ นอ้ ยที่สดุ จากนัน้ นาขอ้ มูลมาหาคา่ เฉล่ยี รายข้อ โดยกาหนดเกณฑ์ ดงั นี้ 4.50 - 5.00 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดบั มากทีส่ ุด 3.50 - 4.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ ผลความพึงพอใจระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั น้อย 1.00 - 1.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดบั นอ้ ยท่สี ุด สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู นาข้อมลู ทไ่ี ด้มาหาคา่ สถิติทางคณิตศาสตร์ ดงั น้ี คา่ รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ (Mean) การนาเสนอขอ้ มูล การนาเสนอข้อมูลเป็นการนาเสนอในรูปความเรียง ประกอบรายละเอียดในตาราง แจกแจงด้วย ค่าความถ่ีและร้อยละ การวิเคราะหผ์ ลการประเมินโครงการ วเิ คราะหผ์ ลการประเมินโครงการ โดยใช้ X , S.D. และเปรียบเทียบกบั เกณฑ์เฉลี่ย สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู 1. คา่ เฉลยี่ ใชส้ ูตร X= ƒx X= คา่ เฉลย่ี N ƒx = ผลรวมของความถีข่ องคะแนนท้ังหมด
17 N = จานวนประชากรทีเ่ ข้ารว่ มโครงการตาบลคามว่ ง ทง้ั หมด 2. คา่ ความเบย่ี งเบนมาตรฐาน ใช้สตู ร S.D. = nX 2 x2 nn 1 S.D. = คา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน X 2 = ผลรวมของกาลงั สองของคะแนน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด ยกกาลังสอง x2 = n = จานวนคนในกล่มุ ตัวอย่าง เกณฑเ์ ฉลยี่ การประเมินโครงการ(บญุ ชม ศรสี ะอาด,2545:100) คะแนนเฉลย่ี 4.51-5.00 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลย่ี 3.51-4.50 หมายถงึ มกี ารดาเนนิ การในระดับมาก คะแนนเฉล่ีย 2.51-3.50 หมายถึง มีการดาเนินการในระดับปานกลาง คะแนนเฉลยี่ 1.51-2.50 หมายถึง มีการดาเนินการในระดับนอ้ ย คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.50 หมายถงึ มกี ารดาเนนิ การในระดับน้อยที่สุด
18 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน 1. สภาพการดาเนินงานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชนผู้เข้าร่วมโครงการคา่ ยพัฒนาทักษะชีวิต รทู้ ันภัยยาเสพตดิ เพอื่ สรา้ งภมู คิ ้มุ กนั และปลกู จติ สานึก 1.1 จานวนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการประชาชน ตาบลคาม่วง จานวน 60 คน 2.2 ความพึงพอใจผเู้ ข้าร่วมโครงการ มตี อบแบบประเมนิ ความพึงพอใจจานวน 60 ชุด จาแนกตามระดบั ความคิดเห็นดงั น้ี ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ /ความพึงพอใจ แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ดังนี้ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป ตาราง 1 จานวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ท่ี เพศ จ าน วน ร้อยละ (คน) 1 ชาย 2 หญิง 15 25.00 รวม 45 75.00 60 100.00 จากตาราง 1 พบว่าจานวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม จานวน 60 คน แบ่งเปน็ เพศชาย 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.00 และเป็นเพศหญิง 45 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 จานวน 60 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ตาราง 2 อายผุ ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม ที่ อายุ จานวน รอ้ ยละ 1. 15 – 30 ปี - - 2. 31–45 ปี 21 35.00 3. 46–59 ปี 12 20.00 4. 60 ปีข้นึ ไป 27 40.00 รวม 60 100 จากตารางท่ี 2 ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีมีช่วงอายุระหว่าง 15 – 30 ปี มจี านวน - คน คดิ เป็น ร้อยละ - ชว่ งอายรุ ะหวา่ ง 31 - 45 ปีมีจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 35.00 ชว่ งอายุระหวา่ ง 46 - 59 ปี มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 จานวน 60 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
19 ตำรำง 3 ระดบั การศกึ ษาของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม จำนวน ร้อยละ ระดบั กำรศกึ ษำ - - ประถมศกึ ษา 39 65.00 มัธยมศึกษาตอนตน้ 21 35.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - - ปรญิ ญาตรีขึ้นไป 60 100.00 รวม จากตาราง 3 พบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมมีการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น มากท่ีสุด จานวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 21 คน คิดเป็นร้อย ละ 35.00 ส่วนท่ี 2 ควำมพงึ พอใจท่ีมตี อ่ กำรจัดกิจกรรม/โครงกำรดงั ตารางท่ี 2.1 ถึง ตารางท่ี 2.4 ตำรำงที่ 2.1กระบวนกำร ขั้นตอนกำรให้บริกำร ในการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจใน การเขา้ รว่ มโครงการ ระดบั ควำมคิดเห็น ผลกำร ประเมนิ ท่ี ประเด็นคำถำม ดมี ำก ดี ป ำน นอ้ ย น้ อ ย X กลำง ทส่ี ดุ 1. การประชาสัมพันธ์ 39 21 - -- 4.65 ดี โครงการฯ 2. ความเหมาะสมของ 20 - -- 4.66 ดี สถานที่ 40 ความเหมาะสมของ 3. ระยะเวลา 35 25 - -- 4.57 ดี (จานวนชั่วโมง, จานวนวัน) 4. ความเหมาะสมของ 21 - -- 4.65 ดี ชว่ งเวลา 39 5. การจัดลาดับขั้นตอน 13 - -- 4.77 ดี ของกิจกรรม 47 คำ่ เฉล่ยี ( X ) 4.66 ดี จากตารางที่ 2.1 กระบวนกำร ขนั้ ตอนกำรให้บริกำรอยู่ในระดับ ดี คือมีคา่ เฉล่ีย (X ) เท่ากบั 4.66 หรือ คิดเป็นร้อยละ 93.20
20 ตำรำงที่ 2.2 เจ้าหน้าท่ีผู้ให้บรกิ าร/วิทยากร/ผู้ประสานงาน ในการจัดกิจกรรมและความพึง พอใจ ในการเข้ารว่ มโครงการ ระดับความคิดเห็น ผลการ ประเมิน ที่ ประเดน็ คาถาม ดีมาก ดี ปาน น้อย น้ อ ย X กลาง ท่ีสดุ 1. ความรอบรู้ ในเน้ือหาของวทิ ยากร 38 22 - - - 3.89 ดี 2. ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด 45 15 - - - 4.21 ดี ความรู้ 3. การตอบคาถาม 41 19 - - - 4.04 ดี 4. ความเหมาะสมของวิทยากร ใน 40 20 - - - 3.99 ดี ภาพรวม ค่าเฉลีย่ ( X ) 4.03 ดี จากตารางท่ี 2.2 เจ้ำหน้ำท่ผี ใู้ ห้บริกำร/วิทยำกร/ผู้ประสำนงำน อยใู่ นระดบั ดี คอื มคี า่ เฉลยี่ ( X ) เทา่ กบั 4.03 หรือ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.60 ตำรำงที่ 2.3 กำรอำนวยควำมสะดวก ในการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มโครงการ ระดบั ควำมคดิ เห็น ผลกำร ประเมนิ ท่ี ประเด็นคำถำม ดี ดี ปำ น น้อย น้ อ ย X มำก กลำง ที่สุด 1. เอกสาร 36 14 10 - - 4.43 ดี 2. โสตทัศนปู กรณ์ 37 12 11 - - 4.43 ดี 3. เจ้าหนา้ ทสี่ นบั สนนุ 39 11 10 - - 4.48 ดี 4. อ าห าร ,เค รื่อ งดื่ ม แ ล ะ 42 18 - -- 4.70 ดี สถานที่ ค่ำเฉล่ีย ( X ) 4.51 ดี จากตารางที่ 2.3 กำรอำนวยควำมสะดวกตา่ งๆในการจัดกจิ กรรม/โครงการ อยู่ในระดบั ดี คือมคี า่ เฉลีย่ ( X ) เท่ากบั 4.51 หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.20
21 ตำรำงที่ 2.4 คุณภำพกำรใหบ้ ริกำรในการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจในการเข้าร่วมโครงการ ระดบั ควำมคิดเหน็ ผลกำร ประเมิน ที่ ประเด็นคำถำม ดี ดี ปำน น้อย น้ อ ย X มำก กลำง ทีส่ ุด ท่านได้รับความรู้ แนวคิด 1. ทักษะและประสบการณ์ 35 20 5 - - 4.49 ดี ใหมๆ่ จากโครงการ/กจิ กรรม ท่านสามารถนาส่ิงท่ีได้รับ 2. จากโครงการ/กิจกรรมนี้ไป 39 18 3 - - 4.60 ดี ใ ช้ ใ น ก า ร เ รี ย น / ก า ร ปฏบิ ัติงาน สิง่ ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/ 3. กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความ 37 11 12 - - 4.41 ดี คาดหวังของทา่ น สัดสว่ นระหวา่ งการฝกึ อบรม 4. ภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ 38 12 10 - - 3.83 ดี (ถ้าม)ี มีความเหมาะสม 5. ประโยชน์ที่ท่านได้รับจาก 36 24 - - - 4.60 ดี โครงการ/กิจกรรม ค่ำเฉลี่ย ( X ) 4.38 จากตารางท่ี 2.4 คุณภำพกำรใหบ้ ริกำร ประโยชน์ท่ไี ด้รับในการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ อยู่ในระดับดีมำกคอื มคี ่าเฉล่ยี ( X ) เท่ากบั 4.38 หรือ คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.72 สรุปแยกเป็นรำยประเด็น พบว่ำ ข้อที่ 5 ประโยชน์ท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม และ ข้อท่ี 2 ท่านสามารถนาสิ่งท่ไี ด้รบั จากโครงการ/กจิ กรรมน้ีไปใชใ้ นการเรยี น/การปฏิบตั ิงาน อยูใ่ นระดับดี คอื มี คา่ เฉล่ีย 4.60 ค่าเฉลี่ย ( X ) คิดเป็นร้อยละ 92.00 ข้อท่ี 1 ท่านได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะ และประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/กิจกรรม ค่าเฉลี่ย ( ) คิดเป็นร้อยละ 89.80 ขอ้ ท่ี 3 สิ่ง ที่ท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดXหวังของท่านอยู่ในระดับดี คือมีค่าเฉล่ีย 4.41 ค่าเฉล่ีย ( ) คิดเป็นร้อยละ 88.2 และ ข้อที่ 4 ส่ิงท่ีท่านได้รับจากโครงการ/กิจกรรม ครั้งน้ีตรงตามความXคาดหวังของท่าน อยู่ในระดับดี คือมีค่าเฉล่ีย 3.83 ค่าเฉลี่ย ( X ) คิดเป็น รอ้ ยละ 76.60 ตามลาดบั
22 บทสรปุ สว่ นที่ 2 ควำมพงึ พอใจทมี่ ตี อ่ กำรจดั กจิ กรรม/โครงกำร จากตารางท่ี 2.1 ถึง ตารางท่ี 2.4 ผลการประเมินพบว่าความพึงพอใจท่ีมีต่อ โครงการค่ายพัฒนา ทักษะชีวิตรู้ทันภัยยาเสพติด เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันและปลูกจิตสานึก กศน.ตาบลคาม่วง อยู่ในระดับ ดี โดยมีคา่ เฉลย่ี ในภาพรวม ( X ) เทา่ กับ 4.39 และคิดเป็นรอ้ ยละ 87.90
23 บทท่ี 5 สรุปผลกำรดำเนินงำน/ข้อเสนอแนะ การประเมินผลโครงการคา่ ยพัฒนาทักษะชีวติ รูท้ ันภยั ยาเสพติด เพ่ือสร้างภูมคิ ุ้มกันและปลกู จติ สานึก ณ กศน.ตาบลคาม่วง บา้ นทรัพยส์ มบูรณ์ หมู่ 4 ตาบลคาม่วง อาเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ ขอ้ เสนอแนะ ตารางสรปุ ระดบั ความคดิ เห็นของผู้รับบริการ 4 ดา้ น ดา้ นท่ี หัวขอ้ การประเมิน ค่าเฉลย่ี ระดับความคิดเหน็ 1 ดา้ นระดับความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร 4.66 ดี 2 ด้านครผู ้สู อน/วทิ ยากรผ้จู ดั กิจกรรมการเรียนรู้ 4.03 ดี 3 ดา้ นจัดสง่ิ อานวยความสะดวกแก่ผ้เู ข้าร่วม 4.51 ดี กิจกรรม 4 ด้านคุณภาพของการจดั กจิ กรรม 4.38 ดี รวม 4.39 ดี พบว่า ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ โดยภาพรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ย 4.39 อยู่ในระดับ ดี ด้านระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการมีค่าเฉลี่ย 4.66 อยู่ในระดับ ดี, ด้านจัดส่ิงอานวยความ สะดวกแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย 4.51 อยู่ในระดับ ดี, ด้านคุณภาพของการจัดกิจกรรมมี ค่าเฉล่ีย 4.38 อยู่ในระดับ ดี, ด้านครูผู้สอน/วิทยากรผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ย 4.03 อยู่ใน ระดับ ดี
24 จำกตำรำง 2.4 เป้าหมาการ ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ ผลการ บรรลุ ความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร ดาเนนิ งาน รอ้ ยละ 80 พึงพอใจ บรรลุ ไม่ กิจกรรมทีจ่ ัดมปี ระโยชน์ สอดคลอ้ ง อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป รอ้ ยละ บรรลุ กบั ความต้องการของผเู้ ข้ารว่ ม ร้อยละ 80 พงึ พอใจ 89.80 กจิ กรรม อยใู่ นระดับ ดี ขึ้นไป ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ท่ี ร้อยละ ไดร้ บั สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ใน ร้อยละ 80 พงึ พอใจ 92.00 ชีวิตประจาวนั ได้ อยใู่ นระดบั ดี ขึ้นไป กิจกรรมที่จัดสามารถส่งผลดีตอ่ การ รอ้ ยละ 80 พึงพอใจ รอ้ ยละ พัฒนา คน สังคม และชมุ ชน อยู่ในระดบั ดี ขึ้นไป 88.20 ความพงึ พอใจท่มี ีต่อโครงการ/ กจิ กรรม ภาพรวม รอ้ ยละ 80 พึงพอใจ ร้อยละ อยู่ในระดับ ดี ข้นึ ไป ประโยชนแ์ ละความพงึ พอใจที่มีต่อ 76.60 โครงการ/กจิ กรรมในภาพรวม ร้อยละ 92.00 ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ -
25 โครงกำรคำ่ ยพัฒนำทักษะชีวติ รทู้ ันภยั ยำเสพติด เพื่อสร้ำงภมู คิ ุม้ กนั และปลูกจิตสำนึก วนั ท่ี 25-27 เดือน สงิ หำคม พ.ศ. 2564 ณ กศน.ตำบลคำมว่ ง ศูนย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย อำเภอเขำสวนกวำง 1. เพอื่ ให้ผู้จัดไดม้ ีโอกาสรับทราบผลการดาเนินงานของตนเองและเพ่อื ประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. โปรดเติมเครือ่ งหมาย และกรอกข้อความให้สมบรู ณ์ สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถำม 1. เพศ ชาย หญิง 2. สถานะ นกั ศกึ ษา อาจารย์ บุคลากร ประชาชนทว่ั ไป อน่ื ๆ โปรดระบุ …………………… 3. สงั กัดคณะ/สานัก /สถาบัน /หนว่ ยงาน……………………………………………………………………………………….… 4. วุฒกิ ารศึกษา ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย - 45 ปี - 59 ปี 60 ปขี ้นึ ไป 5. อายุ – 30 ปี ส่วนท่ี 2ควำมพงึ พอใจต่อโครงกำร ระดับ 5 = มากทส่ี ุดหรอื ดมี าก 4 = มากหรือดี 3 = ปานกลางหรือพอใช้ 2 = นอ้ ย หรอื ต่ากว่ามาตรฐาน 1 = น้อยท่สี ุดหรอื ตอ้ งปรับปรงุ แก้ไข รำยละเอียด ระดับควำมพึงพอใจ 5 4321 1.ควำมพงึ พอใจทม่ี ีต่อกำรจดั กจิ กรรม/โครงกำร 1.1 กำรประชำสมั พันธโ์ ครงกำร ฯ 1.2 ควำมเหมำะสมของสถำนท่ี 1.3 ควำมเหมำะสมของระยะเวลำ(จำนวนชั่วโมง,จำนวนวนั ) 1.4 ควำมเหมำะสมของชว่ งเวลำ(08.30 – 19.00 น.,ช่วงเดอื น) 1.5 กำรจัดลำดบั ข้นั ตอนของกิจกรรม 2. เจำ้ หนำ้ ท่ผี ใู้ หบ้ ริกำร/วทิ ยำกร/ผู้ประสำนงำน 2.1 ควำมรอบรู้ ในเน้ือหำของวิทยำกร 2.2 ควำมสำมำรถในกำรถำ่ ยทอดควำมรู้ 2.3 กำรตอบคำถำม 2.4 ควำมเหมำะสมของวทิ ยำกร ในภำพรวม 3. กำรอำนวยควำมสะดวก 3.1 เอกสำร 3.2 โสตทศั นปู กรณ์ 3.3 เจำ้ หนำ้ ท่สี นับสนนุ 3.4 อำหำร,เครอื่ งดมื่ และสถำนที่ 4. คุณภำพกำรให้บริกำร 4.1 ทำ่ นไดร้ ับควำมรู้ แนวคดิ ทักษะและประสบกำรณ์ใหม่ ๆ จำกโครงกำร/กิจกรรมนี้ 4.2 ท่ำนสำมำรถนำสิ่งทีไ่ ด้รบั จำกโครงกำร/กิจกรรมนไ้ี ปใช้ในกำรเรยี น/กำรปฏิบตั ิงำน 4.3 ส่งิ ท่ที ่ำนไดร้ ับจำกโครงกำร/กจิ กรรมคร้ังนีต้ รงตำมควำมคำดหวงั ของทำ่ นหรอื ไม่ 4.4 สัดส่วนระหวำ่ งกำรฝึกอบรมภำคทฤษฎกี บั ภำคปฏบิ ตั ิ (ถ้ำมี) มีควำมเหมำะสม 4.5 ประโยชน์ท่ีท่ำนไดร้ บั จำกโครงกำร/กจิ กรรม
26 ภำคผนวก - ภาพกิจกรรม - โครงการ - คาสัง่ คณะทางาน - แบบประเมนิ โครงการ - หนงั สือเชญิ วิทยากร - แผนการใช้งบประมาณ
27 ภำพกิจกรรม โครงกำรคำ่ ยพฒั นำทักษะชีวติ รทู้ นั ภัยยำเสพตดิ เพื่อสร้ำงภูมคิ มุ้ กันและปลูกจิตสำนึก วนั ท่ี 25-27 เดือน สงิ หำคม พ.ศ. 2564 สถำนท่ี กศน.ตำบลคำม่วง ตำบลคำม่วง อำเภอเขำสวนกวำง จงั หวัดขอนแก่น
28 โครงกำรค่ำยพัฒนำทกั ษะชีวติ รทู้ ันภัยยำเสพติด เพื่อสร้ำงภมู คิ ุ้มกันและปลูกจติ สำนึก วันท่ี 25-27 เดอื น สงิ หำคม พ.ศ. 2564 สถำนท่ี กศน.ตำบลคำมว่ ง ตำบลคำม่วง อำเภอเขำสวนกวำง จงั หวดั ขอนแก่น เวลำ กิจกรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ วนั ที่ 25 สิงหำคม 2564 08.30– 09.00 น. ลงทะเบยี นรายงานตัว คณะครู กศน.อ.เขาสวนกวาง 09.00–09.30 น. พิธีเปิดโครงการ ผอ.กศน.อาเภอเขาสวนกวาง 09.30 - 12.00 น. เรื่องที่ 1. การพัฒนาทักษะชีวติ เิ พอ่ื การสร้างภมู คิ ุ้มกนั ร.ต.อ.นพรัตน์ กรองไตร ยาเสพติด รอง สว.จร.สภ.น้าพอง และคณะ เร่ืองที่ 2. แนวทางการพัฒนาทกั ษะชวี ิตเพ่ือการสร้าง ครูกศน.อ.เขาสวนกวาง ภมู คิ ้มุ กันยาเสพติดในสถานศึกษา (ใหค้ วามรู้ 2 ชว่ั โมง 30 นาท)ี 12.00 – 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน คณะครู 13.00 – 15.00 น. เร่ืองท่ี 3. แนวคดิ การพฒั นาทักษะชีวติ ร.ต.อ.นพรัตน์ กรองไตร เร่ืองที่ 4 ความหมายทักษะชีวิต และองค์ประกอบ รอง สว.จร.สภ.น้าพอง และคณะ การพฒั นาทักษะชีวติ ครูกศน.อ.เขาสวนกวาง เรอ่ื งท่ี 5. การสร้างทกั ษะชวี ติ (ให้ความรู้ 2 ชั่วโมง ) เรื่องที่ 6 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เรอ่ื งที่ 7 ทักษะชวี ิตในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551ของทกั ษะชีวิต 15.15 - 16.00 น. - แลกเปลี่ยนเรียนรู/้ สรปุ ประเด็นประจาวัน คณะครู กศน.อ.เขาสวนกวาง - มอบหมายภารกจิ ประจาวนั หมำยเหตุ - 10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารวา่ งและเคร่ืองด่มื (เช้า) - 15.00 – 15.15 น. รับประทานอาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม (บ่าย) - กาหนดการอาจปรบั เปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
29 โครงกำรค่ำยพัฒนำทกั ษะชีวติ ร้ทู นั ภยั ยำเสพตดิ เพื่อสร้ำงภมู คิ ้มุ กนั และปลูกจิตสำนึก วนั ท่ี 25-27 เดอื น สงิ หำคม พ.ศ. 2564 สถำนที่ กศน.ตำบลคำมว่ ง อำเภอเขำสวนกวำง จังหวัดขอนแกน่ เวลำ กจิ กรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ วนั ท่ี 26 สงิ หำคม 2564 09.00– 09.30 น. ลงทะเบียนรายงานตวั /สง่ งานท่ีมอบหมาย คณะครู กศน.อ.เขาสวนกวาง 09.30–10.30 น. เรือ่ งที่ 1 ความรูเ้ กีย่ วกับยาเสพตดิ ร.ต.อ.นพรตั น์ กรองไตร 1. รจู้ กั ยาเสพติด รอง สว.จร.สภ.นา้ พองและคณะ 2. ร้จู ักประเภทยาเสพติด ครูกศน.อ.เขาสวนกวาง 3. โทษพษิ ภยั และอนั ตรายจากยาเสพติด (ให้ความรู้ 1 ชั่วโมง) 4. ผลกระทบจากปัญหายาเสพตดิ องที่ 5. ทักษะชวี ิตในการป้องกนั ยาเสพตดิ 10.45 – 12.00 น. เร่อื งที่ 2 . การใชย้ าในทางที่ผิด ร.ต.อ.นพรัตน์ กรองไตร 1. ยาเสพตดิ ท่ีแพรร่ ะบาดในปจั จุบัน รอง สว.จร.สภ.น้าพองและคณะ 2. กฎหมายยาเสพติดเบื้องต้น ครกู ศน.อ.เขาสวนกวาง 3. ยาเสพตดิ เพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ (ให้ความรู้ 1 ช่วั โมง 15 นาที) 4. การดูแล บาบดั รักษา ผปู้ ่วยยาเสพติด และการให้โอกาส คืนสู่สงั คม 5. ช่องทางการให้บรกิ ารรักษาผตู้ ดิ ยาเสพ 12.00 – 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน คณะครู 13.00 – 15.00 น. เรื่องท่ี 3. ทักษะชวี ติ เพือ่ การปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ร.ต.อ.นพรัตน์ กรองไตร เรอ่ื งท่ี 4. ทกั ษะการตระหนกั รแู้ ละเห็นคุณคา่ ในตนเอง รอง สว.จร.สภ.น้าพองและคณะ เร่ืองท่ี 5. ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ครูกศน.อ.เขาสวนกวาง เรอ่ื งท่ี 6 ทกั ษะการตดั สนิ ใจ (ให้ความรู้ 2 ชว่ั โมง) เรอ่ื งที่ 7 ทกั ษะการยบั ย้ังช่ังใจ เรื่องท่ี 8 ทักษะการปฏเิ สธ เร่อื งท่ี 9 ทกั ษะการแก้ไขปัญหาในชวี ิต เรอ่ื งที่ 10 ทกั ษะการประเมินตวั เอง เรื่องท่ี 11. ทักษะการวางแผนอนาคต และ กาหนดเป้าหมาย ชีวิต เร่อื งท่ี 12. ทักษะในการส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มในการป้องกัน ยาเสพติด 15.15 - 16.00 น. - แลกเปล่ยี นเรียนรู/้ สรุปประเดน็ ประจาวนั คณะครู กศน.อ.เขาสวนกวาง - มอบหมายภารกิจประจาวัน
30 หมำยเหตุ - 10.30 – 10.45 น. รบั ประทานอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม (เชา้ ) - 15.00 – 15.15 น. รบั ประทานอาหารว่างและเครื่องดืม่ (บ่าย) - กาหนดการอาจปรบั เปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม
31 โครงกำรค่ำยพฒั นำทกั ษะชีวิตรู้ทันภัยยำเสพติด เพ่ือสร้ำงภูมิคมุ้ กันและปลูกจติ สำนกึ วันท่ี 25-27 เดอื น สงิ หำคม พ.ศ. 2564 สถำนที่ กศน.ตำบลคำมว่ ง อำเภอเขำสวนกวำง จังหวัดขอนแกน่ เวลำ กจิ กรรม ผรู้ ับผดิ ชอบ วันที่ 27 สงิ หำคม 2564 คณะครู กศน.อ.เขาสวน กวาง 09.00– ลงทะเบยี นรายงานตัว/ส่งงานทมี่ อบหมาย คณะครู กศน.อ.เขาสวน 09.30 น. กวาง(ให้ความรู้ 1 ช่ัวโมง 30 นาที) 09.30–11.00 เรือ่ งที่ 1 ทักษะการประเมนิ ตัวเอง น. เรอ่ื งที่ 2. ทักษะการวางแผนอนาคต และ กาหนดเป้าหมายชีวติ ผอ.กศน.อาเภอเขาสวน กวาง เรอื่ งท่ี 3. ทกั ษะในการส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ ม ในการป้องกัน ยาเสพติด เรอ่ื งท่ี 4. วิธกี ารป้องกนั ตนเองและเพอ่ื น เรอ่ื งท่ี 5. วิธชี ว่ ยเหลือเพอื่ น ฉดุ ดงึ เพื่อนไปในทางบวก เรือ่ งท่ี 6 วธิ ีหลกี เลย่ี ง การขอความชว่ ยเหลือ และแก้ไขปัญหา เบื้องตน้ 11.00 – - มอบวุฒบิ ัตรผ้จู บหลักสูตร 12.00 น. - พิธีปดิ โครงการ หมำยเหตุ - 10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดืม่ (เชา้ ) - กาหนดการอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: