โครงการสวนสมนุ ไพรเฉลิมม พระเกียรติในวนั แม่แหง่ ชาติ ประจาปี2564 โดย นายภวู ดล วนั ละคา ตำแหน่งครู กศน.ตำบล ศนู ยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยอำเภอเขำสวนกวำง สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั จงั หวัดขอนแก่น
คำนำ กศน.อำเภอเขำสวนกวำง ได้ตระหนักถึงกำรส่งเสริมและกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต จงึ ได้จัดทำโครงกำรสวนสมุนไพรเฉลิมพระเกยี รติในวนั แม่แหง่ ชำติประจำปี2564 เพ่ือเสริมสรำ้ งและสรำ้ ง ภูมคิ ุมกันเบื้องตน้ และทกั ษะด้ำนกำรปอ้ งกันโรคไวรสั โควิด19ให้ประชำชนอำเภอเขำสวนกวำงไดเ้ รียนร้ถู ึง ผลประโยชน์ โทษและคณุ ค่ำของสมุนไพรใกล้ตัว เพ่อื เปน็ กำรใชเ้ วลำวำ่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ร่วมกันในชุมชน และเป็นกำรป้องกนั โรคระบำดไวรัสเบื้องต้นให้ประชำชนในพ้ืนที่ได้ตระหนักถึงกำรป้องกันตัวเอง จงึ ได้จัด โครงกำรสวนสมุนไพรเฉลมิ พระเกยี รตใิ นวันแม่แห่งชำตปิ ระจำปี 2564 ขนึ้ กศน.อำเภอเขำสวนกวำง
สำรบัญ หนำ้ เร่ือง 1 3 บทที่ 1 บทนำ 14 บทท่ี 2 เอกสำรและหลักกำรท่เี กยี่ วข้อง 18 บทที่ 3 วธิ ีกำรดำเนินกำร 23 บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน บทท่ี 5 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน/ข้อเสนอแนะ 25 ภำคผนวก ภำพกจิ กรรม
1 บทที่ 1 บทนำ 1. ชือ่ โครงกำร : โครงกำรสวนสมุนไพรเฉลมิ พระเกยี รติในวันแม่แห่งชำติประจำปี2564 2. สอดคล้องกับยทุ ธศำสตร์ที่ 3 ดำ้ นกำรพฒั นำและเสริมสรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์ ขอ้ 3.2 พัฒนำแหล่งเรียนรู้ให้มบี รรยำกำศและสภำพแวดล้อมท่เี อ้ือต่อกำรเรยี นรู้ หลกั การและเหตุผล เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ แนวทางการดาเนนิ ชวี ติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดรวมถึงการพฒั นาและบริหารประเทศท่ตี งั้ อยู่ บนพื้นฐานของทางสายกลาง โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผลการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีใน ตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการ กระทา และประกอบกับสานักงาน กศน.ได้กาหนดนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพ โดย มุ่งเน้นการจัดการศึกษาเพื่อการพฒั นาท่ียั่งยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชห้ ลกั สตู ร และการจดั กระบวนการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุมสัมมนา การจัด เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ การเรียนทางไกล และ รูปแบบอื่น ๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่ เพื่อปรับปรุงชีวิตความ เป็นอยู่รวมถึงรายได้ของประชาชน ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง บนศักยภาพของชุมชน เพื่อร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปญั หา และร่วมแบ่งปันผลประโยชน์โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ซ่ึงทาให้ กศน.ตาบลได้มี บทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายจุดเน้นการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. ให้กับกลุ่มเป้าหมายตามบริบทของชุมชนและพ้ืนที่ เพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ รวมถึงรายได้ของประชาชน ทาให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง บนศักยภาพของชุมชน เกิดการออม เกิด กองทุนต่างๆ ในหมู่บ้าน มีรายได้เสริม ลดรายจ่าย สามารถพ่ึงพาตนเองได้ เกิดการแบ่งปัน เอื้อเฟ้ือ และเกิดความรักความสามัคคีในชุมชน และมีชุมชนหลายชุมชนได้นาแนวคิดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงชีวิต จงึ ได้จัดทาโครงการการจัดการศึกษาต่อเนื่องกิจกรรมการจัด กระบวนการเรยี นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขนึ้ วัตถุประสงค์ 1) เพ่อื ส่งเสรมิ ให้กลุม่ เป้าหมายได้รจู้ ักกับการใช้สมนุ ไพรในการดาเนนิ ชีวิตประจาวัน 2) เพือ่ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้รจู้ กั ประโยชนแ์ ละโทษของสมนุ ไพรในการรักษาโรคตา่ งๆ 3) เพื่อสง่ เสริมใหป้ ระชาชนเกดิ การเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข
2 บทท่ี 2 เอกสำรและหลกั วิชำกำรท่เี กยี่ วขอ้ ง เอกสารและหลกั วชิ าการทีเ่ กี่ยวขอ้ งในการดาเนนิ โครงการอบรมเรยี นรศู้ าสตร์พระราชาสู่โคก หนองนาโมเดล เปน็ หลกั วชิ าท่ีประมวลจากแนวคดิ และทฤษฎที ่เี กีย่ วข้อง ซ่งึ ไดน้ าเสนอดงั นี้ 1.เทคนคิ การบริหารงานแบบ PDCA 2.งานวิชาการ/บทความทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เทคนิคกำรบรหิ ำรงำนแบบ PDCAA ควำมหมำยของ PDCAA วงจรกำรบริหำรงำนคุณภำพ ประกอบด้วย P = Plan คือ การวางแผนงานจากวัตถุประสงค์ และเป้าหมายท่ีกาหนดขน้ึ D = Do คือ การปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนในแผนงานทไ่ี ด้เขียนไว้อย่างเป็นระบบและมีความ ตอ่ เนอื่ ง C = Check คือ การตรวจสอบผลการดาเนนิ งานที่ไดเ้ ขียนไวอ้ ย่างเปน็ ระบบและมคี วาม ต่อเน่อื ง A = Action คอื การปรบั ปรุงแกไ้ ขสว่ นที่มปี ญั หา หรอื ถา้ ไม่มปี ัญหาใดๆ กย็ อมรบั แนวทาง ปฏิบัตติ ามแผนงานที่ไดผ้ ลสาเร็จเพ่ือนาไปใช้ในการทางานครั้งตอ่ ไป A = Accoutability คือ การนาเสนอผลการประเมนิ ติอผเู้ กยี่ วขอ้ ง/แลกเปลีย่ นละให้ข้อมูล ปอ้ นกลับ การเผยแพร่ เม่อื ได้วางแผนงาน (P) นาไปปฏบิ ัติ (D) ระหวา่ งปฏิบัตงิ านกไ็ ด้ดาเนนิ การตรวจสอบ (C) พบ ปัญหากด็ าเนนิ การแก้ไขและปรับปรงุ (A) การเผยแพร่ข้องมูล (A) การปรับปรุงกเ็ ริม่ จากการวางแผน กอ่ นวนไปได้เรื่อยๆ จึงเรียกวงจร PDCAA ประโยชนข์ อง PDCAA 1. การวางแผนงานก่อนการปฏิบัตงิ านจะทาให้เกิดความพร้อม เมื่อไดป้ ฏิบัติงานจริงการ วางแผนงานควรวางใหค้ รบทั้ง 4 ขน้ั ตอน ดงั น้ี -ขัน้ การศึกษา คือ การวางแผนศกึ ษาขอ้ มูล วธิ ีการต้องการของตลาด ขอ้ มูลด้านวัตถดุ ิบ ด้านทรัพยากรทม่ี ีอยูห่ รอื เงินทุน - ขนั้ เตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานดา้ นสถานท่ี การออกแบบลิตภณั ฑ์ ความ พรอ้ มของพนักงาน อุปกรณ์เครือ่ งจักร วัตถดุ บิ - ขนั้ ดาเนนิ งาน คือ กานวางแนวทางการปฏบิ ัตงิ านของแต่ละส่วน แตล่ ะฝ่าย เชน่ ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย - ขั้นการประเมินผล คอื การวางแผนหรือเตรียมการประเมนิ ผลอย่างเปน็ ระบบ เช่นการ ประเมนิ จากยอดการจาหน่าย ประเมนิ การติชมของลูกค้า เพ่ือให้ท่ไี ด้จากการประเมนิ การเทีย่ งตรง 2. การปฏบิ ัตติ ามแผนงาน ทาให้ทราบขน้ั ตอน วธิ ีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหนา้ หรอื ทราบอปุ สรรคลว่ งหน้าด้วย ดังนัน้ การปฏิบัติงานกจ็ ะเกิดความราบรื่น และเรียบรอ้ ย นาไปสู่ เปา้ หมายที่ไดก้ าหนดไว้
3 3. การตรวจสอบ ใหไ้ ด้ผลทเี่ ทย่ี งตรงเชอื่ ถือได้ ประกอบด้วย - ตรวจสอบจากเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ - มีเครอื่ งมือทีเ่ ชื่อถือได้ - มีเกณฑ์การตรวจสอบทชี่ ดั เจน - มกี าหนดเวลาการตรวจท่แี น่นอน - บคุ ลากรทที่ าการตรวจสอบตอ้ งไดร้ ับการยอมรบั จากทุกหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง เมื่อ การตรวจสอบไดร้ บั กายอมรับ การปฏบิ ตั งิ านข้ันต่อไปกด็ าเนินต่อไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพรอ่ งท่ีเกิดขึน้ ไมว่ าจะเป็นข้ันตอนใดก็ตาม เม่ือมีการปรับปรุง แกไ้ ขคุณภาพกจ็ ะเกิดข้นึ ดังนัน้ วงจร PDCAA จงึ เรยี กว่า วงจรบรหิ ารงานคณุ ภาพ โคกหนองนำโมเดลตำมแนวทำงพระรำชดำริ : ควำมทำ้ ทำยทุนนิยม บทควำมพิเศษ / ทีมงำนหญ้ำแห้งปำกคอก(ทอ้ งถิ่น) ท่ามกลางกระแสทุนนยิ มเสรี (Capitalism) ทถี่ ่งั โถม และสภาพเศรษฐกิจสงั คมที่ GDP ดง่ิ ติดลบ รัฐไทยจะต้องปรับนโยบายใดบ้าง เพ่ือใหโ้ ครงการตามพระราชดารนิ ้ีดารงคงอยู่ท่ามกลางความ พอดีพอเพยี ง (Sufficiency) ในทนุ นยิ มโลก ทค่ี ่อนขา้ งจะย้อนแย้งในตวั เองในหลายประการ ไม่วา่ จะ มองในมติ ใิ ด เพราะ กระแสสังคมโลกโซเชียล (Social Network) ท่ีสงั คม และผู้คนตอ้ งปรับตวั และ ตามมันใหท้ ัน ความท้าทาย เศรษฐกิจเอื้อทุนใหญ่ สงั คมปลาใหญ่กินปลาเล็ก รัฐสวัสดกิ ารยังห่างไกล ความเหลอื่ ม ล้าทางสงั คมมที ุกมติ ิ สงั คมเป็นสังคมผู้สงู วัยสมบูรณ์แลว้ รฐั ใช้ \"ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี\" นาทางการ พฒั นาทน่ี ่าจะไม่สอดคล้องกับ \"โลกาภิวัตน์\" (Globalization) และ \"ระเบยี บการจดั โลกใหม่\" (New World Orders) โดยเฉพาะกระแสความเปลีย่ นแปลงโซเชียลที่ผันผวน (Disruptive) มาก ทต่ี อ้ งมี การปรบั ตวั เปลีย่ นแปลงสูงมาก ชาวนาน้าตาตก ขา้ วไม่ไดร้ บั การประกัน เพราะรฐั ไมม่ ีตังค์ แตร่ ฐั จะให้ชาวนาทาโครงการโคก หนองนา เพราะข้าวนาปีของชาวนาท่เี กบ็ เก่ยี ว แต่ไมม่ รี าคา เพราะขา้ วเกวยี นละ 6 พันบาท แต่ ต้นทุนชาวนามี 6.5 พนั บาท (ชาวนาขาดทนุ ) รัฐมีปัญหาทาโครงการจานาขา้ ว เพราะรฐั บาลน้ไี ม่ทา เพราะขาดงบประมาณ อยา่ งไรก็ตาม ควรศึกษาแนวคดิ วธิ ีการในโครงการน้ี เปน็ นวตั กรรม Slow life เช่นสาหรบั คนเกษียณ และ เปน็ New Normal ตอ่ ไป ควำมหมำยและท่มี ำโครงกำรโคกหนองนำ แนวคดิ การจดั การน้า \"โคก หนอง นา โมเดล\" น้ี เป็นการทาเกษตรในพ้ืนที่ขนาดจากัด หรือ ขนาดเลก็ เปน็ การกักเกบ็ นา้ ไวท้ งั้ บนดนิ (ดว้ ยหนอง คลองไสไ้ ก่ และคนั นา) และใต้ดนิ (ด้วยป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง) ตามแนวพระราชดาริของในหลวง ร.9 โดยเฉพาะในพ้ืนทจ่ี ากัด อยา่ งนอ้ ย เพยี ง 3 ไร่ หรอื แลว้ แต่ขนาดของทดี่ ินตามสภาพความเหมาะสมก็ได้ เมื่อปี 2561 มีแบบมาตรฐาน โคก หนอง นา โมเดล จานวนประมาณ 40 แบบให้กรมพัฒนาท่ดี นิ ไว้แจกจ่ายประชาชน ท้งั 40 แบบ เป็นโมเดลตน้ แบบสาหรบั ที่ดินขนาดแบบ 3 ไร่ 5 ไร่ หรอื 10-15 ไร่ ทเ่ี ปน็ โมเดลพ้นื ที่ขนาดเลก็
4 ตวั อยา่ งของผลสัมฤทธิ์คือ การทานาขน้ั บันได บ้านห้วยกระทงิ อ.แมร่ ะมาด จ.ตาก (มลู นิธกิ สกิ รรม ธรรมชาติ) มอี งค์ประกอบดังน้ี (1) โคก - ดนิ ทีข่ ดุ ทาหนองนา้ นัน้ ให้นามาทาโคก บนโคกปลูก “ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตาม แนวทางพระราชดาริ - ปลกู พืช ผกั สวนครัว เลย้ี งหมู เลยี้ งไก่ เลย้ี งปลา ทาใหพ้ ออยู่ พอกิน พอใช้ พอรม่ เยน็ เป็น เศรษฐกจิ พอเพียงขนั้ พ้ืนฐาน กอ่ นเข้าส่ขู ัน้ กา้ วหน้า คือ ทาบญุ ทาทาน เก็บรักษา คา้ ขาย และ เช่ือมโยงเป็นเครือข่าย - ปลกู ท่ีอยู่อาศยั ให้สอดคล้องกบั สภาพภมู ิประเทศ และภูมอิ ากาศ (2) หนอง - ขดุ หนองเพ่ือกักเก็บน้าไว้ใชย้ ามหนา้ แล้งหรือจาเป็น และเป็นที่รบั น้ายามนา้ ท่วม (หลมุ ขนมครก) - ขดุ “คลองไสไ้ ก่” หรอื คลองระบายนา้ รอบพ้นื ท่ีตามภมู ิปญั ญาชาวบา้ น โดยขุดใหค้ ดเคยี้ ว ไปตามพ้นื ที่เพื่อให้น้ากระจายเต็มพ้นื ท่ีเพิม่ ความชุม่ ชื้น ลดพลงั งานในการรดน้าตน้ ไม้ - ทา ฝายทดน้า เพ่ือเกบ็ นา้ เข้าไวใ้ นพื้นท่ีใหม้ ากทีส่ ุด โดยเฉพาะเม่ือพื้นทีโ่ ดยรอบไม่มีการกัก เก็บน้า นา้ จะหลากลงมายังหนองน้า และคลองไสไ้ ก่ ใหท้ าฝายทดนา้ เกบ็ ไว้ใชย้ ามหน้าแลง้ - พฒั นาแหลง่ น้าในพ้ืนท่ี ทัง้ การขุดลอก หนอง คูคลอง เพื่อกักเกบ็ น้าไวใ้ ชย้ ามหนา้ แล้ง และ เพิม่ การระบายนา้ ยามนา้ หลาก (3) นำ - พ้ืนท่นี านนั้ ให้ปลูกข้าวอินทรียพ์ ้ืนบ้าน โดยเริม่ จากการฟ้ืนฟดู นิ ดว้ ยการทาเกษตร อนิ ทรยี ์ยงั่ ยนื คืนชีวติ เลก็ ๆ หรือจลุ ินทรียก์ ลับคืนแผน่ ดนิ ใชก้ ารควบคมุ ปริมาณน้าในนาเพ่อื คมุ หญ้า ทาให้ปลอดสารเคมีได้ ปลอดภยั ท้ังคนปลกู คนกนิ - ยกคนั นาให้มคี วามสงู และกว้าง เพ่ือใช้เป็นทรี่ ับน้ายามน้าท่วม ปลกู พืชอาหารตามคนั นา โดยความร่วมมอื ของมลู นธิ ิกสิกรรมธรรมชาติและคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั พระจอม เกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั จงึ ไดม้ ีการออกแบบพ้ืนทีก่ สิกรรมโดยอาศยั “โคก หนอง นา โมเดล” เปน็ แนวคดิ หลกั ในการจัดการพื้นท่ี ในบรเิ วณพน้ื ท่ีลมุ่ นา้ ป่าสกั แหล่งน้าขนาดใหญท่ สี่ าคัญท่สี ดุ ของ เมอื งไทย จุดแขง็ เปน็ การตอ่ ยอดโครงการตามแนวพระราชดาริ \"เศรษฐกิจพอเพียง\" ตามทฤษฎใี หมท่ ี่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลท่ี 9 ได้ทรงดาริและดาเนินการโครงการพระราชดาริมานานแลว้ รวมส่ีพันกวา่ โครงการ
5 แนวคิด \"โคก หนอง นา โมเดล\" เดินตามศาสตร์ของพระราชา เพอ่ื การทาเกษตรแนวใหม่ ที่ ยดึ หลักของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นหลกั โครงการน้ใี ชเ้ งนิ ของมลู นธิ ิชัยพฒั นาสว่ นหนงึ่ ใชเ้ งินของ ราชการสว่ นหน่งึ โดยวิธขี ุดบอ่ น้า เพื่อใช้น้านัน้ มาทาการเพาะปลูก ตาม “เกษตรทฤษฎีใหม่” ตาม พระราชดารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถ บพติ ร ทีไ่ ด้พระราชทานแก่บุคคลต่างๆ ท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเนอื่ งในโอกาสวนั เฉลิมพระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจติ รลดาฯ พระราชวังดสุ ิต วนั อาทติ ย์ที่ 4 ธันวาคม 2537 ทฤษฎีใหม่ \"... หลกั มีวา่ แบ่งที่ดนิ เปน็ สามส่วน ส่วนหนงึ่ เป็นทสี่ าหรับปลูกข้าว อีกส่วนหน่งึ สาหรับ ปลูกพชื ไร่ พืชสวน และกม็ ีท่ีสาหรับขุดสระนา้ ... ทฤษฎใี หม่น่จี ะขยายข้ึนไปได้ อาจจะท่ัวประเทศ แต่ ตอ้ งชา้ ๆ เพราะวา่ ตอ้ งสน้ิ เปลือง ส้ินเปลอื งค่าใช้จา่ ยไม่ใช่น้อย ๆ แตว่ า่ ค่อย ๆ ทา และเมอ่ื ทาแลว้ ก็ นกึ ว่าเปน็ วิธกี ารอยา่ งหน่ึงท่ีจะทาให้ประชาชนมีกินแบบตามอัตภาพ คืออาจไม่รวยมาก แต่ก็พอกนิ ไมอ่ ดอยาก...\" “หลักทฤษฎใี หม\"่ ปรบั สูตรพระราชทานใหม่เป็น 30 30 30 และ 10 % คือ สดั ส่วนการใช้ ประโยชนท์ ี่ดิน 4 ส่วน เพื่อ การเพาะปลกู เป็นแหลง่ นา้ เป็นทนี่ า และ เปน็ ที่อยอู่ าศยั ซ่งึ วดั มงคลชยั พฒั นา ตาบลห้วยบง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวดั สระบุรี จัดสร้างศูนย์สาธติ “โคก หนอง นา โมเดล” สบื สานศาสตร์พระราชา เริม่ จากซอ้ื ที่ดิน 10 ไร่ และเจ้าของท่ีดินไดถ้ วาย เพมิ่ อีก 2 ไร่ รวมเป็น 12 ไร่ ดาเนนิ การมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2555 ทิฏฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ หมายถึง ประโยชน์ในปจั จุบัน 4 อย่าง ได้แก่ (1) อฏุ ฐานสัมปทา คอื การถึงพร้อมด้วยความหมนั่ (2) อารักขสมั ปทา คือ การถึงพรอ้ มดว้ ยการรักษาโภคทรัพย์ (3) กัลยาณ มิตตตา คือ การมีกลั ยาณมติ รทดี่ ี และ 4) สมชีวิตา หมายถึง การอยู่อยา่ งพอเพยี ง “ไม้ 3 อยำ่ ง ประโยชน์ 4 อย่ำง” ไม้ 3 อย่าง ได้แก่ (1) ไม้ใชส้ อย คือ ไมโ้ ตเร็ว สาหรับใชใ้ นครัวเรือน เช่น สะเดา , ไผ่ (2) ไม้ กินได้ เชน่ มะมว่ ง ผกั กนิ ใบต่างๆ และ (3) ไมเ้ ศรษฐกิจ ได้แก่ ไม้ทปี่ ลกู เพอ่ื จาหน่าย เชน่ ไม้สกั เปน็ ตน้ สว่ นประโยชน์ 4 อยา่ ง คือ (1) ไม้ใชส้ อย นามาสรา้ งบ้าน ทาเลา้ เป็ด เล้าไก่ ฟนื (2) ไม้กินได้ นามา เป็นอาหารและยาสมนุ ไพร (3) ไม้เศรษฐกจิ นาไปจาหนา่ ยเพ่อื สรา้ งรายได้ และ (4) ช่วยอนรุ ักษ์ดนิ และน้า ซ่ึงการปลูกพชื ทหี่ ลากหลาย จะสร้างระบบนิเวศท่ีสมดุลใหก้ บั พนื้ ท่ี
6 จุดอ่อน โครงการนี้ เพิ่งเร่ิมโหมโรงเป็นแนวคิดเพื่อผลสาเร็จในทางปฏิบัตใิ นปนี ้ี (2563) โดยโครงการ \"พลังคนสร้างสรรค์โลก รวมพลงั ตามรอยพอ่ ของแผน่ ดิน\" เดนิ หน้าสปู่ ที ่ี 8 (2555) ภายใต้แนวคดิ \"สู้ ทกุ วิกฤต รอดพอดีด้วยศาสตร์พระราชา\" เพ่ือสรา้ งแรงบันดาลใจให้คนรุ่นต่อ ๆ ไปอย่างตอ่ เนือ่ ง พร้อมวางมาตรการความปลอดภยั ในการจดั กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับภาวะปกติใหม่ (New Normal) ในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและเศรษฐกิจพอเพยี ง เชน่ โคก หนอง นาโมเดล บทบำทกรมกำรพัฒนำชุมชนในกำรขับเคลอื่ นโครงกำร โครงการโคกหนองนา เพ่อื รองรบั กลุ่มนักโทษเด็ดขาดทีค่ าดวา่ จะได้รบั พระราชทานอภัยโทษ ตาม พระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภยั โทษ พ.ศ. 2563 และจะพ้นโทษในปี 2563 จานวน 39,084 ราย ในเรือนจา 137 แหง่ ตามหนังสอื กรมการพฒั นาชมุ ชน ด่วนทส่ี ดุ ท่ี มท 0409.2/ว 2251 ลงวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 เรอื่ ง การประสานความรว่ มมือโครงการ “โคกหนองนาแห่งนา้ ใจและความหวัง กรม ราชทัณฑ”์ และ MOU บันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือระหวา่ งกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยตุ ธิ รรม วันศุกร์ ท่ี 11 กันยายน 2563 ระหว่าง กรมการพฒั นาชมุ ชน กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน กรมการจัดหางาน กรมการปกครอง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ กรมทด่ี ิน และ กรมความร่วมมอื ระหว่างประเทศ ตามแผนบรู ณาการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผ้พู ้นโทษทผี่ ่านการอบรม โครงการพระราชทานใน พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยู่หวั \"โคกหนองนาแห่งน้าใจและความหวงั กรมราชทัณฑ์\" วตั ถุประสงค์เพ่ือ (1) สนับสนนุ ใหผ้ ู้พน้ โทษได้นาความรู้ที่ใช้ในการอบรมไปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชีพ ภายหลังการพน้ โทษ (2) สนบั สนนุ ใหผ้ พู้ น้ โทษ เขา้ ถงึ ภารกิจขั้นพนื้ ฐานของรัฐ หรือบริการสาธารณะ นอกจากน้ียงั มเี ป้าหมายเพม่ิ คือ กลุ่มเปา้ หมาย : เกษตรกร บัณฑติ จบใหม่ ผวู้ ่างงาน กลุ่มแรงงานท่ีอพยพกลับท้องถ่ินและชมุ ชนที่ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ ในช่วงวกิ ฤตกิ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) จานวน 9,188 คน แยกการจ้างงานเป็น ดงั น้ี (1) จา้ งงานในพ้นื ที่เรียนรูช้ ุมชนตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for quality of Life : [CLM) ระดับตาบล จานวน 337 ตาบล ๆ ละ 10 คน รวม 3,370 คน (2) จา้ งงานในพ้ืนทค่ี รัวเรอื นตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of Life : HLM) ระดับครัวเรอื น จานวน 2,909 ตาบล ๆ ละ 2 คน รวม 5,818 คน งบประมาณ : 992,304,000 บาท สรุป โครงการโคก หนอง นา โมเดล เปน็ การสรา้ ง ความม่ันคง ในแหลง่ ทากนิ ด้าน การเกษตร เลีย้ งสตั ว์ สู้กับภยั แลง้ ดินขาดความอุดมสมบรู ณ์ ใหห้ ันกลับมา อดุ มสมบูรณ์ โดย ปรับปรงุ พ้นื ทร่ี องรับ ฝนธรรมชาติ และการเชือ่ มโยงวงจรชีวิต พืช สัตว์ ใหเ้ ดินทางร่วมกันได้
7 งำนวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง อรุนา ตาเดอิน (2555) ได้สรุปผลจากรายงานการประเมินโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงของนกั เรียน โรงเรยี นบ้านปลักหว้า สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสตูล การประเมินครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินผลโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปลักหว้า สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล โดยการประเมิน โครงการคร้ังนี้ ไดใ้ ช้การประเมินรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) ของสตัปเฟิลบมี คอื การประเมินบรบิ ท ของโครงการ ประเมนิ ปัจจยั นาเขา้ ของโครงการ ประเมนิ กระบวนการของโครงการ และประเมนิ ผล ผลิตของโครงการ ประชากรท่ีใช้ในการประเมินคร้ังนี้ จานวน 78 คน ประกอบดว้ ย ครู จานวน 5 คน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวน 7 คน ผู้ปกครอง จานวน 33 คน และนักเรียน จานวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ คือ แบบสอบถามประเภทมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) ใช้แบบสอบถาม จานวน 6 ฉบับ ประกอบด้วย ด้านบริบท จานวน 1 ฉบับ ด้านปัจจัยนาเข้า จานวน 1 ฉบับ ด้านกระบวนการ จานวน 1 ฉบับ และด้านผลผลิตของ โครงการ จานวน 3 ฉบบั สถิตทิ ่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน การประเมนิ ผลโครงการสง่ เสริมการเรียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง พบวา่ 1. ผลการประเมินด้านบริบทของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปลักหว้า สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสตูล พบว่า โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนดไว้ โดยรายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คอื หลักการวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกัน 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยนาเข้าของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปลักหว้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมินท่กี าหนดไว้ โดยรายการท่ีมีคา่ เฉลี่ยสูงสุด คือ คณะกรรมการบริหารโครงการเพยี งพอ 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปลักหว้า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ โดยรายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ จัดทาปฏทิ นิ การปฏิบัติงานแตล่ ะกจิ กรรมไวอ้ ย่างชดั เจน 4. ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ นกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นปลกั หวา้ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสตูล เมอ่ื พิจารณาประเด็น การประเมินและรายการ พบว่า
8 4.1 การประเมินผลสาเร็จของโครงการ ผลการประเมิน พบวา่ อยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ผลการ ประเมินผา่ นเกณฑ์การประเมินทกี่ าหนดไว้ โดยรายการท่ีมีคา่ มีคา่ เฉลยี่ สูงสุด คือ มีกิจกรรมตาม โครงการทาให้นักเรียนมีความรับผดิ ชอบ และนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 4.2 การประเมินผลความพึงพอใจของครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ ผปู้ กครอง ผลการประเมิน พบวา่ อยูใ่ นระดับมาก ผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนดไว้ โดยรายการท่ีมคี า่ มีคา่ เฉล่ียสูงสดุ คอื กจิ กรรมของโครงการฝกึ ใหน้ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้โดยการปฏิบตั จิ รงิ 4.3 การประเมินผลความพึงพอใจของนกั เรียน ผลการประเมิน พบวา่ อยู่ในระดับมาก ที่สุด ผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนดไว้ โดยรายการท่ีมีค่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมให้นกั เรียนทมี่ ีความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ฤทัยรัตน์ สุ่มเข็มทอง (2554) รายงานการประเมินโครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 โดยการ ประเมินครั้งน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือ 1) ประเมินด้านสภาพแวดล้อม โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสสู่ ถานศกึ ษาและชุมชนของ โรงเรยี นหันคาพทิ ยาคมปีการศกึ ษา 2554 2) ประเมิน ด้านปัจจัย โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของ โรงเรยี นหันคาพทิ ยาคม ปีการศึกษา 2554 3) ประเมินด้านกระบวนการดาเนินงานโครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอ เพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 และ 4) ประเมินด้านผลผลติ โครงการขับเคล่อื นหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงส่สู ถานศึกษาและชมุ ชน ของโรงเรยี นหนั คาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554ในประเด็นต่อไปนี้คือ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ประเมิน ความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษาและชุมชน ของโรงเรยี นหันคาพทิ ยาคม ปกี ารศึกษา 2554 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในเรื่องเกี่ยวกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียน ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสสู่ ถาน ศึกษาและชมุ ชนของโรงเรียนหนั คาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 โดยใชร้ ูปแบบ การ ประเมินแบบซิปป์ (CIPP Model) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการประเมินคร้ังนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ปฏิบัติหน้าท่ีในปีการศึกษา 2554 จานวน 64 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 โรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 จานวน 313 คน ผ้ปู กครองนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 - 6 โรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศกึ ษา 2554 จานวน 313 คนและกรรมการสถานศกึ ษาโรงเรยี นหัน คาพทิ ยาคม จานวน 14 คน เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการประเมินได้แก่ 1) แบบสอบถามการประเมนิ โครงการ
9 ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปี การศึกษา 2554 จานวน 4 ฉบับ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธ์นิ ักเรียน เรื่อง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 6 โรงเรียนหนั คา พิทยาคม ปกี ารศกึ ษา 2554 จานวน 10 ข้อ สถิติ ที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และ สถติ ทิ ดสอบที (t-test) ผลการประเมินพบว่า 1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อม โครงการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่ สถานศึกษาและชุมชนของ โรงเรียนหันคาพิทยาคมปีการศึกษา 2554 พบวา่ มีความสอดคล้องอยู่ใน ระดบั มากที่สุด โดยมคี ่าเฉลี่ย (Mean) เท่ากบั 4.61 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.55 2. ผลการประเมินด้านปจั จัย โครงการขบั เคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ สถานศกึ ษาและชุมชนของโรงเรียนหนั คาพทิ ยาคม ปีการศึกษา 2554 พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มากทส่ี ุด โดยมคี า่ เฉลย่ี (Mean) เท่ากบั 4.62 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 0.55 3. ผลการประเมนิ ด้านกระบวนการดาเนนิ งานโครงการขับเคลอื่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งสสู่ ถานศึกษาและชมุ ชนของโรงเรียนหันคาพทิ ยาคม ปีการศึกษา 2554 พบว่า มีการปฏิบัติ อยใู่ นระดับมากที่สดุ โดยมคี า่ เฉลย่ี (Mean) เทา่ กบั 4.62 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.57 4. ผลการประเมินด้านผลผลติ โครงการขับเคล่อื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ สถานศกึ ษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 ปรากฏผลดงั น้ี 4.1 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรยี น พบวา่ มีการปฏิบตั ิอย่ใู น ระดบั มากทสี่ ดุ โดยมีคา่ เฉล่ยี (Mean) เท่ากับ 4.62 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 0.56 4.2 ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอ เพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 พบว่ามีความพึง พอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด โดยมีค่าเฉลี่ย (Mean) เทา่ กับ 4.63 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.55 4.3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในเรื่องเกี่ยวกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนของโรงเรียนหันคาพิทยาคม ปีการศึกษา 2554 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในเรื่องเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักเรียนหลังเข้าร่วมโครงการสูง กว่ากอ่ นเขา้ รว่ มโครงการอย่างมีนยั สาคญั ทาง สถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05
10 ดร.จักษวชั ร ศิริวรรณ (2550) กลา่ วโดยสรุป ตัวแบบซิป (CIPP Model) ให้ความสาคัญกับ องค์ประกอบ 4 ประการ ได้แก่ 1) บริบท (Context) 2) ปัจจัยนาเข้า (Input) 3) กระบวนการ (Process) และ 4) ผลผลิต (Product) ซึง่ ในแต่ละองค์ประกอบนั้น มมี ติ ิในการพิจารณาสาหรบั การ ประเมนิ ดังน้ี (1) การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation) เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมและ ปัจจยั พ้นื ฐานของโครงการ อันไดแ้ ก่ นโยบาย วสิ ัยทศั น์ ปญั หา แหล่งทุน สภาพความผันผวนทางดา้ น สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ตลอดจนแนวโน้มการก่อตัวของปัญหาท่ีอาจจะเป็นอุปสรรคต่อการ ดาเนินโครงการ เปน็ ต้น (2) การประเมินปัจจยั นาเข้า (Input Evaluation) ซึ่งจาแนกเป็นบุคลากร สิ่งอานวยความ สะดวก เครื่องมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ขีดความสามารถทางการบริหารงาน ซ่ึงแต่ละปัจจัยก็ยังจาแนก ยอ่ ยออกไปอีก เช่น บุคลากร อาจพิจารณาถึง เพศ อายุ สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ ความพึง พอใจ ความคาดหวัง ทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ศักยภาพ ประสบการณ์ วุฒิการศึกษา ถ่ินที่อยู่ และลกั ษณะของกลุ่มทางสงั คม เปน็ ตน้ (3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการศึกษาการดาเนินการตาม ยทุ ธวิธีหรอื แผนงานนั้นวา่ เป็นไปตามข้ันตอนท่ีได้ถกู กาหนดไว้หรือไม่ อยา่ งไร อีกทั้งยังเป็นการศกึ ษา ค้นหาขอ้ บกพร่องจุดออ่ นหรือจดุ แข็งของกระบวนการบริหารจัดการโครงการโดยพิจารณาจุดเน้นที่ว่า กระบวนการของโครงการจะทาให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีได้ถูกกาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ มากน้อยเพียงใด (4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เป็นการตรวจสอบประสิทธิผลของ โครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ที่ได้ถูกาหนดไว้กับผลผลิตท่ีได้ออกมา จากนั้นจึงนาเกณฑ์การวัดผลท่ีได้กาหนดไว้ไปใช้ตัดสิน อน่ึง เกณฑ์การวัดผลท่ีได้กาหนดไว้ดังกล่าว นั้น อาจเป็นเกณฑ์มาตรฐานที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นได้กาหนดไว้ หรืออาจเป็นเกณฑ์การวัดผลท่ี กาหนดข้ึนเองก็ได้ นอกจากจะทาการประเมินโครงการโดยพิจารณาองค์ประกอบท้ัง 4 ประการดังกล่าวแล้ว ยังมีความ จาเป็นท่ีจะต้องนาแนวพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นหลักคิดในการประเมิน โครงการอีกด้วย โดยนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปทาการประเมินโครงการในทุก ๆ องค์ประกอบ และในทุก ๆ มติ ิที่ทาการประเมินโครงการตามตัวแบบซิป (CIPP Model) ดังที่ไดก้ ล่าว ไปแล้ว ท้ังน้ีหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ันประกอบด้วย หลัก 3 ห่วง 2 เง่ือนไข โดยหลัก 3 ห่วงนนั้ ประกอบด้วย 1) ความพอประมาณ 2) ความมีเหตุ-มีผล และ 3) การมีภมู ิคมุ้ กันท่ีดี ส่วน 2 เงื่อนไขนั้น ประกอบด้วย 1) เง่ือนไขความรู้ และ 2) เงื่อนไขคุณธรรม ซ่ึงจะสามารถทาความ เข้าใจไดง้ ่ายขึน้
11 ผู้ประเมินพบว่าการประโมนโครงการได้นาหลักการประเมินแบบ CIPP Model มาใช้อย่าง กว้างขวางและได้พัฒนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับการประเมินบางงานวิจัยโดยนา หลัก 3 หว่ ง 2 เง่อื นไขดังกล่าว มาใช้สาหรบั การประเมินโครงการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ไว้ดังน้ีคือ 1) ความพอประมาณ หมายถึง งบประมาณของรัฐที่หน่วยงานภาครัฐกิจต่าง ๆ ได้รับการ จัดสรรให้ไปใช้จ่ายในการบริหารจัดการ จะต้องไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป พอเหมาะพอสมกับการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งอยู่ในเง่ือนไข “ความรู้” และ เงื่อนไข “คุณธรรม” ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) ความมีเหตุ-มีผล หมายถึง ได้รับจัดสรรงบประมาณของรัฐที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความ สมเหตุสมผล ใช้จ่ายในส่ิงท่ีสมควร และไม่ใช้จ่ายในส่ิงท่ีไม่สมควร ซึ่งอยู่ในเงื่อนไข “ความรู้” ตาม หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อกี ท้ังยังตอ้ งต้ังอยู่บนความซือ่ สัตยส์ ุจริต ซ่ึงอยู่ในเงื่อนไข “คุณธรรม” ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกด้วย เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดให้เกิดแก่ส่วนรวม และ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณของรัฐไปเพื่อการเตรียมความพร้อม การ ป้องกัน และการบรรเทาปัญหา ที่จะเกิดข้ึนหรืออาจ จะเกิดขึ้นในอนาคต ซ่ึงผู้บริหารภาครัฐกิจแล เหน็ ได้ดว้ ยวิสัยทัศน์ ทีก่ ว้างไกล ลกึ ซึ้ง และรอบคอบ โดยได้สรุปการประเมินโครงการมีความสาคัญเปน็ อย่างมาก เพราะจะทาให้หน่วยงานภาครัฐ กิจ ได้เห็นภาพสะท้อนของตนเองในการดาเนินโครงการต่าง ๆ ในทุก ๆ ห้วงเวลา ซึ่งจะส่งผลต่อการ ปรับปรุงพัฒนาการดาเนินโครงการท่ีกาลังดาเนินอยู่ หรือโครงการท่ีจะดาเนินการต่อไป ให้สามารถ บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของการบริหารจัดการ บ้านเมืองที่ดี หรือธรรมาภิบาล (Good Governance) อีกท้ังยังเป็นการดาเนินโครงการที่ต้ังอยู่บน หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื ผลของการพัฒนาประเทศท่ยี ัง่ ยืน
12 บทท่ี 3 วธิ ีกำรประเมินโครงกำร รปู แบบกำรประเมนิ โครงกำร การประเมนิ โครงการสวนสมุนไพรเฉลิมพระเกียรติในวนั แมแ่ หง่ ชาตปิ ระจาปี2564 ใช้ รูปแบบการประเมินโครงการ CIPP MODEL ของสตัฟเฟิลบีม ( D.L. Stufflebeam, 1997 , P. 261- 265 ) ดงั น้ี ประเมนิ สภาวะแวดล้อม หลักการ ( Context Evaluation ) วัตถุประสงคข์ องโครงการ เป้าหมายของโครงการ การเตรียมการภายในโครงการ ประเมินปจั จัยเบ้ืองตน้ บคุ ลากร ( Input Evaluation ) วสั ดุอปุ กรณ์ เคร่ืองมือเคร่อื งใช้ ประเมินกระบวนการ งบประมาณ ( Process Evaluation ) การดาเนินโครงการ การประเมินผลผลติ กิจกรรมการดาเนินงานตาม ( Product Evaluation ) โครงการ การนิเทศตติ ามกากับ การประเมนิ ผล ผลการดาเนนิ โครงการ คุณภาพผเู้ รียน/ผู้รับบริการ
13 วธิ ีกำรประเมนิ โครงกำร ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากร : ประชากรทีใ่ ช้ในการศึกษาครงั้ น้ี คือ ประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง กลมุ่ ตัวอยา่ ง : กลมุ่ ตัวอย่างที่ใชป้ ระเมนิ ครงั้ น้ี ได้จาก ประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง ทีเ่ ข้ารว่ ม จานวน 80 คน โดยใช้ รปู แบบและเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นกำรดำเนนิ งำน เคร่ืองมือในการประเมินผลความพงึ พอใจนี้ เปน็ แบบสอบถามความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมตอ่ การ จดั กิจกรรมโครงการสง่ เสริมการทาบัญชีครวั เรือน เป็นการรายงานผลตามแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ รว่ ม กจิ กรรม ต่อการจดั กิจกรรมโครงการพฒั นาทกั ษะชีวติ เร่อื ง เข้าใจ เรยี นรู้ เร่ือง โครงการ กศน.อาเภอเขาสวนกวาง เมอ่ื การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรจ็ สิ้นแลว้ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ ซง่ึ เป็นแบบประเมินผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) 5 ระดับ คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย และปรับปรงุ โครงสร้างแบบสอบถามมี 3 สว่ น ดังนี้ ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป มี 4 ขอ้ สว่ นท่ี 2 ความคดิ เห็น/ความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม มี 14 ข้อ ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ เกณฑก์ ำรประเมนิ มีดังนี้ 4.50 - 5.00 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด 3.50 - 4.49 หมายถึง ผลความพงึ พอใจระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดบั น้อยท่ีสดุ ควรปรับปรงุ วธิ ีกำรสรำ้ งและพัฒนำเคร่ืองมือ ผปู้ ระเมินได้สร้างและพฒั นาเครื่องมือท่ีใช้ในการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2. กาหนดแผนงานและโครงการ 3. กาหนดกจิ กรรมหรอื งานที่ปฏิบตั ิในแต่ละข้ันตอน 4. เขียนแบบประเมินความพึงพอใจฉบับร่าง โดยให้มีข้อถามหรือข้อความครอบคลุม เนอื้ หา กิจกรรม หรอื งานทปี่ ฏบิ ตั ิตลอดโครงการ และจัดทาแบบบันทกึ คะแนน
14 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้ประเมนิ ได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมลู โดยดาเนินการในช่วงสิ้นสุดการจัดกจิ กรรม โครงการ คณุ ธรรมจริยธรรมเพอ่ื พัฒนาชีวติ เรอ่ื ง เขา้ ใจ เรยี นรู้ เรอื่ งคุณธรรมจรยิ ธรรมเพ่อื พัฒนาชวี ติ การวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้ประเมนิ ได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมิน ความพึงพอใจ เป็นแบบประเมินกาหนดเปน็ มาตราสว่ นประมาณคา่ ตามแนวคิดของลเิ คิร์ท (Likert) แสดงระดับความคิดเหน็ ของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมโดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดงั น้ี 5 หมายถงึ มากทส่ี ดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถึง น้อยที่สดุ จากนั้นนาข้อมลู มาหาค่าเฉลี่ย รายขอ้ โดยกาหนดเกณฑ์ ดังน้ี 4.50 - 5.00 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดบั มากที่สุด 3.50 - 4.49 หมายถงึ ผลความพึงพอใจระดับมาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ ผลความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง ผลความพึงพอใจระดับน้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ ผลความพึงพอใจระดบั น้อยท่ีสดุ สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล นาข้อมูลท่ีได้มาหาค่าสถติ ิทางคณติ ศาสตร์ ดงั น้ี คา่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี (Mean) การนาเสนอขอ้ มลู การนาเสนอขอ้ มลู เป็นการนาเสนอในรปู ความเรยี ง ประกอบรายละเอียดในตาราง แจกแจงด้วย ค่าความถี่และร้อยละ การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ โครงการ โดยใช้ X , S.D. และเปรียบเทยี บกบั เกณฑเ์ ฉลย่ี สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
15 1. ค่าเฉลย่ี ƒx ใช้สตู ร X = N X = ค่าเฉลีย่ ผลรวมของความถขี่ องคะแนนทั้งหมด ƒx = จานวนประชากรทเี่ ข้ารว่ มโครงการตาบลเขาสวนกวาง N= nX 2 x2 ทัง้ หมด nn 1 2. คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สตู ร S.D. = ผลรวมของกาลงั สองของคะแนน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ยกกาลงั สอง S.D. = จานวนคนในกลุม่ ตวั อย่าง X 2 = x2 = n= เกณฑ์เฉล่ยี การประเมินโครงการ(บญุ ชม ศรสี ะอาด,2545:100) คะแนนเฉลย่ี 4.51-5.00 หมายถงึ มีการดาเนนิ การในระดบั มากท่ีสดุ คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มกี ารดาเนินการในระดับมาก คะแนนเฉลย่ี 2.51-3.50 หมายถงึ มกี ารดาเนนิ การในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ยี 1.51-2.50 หมายถงึ มกี ารดาเนินการในระดับน้อย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีการดาเนนิ การในระดับน้อยที่สดุ
16 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำน 1. สภาพการดาเนนิ งานโครงการสวนสมุนไพรเฉลิมพระเกียรตใิ นวันแม่แห่งชาติประจาปี 2564 1.1 จานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการประชาชน กศน.อาเภอเขาสวนกวาง จานวน 80 คน 2.2 ความพึงพอใจผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ มตี อบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจจานวน 80 ชดุ จาแนกตามระดับความคิดเห็นดงั น้ี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ /ความพึงพอใจ แบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป ตาราง 1 จานวนผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ท่ี เพศ จานวน รอ้ ยละ (คน) 1 ชาย 40 50.00 2 หญิง 40 50.00 รวม 80 100.00 จากตาราง 1 พบวา่ จานวนผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม จานวน 80 คน แบ่งเป็นเพศชาย 40 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และเป็นเพศหญงิ 40 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 จานวน 80 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100.00 ตาราง 2 อายุผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม ที่ อายุ จานวน ร้อยละ 1. 15 – 30 ปี - - 2. 31–45 ปี 40 50.00 3. 46–59 ปี 40 50.00 4. 60 ปขี นึ้ ไป - - รวม 80 100 จากตารางท่ี 2 ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่มี ชี ่วงอายรุ ะหวา่ ง 15 – 30 ปี มีจานวน - คน คิดเป็น รอ้ ยละ - ช่วงอายรุ ะหวา่ ง 31 - 45 ปีมีจานวน 40 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 ชว่ งอายรุ ะหว่าง 46 - 59 ปี มจี านวน 40 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 จานวน 80 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00
17 ตำรำง 3 ระดบั การศกึ ษาของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ระดบั กำรศกึ ษำ จำนวน รอ้ ยละ ประถมศึกษา -- มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 50 62.50 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 30 37.50 ปรญิ ญาตรีข้ึนไป -- รวม 80 100.00 จากตาราง 3 พบว่า ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีการศึกษาอยใู่ นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาก ที่สุด จานวน 50 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.50 รองลงมาคือระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 37.50 ส่วนท่ี 2 ควำมพึงพอใจที่มีตอ่ กำรจัดกจิ กรรม/โครงกำรดังตารางที่ 2.1 ถงึ ตารางท่ี 2.4 ตำรำงท่ี 2.1กระบวนกำร ข้ันตอนกำรใหบ้ ริกำร ในการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจใน การเข้าร่วมโครงการ ระดับควำมคิดเหน็ ผลกำร ประเมนิ ที่ ประเดน็ คำถำม มำก มำก ปำน น้อย นอ้ ย X ท่ีสุด กลำง ท่ีสุด 1. การประชาสมั พันธ์ 50 30 - - - 4.62 มำกที่สุด โครงการฯ 2. ความเหมาะสมของ 45 35 - - - 4.56 มำกที่สดุ สถานท่ี ความเหมาะสมของ 3. ระยะเวลา 50 30 - - - 4.62 มำกทีส่ ดุ (จานวนชั่วโมง, จานวนวัน) 4. ความเหมาะสมของ 47 33 - - - 4.58 มำกท่สี ดุ ชว่ งเวลา 5. การจดั ลาดบั ขั้นตอนของ 42 38 - - - 4.52 มำกทส่ี ุด กิจกรรม คำ่ เฉลย่ี ( X ) 4.57 มำทส่ี ุด จากตารางที่ 2.1 กระบวนกำร ข้นั ตอนกำรให้บริกำรอยู่ในระดับ มำกทส่ี ดุ คือมีคา่ เฉลย่ี ( X ) เทา่ กบั 4.57 หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.40
18 สรุปแยกเปน็ รำยประเดน็ พบวำ่ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจท่มี ีต่อ กระบวนการ ขน้ั ตอน การให้บริการลาดบั ท่ี1 ข้อที่1ข้อที่3การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการฯและความเหมาะสมของระยะเวลา (จานวนชว่ั โมง,จานวนวนั ) อยูใ่ นระดับ มากทสี่ ดุ โดยมคี า่ เฉลย่ี ในภาพรวม (มXาก) ทเทสี่ า่ดุ กโบั ดย4ม.6ีค2่าเแฉลละ่ยี คิด เป็นรอ้ ยละ 92.40 ลาดบั ที่2ข้อท่ี4ความเหมาะสมของช่วงเวลา อย่ใู นระดับ ในภาพรวม ( ) เท่ากับ 4.58 และคิดเปน็ ร้อยละ 91.60 ลาดับที่3ข้อที่2ความเหมาะสมของสถานท่ี อยใู่ นระดับXมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลี่ยในภาพรวม( ) เท่ากบั 4.56 และคดิ เปน็ ร้อยละ 91.20 X ตำรำงท่ี 2.2 เจา้ หนา้ ท่ผี ้ใู ห้บริการ/วทิ ยากร/ผูป้ ระสานงาน ในการจัดกจิ กรรมและความพึง พอใจ ในการเข้าร่วมโครงการ ระดับควำมคิดเห็น ท่ี ประเดน็ คำถำม มำก ปำน น้อย นอ้ ย X ผลกำร ที่สดุ มำก กลำ ท่สี ุด ประเมนิ ง 1. ความรอบรู้ ในเนื้อหาของวิทยากร 45 35 - - - 4.56 มำกที่สุด 2. ความสามารถในการถ่ายทอด 42 38 - - - มำกที่สดุ ความรู้ 4.52 3. การตอบคาถาม 47 33 - - - 4.58 มำกทส่ี ุด 4. ความเหมาะสมของวทิ ยากร ใน 42 38 - - - มำกทีส่ ดุ ภาพรวม 4.52 ค่าเฉลี่ย ( X ) 4.54 มำกที่สดุ จากตารางท่ี 2.2 เจำ้ หนำ้ ท่ผี ใู้ หบ้ รกิ ำร/วทิ ยำกร/ผปู้ ระสำนงำน อยู่ในระดบั มำกที่สุด คือมีคา่ เฉล่ยี ( X) เท่ากบั 4.54 หรือ คดิ เป็นร้อยละ 90.80 สรุปแยกเป็นรำยประเด็นพบว่ำ ผลการประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อ กระบวนการ ข้ันตอน การให้บรกิ ารลาดับท่ี1 ขอ้ ท่ี3การตอบคาถาม อย่ใู นระดับ มากทส่ี ุด โดยมคี ่าเฉล่ยี ในภาพรวม ( ) เท่ากับ 4.58 และคดิ เป็นร้อยละ 91.60 ลาดบั ท่ี2ข้อที่1ความรอบรู้ ในเนื้อหาของวทิ ยากร อยู่ใน รXะดับ มากที่สดุ โดยมคี า่ เฉลีย่ ในภาพรวม ( ) เท่ากับ 4.56 และคดิ เป็นร้อยละ 91.20 ลาดบั ท่ี3ขอ้ ท่ี 2และข้อท่ี4ความสามารถในการถา่ ยทอดควXามรู้ และความเหมาะสมของวทิ ยากรในภาพรวม อย่ใู น ระดับ มากท่ีสุด โดยมคี ่าเฉลย่ี ในภาพรวม( ) เท่ากบั 4.52 และคดิ เป็นร้อยละ 90.40 X
19 ตำรำงที่ 2.3 กำรอำนวยควำมสะดวก ในการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วม โครงการ ระดบั ควำมคิดเหน็ ผลกำร ที่ ประเด็นคำถำม มำก มำก ปำน นอ้ ย น้อย X ประเมิน ทส่ี ดุ กลำง ทส่ี ุด 1. เอกสาร 40 25 15 4.31 มำก 2. โสตทัศนูปกรณ์ 45 20 15 4.37 มำก 3. เจา้ หนา้ ทสี่ นับสนนุ 50 20 10 4.50 มำกทส่ี ดุ 4. อาหาร,เคร่ืองดืม่ และ 45 25 10 4.43 มำก สถานท่ี คำ่ เฉลี่ย ( X ) 4.40 มำก จากตารางท่ี 2.3 กำรอำนวยควำมสะดวกตา่ งๆในการจัดกจิ กรรม/โครงการ อยู่ในระดับมำก คือมีค่าเฉล่ีย ( X ) เท่ากับ 4.30 หรือ คิดเป็นรอ้ ยละ 86.00 สรุปแยกเป็นรำยประเดน็ พบว่ำ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจที่มีตอ่ กระบวนการ ขั้นตอน การใหบ้ รกิ ารลาดับที่1 ขอ้ ท่ี3 เจ้าหน้าทส่ี นบั สนุนอยู่ในระดับ มากทส่ี ดุ โดยมีค่าเฉลย่ี ในภาพรวม ม(Xาก) เท่ากบั 4.50 และคิดเป็นร้อยละ 90.00 ลาดบั ท่ี2ขอ้ ท่ี4อาหาร,เครือ่ งด่มื และสถานท่ี อยู่ในระดับ โดยมีคา่ เฉลย่ี ในภาพรวม (X) เทา่ กับ 4.43 และคดิ เปน็ ร้อยละ 88.60 ลาดับท่ี3ข้อที่2โสตทศั นปู กรณ์ อยู่ในระดบั มาก โดยมีค่าเฉล่ียในภาพรวม(X) เทา่ กับ 4.37 และคิดเป็นร้อยละ 87.40 และลาดับที่4 ขอ้ ท่ี1เอกสาร อยู่ในระดับ มาก โดยมีคา่ เฉลย่ี ในภาพรวม( X) เทา่ กบั 4.31 และคิดเป็นร้อยละ 86.20 ตำรำงท่ี 2.4 คณุ ภำพกำรใหบ้ ริกำรในการจัดกจิ กรรมและความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ ระดบั ควำมคิดเห็น ผลกำร ประเมนิ ที่ ประเด็นคำถำม มำก มำก ปำน น้อย น้อย X ทสี่ ุด กลำง ที่สุด ท่านได้รับความรู้ แนวคดิ 45 20 15 1. ทกั ษะและประสบการณ์ - - 4.37 มำก ใหม่ๆจากโครงการ/กิจกรรม ท่านสามารถนาส่ิงท่ีไดร้ บั 50 20 10 2. จากโครงการ/กจิ กรรมน้ีไป - - 4.50 มำกท่สี ุด ใช้ในการเรียน/การ ปฏิบตั ิงาน สิง่ ท่ีทา่ นได้รบั จากโครงการ/ 45 25 10 3. กิจกรรมคร้ังนีต้ รงตามความ - - 4.43 มำก คาดหวงั ของทา่ น
20 สัดส่วนระหวา่ งการฝึกอบรม 40 25 15 4. ภาคทฤษฎกี ับภาคปฏิบัติ - - 4.31 มำก - (ถ้ามี) มีความเหมาะสม - 4.52 มำกท่สี ดุ 4.42 มำก 5. ประโยชนท์ ี่ท่านได้รบั จาก 42 38 - โครงการ/กจิ กรรม คำ่ เฉลี่ย ( X ) จากตารางที่ 2.4 คณุ ภำพกำรใหบ้ ริกำร ประโยชนท์ ่ีได้รับในการเขา้ ร่วมกิจกรรม/โครงการ อยใู่ นระดบั มำกคือมคี ่าเฉลย่ี (X ) เท่ากบั 4.42 หรือ คดิ เป็นร้อยละ 91.40 สรุปแยกเป็นรายประเดน็ พบว่า ผลการประเมนิ ความพึงพอใจที่มีต่อ กระบวนการ ข้นั ตอน การใหบ้ รกิ ารลาดับท่ี1 ข้อท่ี1ข้อที่5 ประโยชน์ทีท่ ่านไดร้ ับจากโครงการ/กจิ กรรม อยู่ในระดบั มาก ทีส่ ุด โดยมคี ่าเฉล่ียในภาพรวม ( ) เทา่ กบั 4.52 และคิดเป็นรอ้ ยละ 90.40 ลาดับที่2ข้อท่ี2ท่าน สามารถนาสิ่งท่ีได้รับจากโครงการX/กิจกรรมนไี้ ปใช้ในการเรียน/การปฏิบัตงิ าน อยูใ่ นระดับ มากท่ีสดุ โดยมีค่าเฉลย่ี ในภาพรวม ( ) เท่ากับ 4.50 และคิดเปน็ ร้อยละ 90.00 ลาดับท่ี3ขอ้ ท่ี3สงิ่ ทีท่ า่ นได้รบั จากโครงการ/กิจกรรมครัง้ นXี้ตรงตามความคาดหวังของท่าน อยใู่ นระดับ มาก โดยมคี ่าเฉล่ยี ใน ภาพรวม( ) เทา่ กบั 4.43 และคิดเป็นร้อยละ 88.60 ลาดับท่ี4ข้อท่ี1ท่านไดร้ บั ความรู้ แนวคิด ทกั ษะ และประสXบการณใ์ หมๆ่ จากโครงการ/กิจกรรม อยู่ในระดบั มาก โดยมีค่าเฉล่ยี ในภาพรวม( ) เท่ากบั 4.37 และคิดเปน็ รอ้ ยละ 87.40 และลาดบั ที่5ข้อที่4สดั สว่ นระหวา่ งการฝกึ อบรมภาคทฤษฎXีกบั ภาคปฏบิ ตั ิ (ถา้ ม)ี มคี วามเหมาะสม อยใู่ นระดับ มาก โดยมีคา่ เฉลี่ยในภาพรวม(X) เท่ากับ 4.31 และ คิดเป็นร้อยละ 86.20
21 บทท่ี 5 สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน/ข้อเสนอแนะ การประเมินผลโครงการสวนสมนุ ไพรเฉลมิ พระเกยี รติในวันแมแ่ ห่งชาตปิ ระจาปี2564 ณ.กศน.อาเภอเขาสวนกวาง อาเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแกน่ สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ ขอ้ เสนอแนะ ตารางสรปุ ระดบั ความคดิ เห็นของผู้รับบริการ 4 ดา้ น ดา้ นท่ี หวั ขอ้ การประเมิน คา่ เฉล่ยี ระดับความคดิ เหน็ 1 ดา้ นระดบั ความพงึ พอใจของผ้รู บั บรกิ าร 4.57 มากทส่ี ดุ 2 ด้านครูผู้สอน/วทิ ยากรผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.54 มากทสี่ ดุ 3 ดา้ นจดั สิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้เข้าร่วม 4.30 มาก กิจกรรม 4 ด้านคุณภาพของการจัดกิจกรรม 4.42 มาก รวม 4.45 มาก สรปุ พบวา่ ระดับความคิดเหน็ ของผรู้ ับบริการ4ดา้ น โดยภาพรวมทกุ ด้านมีค่าเฉลย่ี 4.45 อยู่ ในระดับ มาก โดยดา้ นระดบั ความพงึ พอใจของผู้รับบริการ มคี า่ เฉลี่ย 4.57 อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ ด้านครผู ูส้ อน/วิทยากรผู้จดั กิจกรรมการเรยี นรู้มีคา่ เฉลีย่ 4.54 อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ ดา้ นคณุ ภาพของ การจดั กจิ กรรม มคี ่าเฉลย่ี 4.42 อยูใ่ นระดบั มาก และด้านจดั สิง่ อานวยความสะดวกแก่ผ้เู ข้าร่วม กิจกรรม มีค่าเฉล่ีย 4.30 อยู่ในระดบั มาก
22 จำกตำรำง 2.4 เปา้ หมาการ ตัวชีว้ ัด เกณฑ์ ผลการ บรรลุ ความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการ ดาเนนิ งาน บรรลุ ไม่ ร้อยละ บรรลุ 87.40 ร้อยละ 80 พึง ร้อยละ กจิ กรรมท่จี ดั มปี ระโยชน์ สอดคลอ้ งกับความ พอใจ 90.00 ต้องการของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี ขึ้น รอ้ ยละ 88.60 ไป ร้อยละ ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้รบั ร้อยละ 80 พงึ 86.20 สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั พอใจ ได้ รอ้ ยละ อยู่ในระดับ ดี ขึ้น 90.00 ไป ร้อยละ 80 พงึ กจิ กรรมทจ่ี ัดสามารถส่งผลดีตอ่ การพัฒนา พอใจ คน สงั คม และชมุ ชน อย่ใู นระดบั ดี ขึน้ ไป ความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ โครงการ/กจิ กรรม รอ้ ยละ 80 พงึ ภาพรวม พอใจ อยู่ในระดับ ดี ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 80 พงึ ประโยชน์และความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ พอใจ โครงการ/กจิ กรรมในภาพรวม อยใู่ นระดับ ดี ขน้ึ ไป ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ 1.เพอ่ื จดั กจิ กรรมการถา่ ยทอดองค์ความร้เู ร่ืองภมู ิปัญญาการแพทย์แผนไทย จากหมอ พื้นบ้านส่ชู ุมชน และการเรยี นรู้กศน.อาเภอเขาสวนกวาง 2.เพือ่ ศึกษาผลการถ่ายทอดองค์ความร้เู ร่ืองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จากหมอพ้ืนบ้าน สูช่ ุมชนควบค่กู บั การปฏบิ ตั แิ ละลงมอื ทา
23 ภำคผนวก - -
24
25
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: