รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 31 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 6.2 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2562- 2563 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชา คะแนนเฉลยี่ ระดบั โรงเรยี น ผลต่าง คะแนนเฉล่ยี ปีการศกึ ษา 2563 ผลตา่ ง 2562 2563 ระดับโรงเรียน ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 59.10 57.58 -1.52 57.58 54.29 +3.29 ภาษาองั กฤษ 32.32 34.82 +2.50 34.82 34.38 +0.44 คณติ ศาสตร์ 27.67 27.39 -0.28 27.39 25.46 +1.93 วทิ ยาศาสตร์ฯ 31.06 29.90 -1.16 29.90 29.89 +0.01 เฉล่ยี 37.54 37.42 -0.12 32.85 33.79 +1.41 6.3 แผนภมู ิเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562- 2563 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 59.1 57.58 32.32 34.82 27.67 27.39 31.06 29.9 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 32 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 6.4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 สรุปผลสอบ O- Net ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ระดับ ภาษาไทย สงั คมศึกษา ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เฉลย่ี โรงเรียน 32.85 ขนาดโรงเรยี น 49.12 36.00 25.56 22.50 31.05 37.79 ท่ตี ้ังโรงเรียน 31.37 จังหวดั 49.34 38.23 34.82 30.59 35.98 32.34 สังกดั 34.13 42.65 35.20 24.18 24.42 30.40 31.24 ภาค 33.79 ประเทศ 44.23 35.85 26.44 23.32 31.84 45.22 36.32 29.73 26.33 33.04 41.52 34.89 26.31 22.83 30.64 44.36 35.93 29.94 26.04 32.68 6.5 เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2562- 2563 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 วิชา คะแนนเฉล่ียระดับโรงเรยี น ผลต่าง คะแนนเฉล่ียปกี ารศึกษา 2563 ผลต่าง 2562 2563 ระดับโรงเรียน ระดับประเทศ ภาษาไทย 46.04 49.12 +3.08 49.12 44.36 +4.76 สังคมศึกษาฯ 35.45 36.00 +0.55 36.00 35.93 +0.07 ภาษาองั กฤษ 24.64 25.56 +0.92 25.56 29.94 -4.38 คณติ ศาสตร์ 23.35 22.50 -0.85 22.50 26.04 -3.54 วทิ ยาศาสตร์ฯ 27.77 31.05 +3.28 31.05 32.68 -1.63 เฉลี่ย 31.45 32.85 +1.40 32.85 33.79 -0.94
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 33 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 6.6 แผนภูมิเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2561- 2562 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 46.04 49.12 35.45 36 24.64 25.56 27.77 31.05 23.35 22.5 ภาษาไทย สงั คม ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 34 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 7. ข้อมูลการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2563 แหลง่ เรยี นร้ใู นสถานศกึ ษา แหลง่ เรยี นร้ภู ายใน/ช่อื แหล่งเรียนรู้ สถิตกิ ารใช้ตลอดปีการศกึ ษา 1.หอ้ งเรียนสเี ขยี ว 250 2.ห้องจริยธรรม 120 3.ลานประด(ู่ ลานพระ) 150 4.สวนป่า(สวนพฤกษศาสตร์) 150 5.ลานนกั วทิ ยาศาสตร์ 250 6.ลานอาชพี (ลานแนะแนว) 300 7.สวนเกษตร 300 8.ลานกฬี า 500 9.เวทีอเนกประสงค์ 50 10.ศาลาอุ่นใจ 50 11.หอ้ งสมุด 1,800 12.หอ้ งแนะแนว 1,500 13.หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 1,300 14.ห้องอาเซียน 250 15.หอ้ ง KM 300 16.หอ้ ง Resource Center 1,800 17.ห้องสมุด Education Hub 500 18.หอประชุม 101/27. 300 19.ห้องสภานักเรยี น 1 20.ห้องธนาคารโรงเรยี น 50
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 35 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 แหลง่ เรียนรูภ้ ายนอกสถานศกึ ษา แหล่งเรยี นรู้ เรื่อง ประกอบวิชา/ปกี ารศกึ ษา ที่ ชื่อ/สถานท/่ี ทอ่ี ยู่ 1 ปราสาทบ้านพลวง อารยะธรรมขอม ประวัติศาสตร์ 4ครง้ั /ปี 2 ปราสาททนง อารยะธรรมขอม ประวัติศาสตร์ 4ครง้ั /ปี 3 ปราสาทบา้ นปราสาท อารยะธรรมขอม ประวตั ศิ าสตร์ 4ครง้ั /ปี 4 วัดป่าห้วยเสนง อบรมธรรมะ พระพุทธศาสนา 4ครง้ั /ปี 5 วัดปราสาทวนาราม กิจกรรมวนั สาคัญ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน 4ครง้ั /ปี 6 วัดปา่ ช้าจีน การฝึกสมาธิ พระพุทธศาสนา 4คร้ัง/ปี 7 สวนสาธารณะหนองกังแอน กิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4ครง้ั /ปี 8 สานักงานเทศบาลตาบลกังแอน การฝึกงานกิจกรรมสง่ เสรมิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 1คร้ัง/ปี บคุ ลิกภาพ 9 ที่ว่าการอาเภอปราสาท การฝึกงาน/กิจกรรมวนั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น1ครั้ง/ปี สาคัญของชาติ 10 สถานีตารวจภธู รปราสาท กจิ กรรมสง่ เสริการจราจร กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 4ครงั้ /ปี กจิ กรรมต่อตา้ นยาเสพตดิ 11 หมบู่ ้านเกษตรอนิ ทรยี บ์ ้านทัพไทย การศกึ ษาดงู านเชงิ เกษตร กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 2 คร้งั /ปี 12 ชมุ ชนทอ่ งเท่ียวโอทอปนวตั วิถบี า้ น การศกึ ษาดูงาน ชุมชน กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น4 ครง้ั /ปี พลวง ทอ่ งเที่ยว สนิ คา้ พ้ืนเมือง 13 เขตรกั ษาพันธ์ุสัตวป์ า่ ห้วยสาราญ ศกึ ษาธรรมชาติและ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น2 ครั้ง/ปี อ.กาบเชงิ สง่ิ แวดลอ้ ม
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 36 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 8. ขอ้ มลู ดา้ นงบประมาณและทรัพยากร ปีการศกึ ษา 2563 8.1 การจัดสรรงบประมาณประเภทเงินอดุ หนุนรายหัวประจาปงี บประมาณ 2563 ยอดเงินอดุ หนุน ประจาปงี บประมาณ 2563 = 10,553,900 บาท ที่ การจดั สรรงบประมาณ คดิ เปน็ เงนิ (บาท) 1 ด้านวชิ าการ ร้อยละ 70 7,387,730 2 ดา้ นทว่ั ไป ร้อยละ 20 2,110,780 3 ด้านบรหิ าร ร้อยละ 10 1,055,390 1. ดา้ นวชิ าการ โครงการดา้ นวิชาการ คดิ เป็นเงนิ หน่วย 1. โครงการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ 170,000 บาท 127,000 บาท 2. โครงการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย 3. โครงการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 192,600 บาท และเทคโนโลยี 135,000 บาท 238,890 บาท 4. โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ 261,000 บาท 5. โครงการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ิลปะ 6. โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและ 105,000 บาท พลศกึ ษา 198,000 บาท 7. โครงการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา 50,000 บาท 63,000 บาท ศาสนาและวัฒนธรรม 1,096,000 บาท 8. โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 360,000 บาท 360,000 บาท ภาษาตา่ งประเทศ 27,000 บาท 9. โครงการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น 10,000 บาท 90,000 บาท 10. โครงการพฒั นาการสอนตามโครงการ Ed.Hub 11. โครงการจดั หาวัสดเุ พ่อื จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 12. โครงการส่งเสริมการจดั การศึกษา 13. โครงการสง่ เสริมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 14. โครงการการสอบวัดผลการประเมินผลในระดบั สถานศกึ ษา ระดับชาต(ิ O-NET) และระดบั ชาติ(PISA) 15. โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม 16. โครงการเปิดบ้านประสาทวิทยาคาร
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 37 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 17. โครงการพฒั นาระบบบริการแนะแนวการศึกษา 20,000 บาท 18. โครงการนเิ ทศการจัดการเรยี นรู้ 27,000 บาท 19. โครงการโรงเรียนสีเขยี ว 45,000 บาท 20. โครงการเปดิ โลกการศึกษาอาชีพ 30,000 บาท 21. โครงการพฒั นาการสอนกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ 16,000 บาท 22. โครงการพฒั นาระบบงานบุคคล 46,000 บาท 23. โครงการพัฒนาบุคลากร 430,000 บาท 24. โครงการเสรมิ สร้างขวญั กาลังใจบุคลากร 9,000 บาท 25. โครงการพฒั นาระบบการบริหารจัดการกลุม่ บริหารงบประมาณและ 140,000 บาท สนับสนุนการจดั การเรียนการสอน 2,500,240 บาท บาท 26. โครงการดแู ลสาธารณูปโภค 137,000 บาท 27. โครงการพัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน 136,000 บาท 28. โครงการสง่ เสริมการมีวินยั คุณธรรมและจรยิ ธรรมนักเรยี น 18,000 บาท 29. โครงการพัฒนาสภานักเรียน 45,500 บาท 30. โครงการวันสาคัญของชาติ 18,000 บาท 31. โครงการวันสาคัญทางศาสนา 10,000 บาท 32. โครงการพฒั นางานกองทนุ กยศ. บาท 33. โครงการพฒั นางานภาคเี ครือข่าย 9,000 บาท 34. โครงการส่งเสริมสขุ ภาพอนามัยนักเรียนและบคุ ลากร 53,000 35. โครงการเสรมิ สร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 114,500 บาท 36. โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา บาท (โรงเรียนสุจรติ ) 28,000 37. โครงการพัฒนางานสานักงานกลุ่มบรหิ ารทว่ั ไป 72,000 รวม 7,387,730 บาทคดิ เป็นรอ้ ยละ 70 %
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 38 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 2. ดา้ นท่วั ไป โครงการดา้ นท่ัวไป คดิ เป็นเงนิ หน่วย 1. โครงการพัฒนางานบรหิ ารท่วั ไป 250,000 บาท 2. โครงการดูแลรกั ษาความสะอาดโรงเรียน 180,000 บาท 3. โครงการดแู ลครภุ ัณฑแ์ ละรถยนต์โรงเรยี น 450,000 บาท 4. โครงการพัฒนาห้องเรยี นพิเศษ (หอ้ งประชมุ ) 71,780 บาท 5. โครงการบรกิ ารน้าดืม่ นักเรียน ครูและบคุ ลากร 64,000 บาท 6. โครงการพฒั นาโปรแกรมระบบคะแนนพฤติกรรมนกั เรียน 25,000 บาท 7. โครงการปรบั บรบิ ทหอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 20,000 บาท 8. โครงการพฒั นาหอ้ งเรยี นสเี ขยี ว 500,000 บาท 9. โครงการปรบั ปรุงห้องประกนั คุณภาพ 100,000 บาท 10. โครงการปรับปรงุ หอ้ งเรยี นแนะแนว 80,000 บาท 11. โครงการปรบั ปรงุ ระบบจราจรในโรงเรยี น 100,000 บาท 12. โครงการปรบั ปรงุ ห้องสานกั งานบุคคล 70,000 บาท 200,000 บาท 13. โครงการปรับปรงุ ซ่อมแซมอาคารพละ รวม 2,110,780 บาทคิดเป็นร้อยละ 20 % 3. ดา้ นบรหิ าร คดิ เปน็ เงิน หน่วย 1,055,390 บาท โครงการด้านบริหาร 1. โครงการสง่ เสรมิ การบรหิ ารจัดการศกึ ษา รวม 1,055,390 บาทคดิ เป็นร้อยละ 10 % รวมทั้งสน้ิ 10,553,900 บาท
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 39 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 8.2 การจดั สรรงบประมาณประเภทรายจา่ ยเพิม่ เติมตามโครงการสนบั สนนุ การจดั การศึกษา โดยไมเ่ สีย คา่ ใช้จา่ ย 15 ปี ประจาปีประมาณ 2563 รายรับงบประมาณรายจา่ ยเพ่ิมเติมตามโครงการสนบั สนนุ การจัดการศึกษาโดยไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย 15 ปี งบเงินอุดหนุน ( 1 ) รายการเงินอุดหนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 1. คา่ หนังสอื เรียน 2,711,810 บาท 2. คา่ อุปกรณก์ ารเรยี น 1,188,400 บาท 3. คา่ เคร่ืองแบบนกั เรยี น 1,272,500 บาท 4. ค่ากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 2,474,100 บาท 4.1 กิจกรรมวชิ าการ 772,795 บาท 4.2 กจิ กรรมคุณธรรม/ลกู เสอื /ยุวกาชาด/กีฬา/บาเพ็ญฯ 290,400 บาท 4.3 ทัศนศกึ ษา 640,111 บาท 4.4 การบรกิ ารสารสนเทศ/ICT 772,794 บาท รวม 7,646,810 บาท 8.3 การจัดสรรงบประมาณประเภทเงินรายไดส้ ถานศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ 2563 รายรบั จากเงินรายไดส้ ถานศึกษา 1. รายรับงบประมาณเงินรายได้สถานศึกษาจากนักเรียน 1.1 กจิ กรรมพัฒนาห้องเรยี นพหุภาษา 2,420,000 บาท 1.2 กิจกรรมห้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษ 540,000 บาท 1.3 ค่าจา้ งครูผเู้ ช่ยี วชาญ ครูชาวต่างชาติและบคุ ลากรในสถานศึกษา 5,367,000 บาท 1.4 กิจกรรมพัฒนาบริบทโรงเรียน 2,260,000 บาท 1.5 กิจกรรมคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน 1,130,000 บาท รวม 11,717,000 บาท นามาจดั สรรให้กลุ่มบรหิ ารวิชาการ (ข้อ 1.1-1.2) 2,960,000 บาท นามาจดั สรรให้กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล (ข้อ 1.3) 5,367,000 บาท นามาจัดสรรให้กลมุ่ บริหารท่วั ไป (ข้อ 1.4-1.5) 3,390,000 บาท 2. รายรบั จากโรงอาหาร 420,000 บาท นามาจดั สรรใหก้ ลมุ่ บริหารท่วั ไปทงั้ หมด 420,000 บาท 8.4 การจดั สรรงบประมาณประเภทเงนิ ปัจจยั พื้นฐาน ประจาปงี บประมาณ 2563 รายรบั เงินปัจจัยพืน้ ฐาน (ใช้งบปี 2562 เป็นฐาน) 1,014,000 บาท บาท รวม 1,014,000 บาท ***นามาจดั สรรให้กล่มุ บรหิ ารวชิ าการ 1,014,000
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 40 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 8.5 การจัดสรรงบประมาณประเภทเงินรายไดอ้ ่นื ๆ ประจาปงี บประมาณ 2563 20,000 บาท รายรับเงนิ ค่าบารงุ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 20,000 บาท นามาจัดสรรให้กลมุ่ บริหารวชิ าการ บาท รวมงบประมาณประจาปี 2563 ท้ังส้นิ 32,014,726 9. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก 9.1 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสถานศึกษารอบแรก ปกี ารศึกษา 2546 ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (ท่ีมา : https://aqa.onesqa.or.th/SummaryReport.aspx) มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ขนั้ พนื้ ฐาน เกณฑ์คุณภาพมาตรฐาน เพอ่ื การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ควร พอใช้ ดี ดา้ นผูเ้ รียน ปรับปรุง มาตรฐานที่ 1 ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพี่ ึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 4 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ คิดไตรต่ รองและมีวิสยั ทัศน์ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรยี นมคี วามรแู้ ละทักษะทจ่ี าเปน็ ตามหลักสตู ร มาตรฐานท่ี 6 ผเู้ รยี นมที กั ษะในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รักการเรยี นรแู้ ละ พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง มาตรฐานที่ 9 ผู้เรยี นมที กั ษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้ และมเี จตคตทิ ด่ี ตี ่ออาชีพสุจริต มาตรฐานท่ี 10 ผ้เู รียนมีสขุ นสิ ยั สุขภาพกาย และสุขภาพจติ ท่ดี ี มาตรฐานท่ี 12 ผเู้ รยี นมีสุนทรียภาพและลักษณะนสิ ัยดา้ นศิลปะ ดนตรี และกีฬา ดา้ นครผู ู้สอน มาตรฐานที่ 22 ครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ มาตรฐานที่ 24 ครมู ีคณุ วฒุ /ิ ความรู้ ความสามารถตรงกบั งานท่ีรับผดิ ชอบและมีครูเพยี งพอ ด้านผบู้ ริหาร มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามีการจัดองค์กร/โครงสรา้ งและการ บรหิ ารงานอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 14 สถานศกึ ษาส่งเสรมิ ความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมือกับ ชมุ ชนในการพฒั นาการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 18 สถานศกึ ษามกี ารจดั กจิ กรรมและการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี น เป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 20 ผบู้ ริหารมภี าวะผ้นู า และมีความสามารถในการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 25 สถานศึกษามีหลกั สูตรที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียนและ ทอ้ งถิ่น มีส่อื การเรยี นการสอนท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ รบั รอง ไม่รับรอง กรณีที่ไม่ได้รบั รอง เน่ืองจาก................................................................................................
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 41 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 9.2 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง (ปีการศกึ ษา 2550) ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (ทมี่ า : https://aqa.onesqa.or.th/SummaryReport.aspx) มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ขน้ั พื้นฐาน ปรบั ปรงุ ระดับคณุ ภาพ ดมี าก เพอ่ื การประเมินคุณภาพภายนอก พอใช้ ดี ดา้ นผเู้ รียน มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่พึง ประสงค์ มาตรฐานท่ี 2 ผู้เรยี นมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี มาตรฐานท่ี 3 ผูเ้ รียนมสี นุ ทรียภาพ และลักษณะนสิ ยั ดา้ น ศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่ 4 ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิด สงั เคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รอง และมีวสิ ยั ทัศน์ มาตรฐานท่ี 5 ผู้เรียนมีความรู้และทกั ษะท่จี าเปน็ ตาม หลักสตู ร มาตรฐานท่ี 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รกั การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 7 ผเู้ รยี นมที ักษะในการทางาน รกั การทางาน สามารถทางานรว่ มกับผู้อนื่ ได้ และมีเจตคติท่ดี ตี ่ออาชีพสุจรติ ดา้ นครู มาตรฐานที่ 8 ครมู ีคณุ วุฒิ / ความรูค้ วามสามารถตรงกบั งาน ทร่ี ับผิดชอบ และมีครูเพยี งพอ มาตรฐานที่ 9 ครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอน อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ดา้ นผู้บรหิ าร มาตรฐานที่ 10 ผู้บรหิ ารมภี าวะผ้นู าและมคี วามสามารถในการ บริหารจดั การ มาตรฐานท่ี 11 สถานศึกษามกี ารจัดองค์กรโครงสร้าง และ การบรหิ ารงานอย่างเปน็ ระบบ ครบวงจร ให้บรรลเุ ป้าหมาย การศกึ ษา มาตรฐานท่ี 12 สถานศึกษามกี ารจัดกิจกรรมและการเรียน การสอนโดยเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 42 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ข้นั พ้ืนฐาน ระดับคณุ ภาพ ดีมาก เพ่ือการประเมนิ คุณภาพภายนอก ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี มาตรฐานท่ี 13 สถานศึกษามีหลักสูตร ท่เี หมาะสมกบั ผูเ้ รียน และท้องถ่ินมสี ่ือการเรียนการสอนทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 14 สถานศึกษาสง่ เสริมความสมั พนั ธ์และความ ร่วมมือกบั ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา โรงเรยี นมีผลการประเมินระดับคุณภาพ ดี โดยมีค่าเฉลี่ย ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ รบั รอง ไม่รบั รอง 9.3 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม จาแนกมาตรฐานการศึกษาตามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2555 (โรงเรยี นทร่ี ับการประเมนิ ในปงี บประมาณ 2555) (ท่มี า : https://aqa.onesqa.or.th/SummaryReport.aspx) มาตรฐาน/ ตัวบง่ ชี้ คะแนน คะแนน ระดับ กล่มุ ตวั บง่ ช้ี เต็ม ที่ได้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศกึ ษา 10.00 9.86 ดีมาก 10.00 9.29 ดมี าก 1. ผเู้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี 10.00 9.02 ดีมาก 2. ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีพงึ 10.00 8.80 ดี 20.00 8.60 กลุ่มตวั บ่งชี้ ประสงค์ 5.00 5.00 พอใช้ ดมี าก พืน้ ฐาน 3. ผเู้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื ง 5.00 5.00 ดีมาก 4. ผ้เู รียนคดิ เปน็ ทาเปน็ 5.00 5.00 ดีมาก 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รยี น 5.00 5.00 ดมี าก 9. ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/ 5.00 5.00 ดีมาก กลมุ่ ตัวบง่ ชี้ วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ต้งั อัตลักษณ์ สถานศึกษา 10. ผลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจุดเดน่ ทสี่ ่งผล สะท้อนเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตวั บ่งชี้ 11. ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือสง่ เสริม มาตรการส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 การบริหารจัดการศึกษา กลุ่มตวั บ่งช้ี 7. ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการ พนื้ ฐาน พฒั นาสถานศึกษา กลุ่มตวั บง่ ชี้ 12. ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพ่ือยกระดับ มาตรการสง่ เสรมิ มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ท่สี อดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 43 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 มาตรฐาน/ ตวั บ่งช้ี คะแนน คะแนน ระดับ กลุ่มตวั บง่ ชี้ เต็ม ท่ไี ด้ คุณภาพ มาตรฐานที่ 3 การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ 10.00 8.00 ดมี าก กลมุ่ ตวั บ่งชี้ 6. ประสทิ ธิผลของการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ 5 4.97 ดีมาก 100 83.54 ดี พื้นฐาน ผเู้ รียนเป็นสาคญั มาตรฐานท่ี 4 การประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตวั บ่งช้ี 8. พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดย พื้นฐาน สถานศึกษาและต้นสังกัด คะแนนรวม/ผลการประเมนิ ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ รับรอง ไม่รับรอง กรณีที่ไม่ได้รับรอง เน่ืองจาก................................................................................................ 10. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษารอบปที ผี่ ่านมา (ปีการศึกษา 2563) ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียน ยอดเยี่ยม เป็นสาคญั ผลการประเมนิ ภาพรวมของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 44 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดบั คุณภาพ: ยอดเย่ียม 1. กระบวนการพฒั นา โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร จงั หวดั สุรนิ ทร์ มีกระบวนการพฒั นาผูเ้ รียนดว้ ยวธิ ีการที่ หลากหลาย ครจู ดั กระบวนการเรยี นรู้ใหเ้ ปน็ ไปตามศกั ยภาพของผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐาน และตวั ช้ีวดั ของหลกั สตู ร โรงเรยี นพัฒนาหลักสตู รใหม้ ีความหลากหลายตรงตามความต้องการ และความถนดั ของผู้เรยี น โดยมีหลักสตู รทัง้ หมด 8 แผนการเรียน มกี ารนาภูมิปญั ญาท้องถิน่ และการ บูรณาการเศรษฐกิจ พอเพียง มาร่วมวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และการเรียนรสู้ ู่โลกกว้าง ออกแบบการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น ทัง้ รปู แบบการระดมสมอง แบบร่วมมือ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็น แบบใช้กระบวนการคดิ คดิ วเิ คราะห์ กระบวนการแกป้ ัญหา การบรู ณาการ แบบลงมือปฏบิ ตั ิจริง (Active Learning) เนน้ การอ่าน การเขยี น การสื่อสาร การคิดคานวณ และการแก้ปญั หาของผู้เรียนสาคัญท่สี ดุ สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนใช้ส่ือเทคโนโลยีให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ การเรียนรู้และการนาไปใช้ชีวติ ประจาวนั ผเู้ รียนไดร้ ับการ จัดการเรยี นรู้ดว้ ยเทคนิควธิ ีการสอนทีห่ ลากหลายและตรงตามศกั ยภาพ มีการใชส้ อ่ื เทคโนโลยใี นการจดั การ เรยี นรู้ มแี หลง่ เรยี นร้แู ละแหลง่ สืบค้นขอ้ มูล ได้แก่ ห้องสมดุ E-Library ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งปฏิบตั ิการ ตา่ ง ๆ ครปู ระจาวิชา และครูในระดบั ช้ันเดยี วกนั รว่ มกนั กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบการวดั และ ประเมินผลแบบบรู ณาการตามสภาพจรงิ และนาผลจากการวัดประเมินผลการเรยี นร้มู าพฒั นา ปรบั ปรงุ การ จัดการเรยี นรูใ้ ห้ดยี งิ่ ขน้ึ จัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ สรมิ ศกั ยภาพควบคู่กับการเรียนรใู้ นห้องเรียน เชิญวิทยากร เฉพาะทางและศิษยเ์ ก่าทีป่ ระสบความสาเร็จมาใหค้ วามรู้ แนะนา ถ่ายทอดประสบการณ์แกผ่ ู้เรียนด้าน การศกึ ษาต่อ และการทางาน โรงเรียนจดั โครงการส่งเสริมศักยภาพผูเ้ รียน และพัฒนาการจัดการเรียนการ สอนด้านการอา่ น การเขียน การส่อื สารในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โดยจดั กิจกรรมวันภาษาไทย และวัน สนุ ทรภู่ โครงการคา่ ยภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ได้แก่ ภาษาองั กฤษ ภาษาจนี ภาษาญ่ปี ่นุ ภาษาเวยี ดนาม และภาษาเขมร โรงเรียนจัดค่ายภาษาและวฒั นธรรม ท้ังภาษาอังกฤษและ ภาษาตา่ งประเทศทีส่ อง บรู ณาการผา่ นกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน SME และ Hub จดั การเรียน การสอนเป็นภาษาอังกฤษ EP โครงการค่าย STEM จัดกิจกรรมพฒั นาการอา่ น การเขยี นและการสื่อสารใน กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ น่ื ตามธรรมชาติวิชา นอกจากนีง้ านห้องสมดุ โรงเรยี นยังจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการ อา่ น อาทิ กิจกรรมสปั ดาหห์ ้องสมุด กจิ กรรมแข่งขันตอบปญั หา กิจกรรมหนงั สือเล่มโปรด โรงเรียนจดั การ เรียนการสอนทเี่ นน้ ทกั ษะกระบวนการคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ สง่ เสริมให้ครูผสู้ อนนาเทคนคิ วิธกี ารสอน ใหต้ รงตามศักยภาพของผเู้ รียนท้ังในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรยี น โรงเรยี นเขา้ รว่ มโครงการพฒั นาความรู้ทาง วชิ าการด้านคณิตศาสตร์ การสอบแขง่ ขันอัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์ กจิ กรรมเปดิ โลกการศึกษาและอาชีพ โดยมีการจดั แสดงนทิ รรศการของหนว่ ยงานการศึกษาตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดม้ แี รงบันดาลใจในการศึกษาต่อ ในระดบั ท่ีสูงข้ึน จดั กระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม โดยสามารถรวบรวม ความร้ไู ด้ดว้ ยตนเองและการทางานเปน็ ทีม เชื่อมโยงองค์ประกอบและประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรค์สิ่ง
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 45 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 ใหม่ ๆ ได้แก่ โครงงาน ชน้ิ งาน ให้สามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้และในชวี ิตประจาวันแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ โครงการเปิดโลกการศกึ ษาและอาชีพ กิจกรรมโครงการห้องเรียนสเี ขียว กิจกรรมอบรมนักเรยี นแกนนา ICT กิจกรรมวนั ต้านยาเสพตดิ รวมทั้งค่ายอัจฉรยิ ภาพทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โรงเรยี นสง่ เสริมให้ครูผู้สอนใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สารเปน็ สว่ นหนึง่ ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยจัดหาสื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารที่ทันสมัย สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนใชจ้ รงิ ปฏิบตั ิจรงิ ในการเรียนรู้ อาทิ การสืบค้นความรู้ สารสนเทศประกอบการจดั ทาโครงงาน รายงานและอนื่ ๆ ท้งั น้ี โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนให้ผูเ้ รยี นประกวดแข่งขนั ความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดคานวณ การ คิดวิเคราะห์ การสรา้ งนวัตกรรมและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ตลอดปีการศกึ ษา ใน ขณะเดยี วกัน โรงเรียนไดส้ ่งเสริมและพฒั นาการให้บริการแนะแนวจดั โครงการ/กจิ กรรมเพือ่ พัฒนาความรู้และ ทักษะพนื้ ฐานทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สาหรบั การศึกษาตอ่ ทุกสาขาอาชีพ ส่งเสริมและให้บริการแนะแนว การศึกษาต่อ จัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นไดร้ ับการแนะแนวการศึกษาต่อจากศิษย์เกา่ ท่ีกาลงั ศึกษาต่อในสาขา วชิ าเอกต่าง ๆ จากหลากหลายมหาวทิ ยาลยั อาทิ สายอาชีพบญั ชี การตลาด ช่างไฟ พยาบาล สาขาวชิ าทเ่ี ปน็ วิชาชพี ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษาคอมพิวเตอร์ ภาษาต่างประเทศ และสาขาวชิ าอืน่ ๆ ในโครงการเปดิ โลกอาชีพ นกั เรยี นในโรงเรียนจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ทักษะกระบวนการคณติ ศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ เขา้ รบั การอบรม ณ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตลอดจน การศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ของนักเรยี น เปน็ ต้น นอกจากน้ี โรงเรียนได้ดาเนินการเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธกิ ารในการจดั กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ ได้จัดโครงการพัฒนาทักษะอาชีพให้กับผู้เรียน ตามนโยบายลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ โดยความร่วมมือจาก วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดสุรินทร์จัดฝึกอาชีพ ให้กับผู้เรียน จากเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะชีวิตท่ีจะสามารถอยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข โรงเรียนเน้นการพัฒนาความรู้ควบคู่คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์และ ค่านิยมที่ดี จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ในวันสาคัญต่าง ๆ โดยปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นผู้มี ความอดทน เสียสละ มีน้าใจ รู้จักช่วยเหลือผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม หลักสูตร โดยสอดแทรกท้ังในห้องเรียนและกิจกรรมเสริม โรงเรียนจัด จัดกิจกรรมเย่ียมบ้าน กิจกรรม ประกวดมารยาทไทย จัดกิจกรรมทาบุญตักบาตรเนื่องในวันข้ึนปีใหม่ การงานวิ่งเพ่ือการศึกษา จัดกิจกรรม เวียนเทยี นในวันสาคัญทางศาสนา กิจกรรมเทิดพระเกียรติ กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน จัดให้มี การเลือกตั้งสภานักเรียน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียน ออกแบบ ชิ้นงานและสร้างนวัตกรรม สามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม จัดโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเห็นคุณค่าของความเป็นไทย จัดกิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมเปิดโลกอาเซียน สังคมศึกษา กิจกรรมสวดมนต์สรภัญญะ โดยบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้ใน ห้องเรียน กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น ร่วมกับชุมชน กิจกรรมสาคัญทางศาสนา กิจกรรมแซนโฎนตา ให้ผู้เรียนได้มีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรม ประเพณีภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถ่ิน โรงเรียนจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนท้ังในห้องเรยี นปกติ กิจกรรมห้องเรียนเน้นทกั ษะกระบวนการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมห้องเรยี นพเิ ศษ Education Hub จัดกลุ่มขับเคลื่อนวชิ าการตามแผนการเรยี นและการเรียนเสริมแบบ คละห้อง คละแผนการเรียนเพ่ือส่งเสริมผู้เรียนให้ยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน ด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรมและประเพณี เน่ืองจากจังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดท่ีมีกลุ่มชนมา จาก 3 เชือ้ สาย คือ เขมร ส่วย และลาว โรงเรียนจัดโครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ ผู้เรยี นใหม้ ีสขุ ภาวะทางร่างกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยจัดกิจกรรมกีฬานักเรียน กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด กิจกรรมเดินว่ิงกึ่งศตวรรษ
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 46 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 ประสาทวิทย์ การเปิดศูนย์กีฬาฟุตบอลและลงนาม (MOU) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียน กิจกรรมตรวจ สขุ ภาพ กิจกรรมบรจิ าคโลหิต กิจกรรมค่ายอบรมคุณธรรมจริยธรรม จัดโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม โครงการอบรม “นักเรียนรุ่นใหม่มีใบขับขี่” และค่ายกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนจัดระบบการดูแล ช่วยเหลือผูเ้ รยี นและมีระบบการแนะแนวที่มปี ระสทิ ธผิ ล เนน้ การมีส่วนรว่ มของทุกฝา่ ยท่เี กยี่ วข้องกับผูเ้ รยี น 2. ผลการพัฒนา ผลการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากการ ท่ีโรงเรียนดาเนินโครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีเป็นกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทุกด้านของคุณภาพ ผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพระดับยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.40 ของผู้เรียนทั้งหมด ซ่ึงผู้เรียนได้รับ รางวัลดา้ นการอ่าน การเขียน การส่ือสารและการคิดคานวณในปีการศึกษา 2563 เน่ืองจากสถานการณ์ ใน ปีการศกึ ษา 2563 เกิดเหตุการณ์โรคระบาดโควิด ทาให้กิจกรรมการเรียนการสอนของนักเรียน ได้ปรับเปล่ียน หลากหลายรูปแบบ ส่งผลให้ครูผู้สอน นักเรียนต้องจัดกิจกรรมที่หลากหลาย โดยการเรียน การสอนออนไลน์ การศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เป็นต้น ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ไดม้ คี ุณภาพระดบั ยอดเยยี่ ม คดิ เปน็ ร้อย ละ 95.62 ของผู้เรียนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าค่าเปา้ หมายความสาเร็จทโ่ี รงเรียนกาหนดไว้ร้อยละ 95.00 ของผูเ้ รยี น ทัง้ หมด ทง้ั นีย้ ังต้องมกี ารพฒั นาผูเ้ รยี นเพ่ิมขึน้ ในทกุ ๆ ด้านตอ่ ไป ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตาม หลกั สตู รสถานศกึ ษาโดยนักเรียนได้ระดับผลการเรียน ระดับ 2 ข้ึนไป 80% ของนกั เรียนทล่ี งทะเบยี น และมีนักเรียนท่ลี งทะเบียน ตดิ 0 , ร , มส ไมเ่ กนิ 5% ทุกกล่มุ สาระการเรียนรเู้ ปน็ ไปตามหลักสตู ร สถานศกึ ษา มคี ุณภาพระดับยอดเย่ยี ม คดิ เปน็ ร้อยละ 98.40 ของผูเ้ รียนท้ังหมด สูงกว่าค่าเป้าหมาย ความสาเรจ็ ท่โี รงเรียนกาหนดไวร้ อ้ ยละ 95.00 ของผู้เรียนท้ังหมด ซึง่ ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนบรรลุ และมีความก้าวหนา้ ในการเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศึกษาจากพ้นื ฐานเดิม ด้านความรู้ ความเข้าใจและทักษะ กระบวนการต่าง ๆ ทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้ ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชีพ โดย ผู้เรียนโรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร จงั หวดั สรุ นิ ทร์มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ีพรอ้ มทจ่ี ะศึกษาต่อใน ระดบั ชน้ั ทส่ี ูงขึ้นและการทางานหรอื อาชีพทกุ คน ผเู้ รียนมีผลการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ในปี การศกึ ษา 2563 ต่ากว่าปีการศกึ ษา 2562 ทั้งระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6 โดยผลการทดสอบระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีพฒั นาการลดลง เทา่ กบั 3.93 และผลการทดสอบระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 มีพฒั นาการ ลดลง เท่ากับ 8.52 เมอ่ื ได้ทาการเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-Net) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ในปีการศึกษา 2563 มีผลการทดสอบเฉลย่ี สูงกวา่ ระดับประเทศ 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-Net) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2563 มีผลการทดสอบเฉลีย่ สูงกวา่ ระดับประเทศ 1 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย ซง่ึ มีผลการทดสอบเฉล่ยี 46.04 สว่ นผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ จากการทโ่ี รงเรียนได้ดาเนินโครงการ และกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์อย่างหลากหลายส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามท่ีสถานศึกษากาหนด (ระดับ 2 ขึ้นไป) มีคุณภาพระดับยอดเย่ียม คิดเป็นร้อยละ 96.81 ของผู้เรียน ทั้งหมด ซ่ึงยังต่ากว่าค่าเป้าหมายความสาเร็จท่ีโรงเรียนกาหนดไว้ร้อยละ 100.00 ของผู้เรียนท้ังหมด โดย ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมเปน็ ผมู้ คี ุณธรรม จริยธรรม มีความรักในสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ เคารพ ในกฎระเบียบวินัยของโรงเรียน เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงโดยพร้อมเพรียง ยอมรับกติกาของสังคมมีความ ซ่ือสัตย์สุจริต เก็บส่ิงของมีค่าได้นาส่งห้องประชาสัมพันธ์ ตรงต่อเวลา มีความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ใช้ชีวิตตามหลัก
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 47 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท้ังการเรียนและชีวิตประจาวัน มุ่งมั่นในการทางาน ปฏิบัติภาระงานท่ีได้รับ มอบหมายให้สาเร็จ มีความรักในความเป็นไทย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และดาเนินชีวิตตามวิถีภูมิปัญญาท้องถ่ิน ผเู้ รยี นมีน้าใจ แบ่งปัน ช่วยเหลือ เกื้อกูลซ่ึงกันและกัน มีค่านิยมและจิตสานึกที่ดีในการท้ิงขยะลงในถังแยก ขยะ ร่วมปลูกต้นไม้ตามโอกาส ดูแลรักษาความสะอาดห้องเรียน และบริเวณพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบตามระดับช้ัน อย่างสมา่ เสมอ แม้บางครัง้ ไม่มีครูกากับ อนุรักษ์ทรัพยากร พลังงาน โดยช่วยกันปิดน้า ปิดไฟ เม่ือไม่ใช้งาน ตามมาตรการการประหยัดพลังงานของโรงเรียน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิ ปัญญาท้องถ่ินด้วยความภาคภูมิใจ โดยเข้าร่วมกิจกรรมท้องถิ่นของจังหวัดสุรินทร์เป็นประจาและสม่าเสมอ ได้แก่ งานช้างประจาปี ถวายแห่เทียนเขา้ พรรษา ประเพณีแซนโฎนตา ประเพณีลอยกระทง กิจกรรมชุมชน กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมงานแสงสีเสียง กิจกรรมการแสดงในเทศการแลกเปล่ียนศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ ของนักเรียน Education HUB ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ได้ปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ ในกิจกรรมกลุ่มขับเคลื่อนวิชาการตามแผนการเรียนและกิจกรรมการ เรยี นเสริมแบบคละห้อง คละแผนการเรียน ผ้เู รียนใหย้ อมรับและอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งระหว่างบุคคลใน ดา้ นเพศ วยั เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรมและประเพณีผู้เรียนมาจาก 3 เชือ้ สาย คอื เขมร ส่วยและลาว สามารถเรียนร่วมกันไดโ้ ดยไม่มีความขดั แยง้ แตอ่ ย่างใด ผู้เรียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม มีการตรวจ สุขภาพทุกปี มีดัชนีมวลกายตามเกณฑ์ปกติ ผู้เรียนรู้จักดูแลสุขภาพให้แข็งแรงสมบูรณ์และมีสุขภาพจิตท่ีดี โดยผู้เรียนมีวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง รู้จักรักษาอารมณ์และสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ มีการ ออกกาลังกายและเล่นกีฬา รูจ้ ักปรบั ตัวในสงั คมท่ีบรบิ ทและสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ท้ังนี้ ผลการดาเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมินในแต่ละประเด็นการประเมิน ปรากฏผลดงั นี้ ประเดน็ ผลการประเมนิ ความสามารถ ร้อยละของจานวนผู้เรยี นที่มีผลการประเมินความสามารถ ในการอ่าน การ ในการอ่าน การเขยี นและการสอื่ สารตามเกณฑ์ที่โรงเรยี นกาหนด เขยี นและการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ส่ือสาร (ม.1 – ม.6)
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 48 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 จากแผนภมู ิ ผลการประเมินร้อยละของจานวนผ้เู รยี นที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน การเขียนและการสื่อสารตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 มีค่าเฉลย่ี รวมเทา่ กับ 95.62 ซ่ึงพบว่า ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 มคี วามสามารถในดา้ นการอา่ น การเขยี นและการส่ือสาร มคี า่ เฉลี่ย เทา่ กบั 95.17 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มคี วามสามารถในด้านการอ่าน การเขียนและการสื่อสาร มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กบั 93.38 จากจานวนนักเรยี นทั้งหมดในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถในด้านการอา่ น การเขยี นและการสื่อสาร มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 87.88 จากจานวนนกั เรยี นทงั้ หมดในระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 มคี วามสามารถในด้านการอา่ น การเขียนและการส่ือสาร มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 98.23 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 มคี วามสามารถในดา้ นการอ่าน การเขียนและการสอ่ื สาร มคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 95.20 จากจานวนนกั เรยี นท้ังหมดในระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 มคี วามสามารถในด้านการอ่าน การเขียนและการสอ่ื สาร มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กบั 98.60 จากจานวนนกั เรยี นท้ังหมดในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ประเด็น ผลการประเมนิ ความสามารถใน รอ้ ยละของจานวนผู้เรยี นท่ีมีผลการประเมินความสามารถ การคดิ คานวณ ในการคดิ คานวณตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกาหนด (ม.1 – ม.6) ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 จากแผนภมู ิ ผลการประเมินร้อยละของจานวนผูเ้ รยี นที่มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ คานวณตามเกณฑท์ โ่ี รงเรียนกาหนด ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 มคี ่าเฉลี่ยรวมเทา่ กบั 95.62 ซ่งึ พบว่า ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 มผี ลการประเมินความสามารถในการคิดคานวณ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ กระบวนการ มีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 94.83 จากจานวนนักเรยี นทงั้ หมดในระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 49 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 มผี ลการประเมินความสามารถในการคดิ คานวณ ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ กระบวนการ มีค่าเฉล่ยี เท่ากับ 93.38 จากจานวนนกั เรยี นทง้ั หมดในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคิดคานวณ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ กระบวนการ มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 88.24 จากจานวนนกั เรียนทง้ั หมดในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคิดคานวณ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ กระบวนการ มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กับ 98.01 จากจานวนนกั เรยี นทั้งหมดในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคิดคานวณ ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ มีค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 95.20 จากจานวนนักเรยี นทั้งหมดในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ คานวณ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ กระบวนการ มีคา่ เฉลีย่ เทา่ กับ 98.04 จากจานวนนกั เรียนทง้ั หมดในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประเดน็ ผลการประเมิน ความสามารถใน รอ้ ยละของจานวนผ้เู รียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิด การคดิ วิเคราะห์ อยา่ งมวี ิจารณญาณและแก้ปัญหาได้ ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 6 คดิ อย่างมี วจิ ารณญาณและ แกป้ ัญหาได้ (ม.1 – ม.6) จากแผนภมู ิ ผลการประเมนิ ร้อยละของจานวนผู้เรียนท่ีมผี ลการประเมินความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณและแกป้ ญั หาได้ ตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกาหนด ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 มคี า่ เฉล่ยี เทา่ กบั 95.62 จาแนก ได้ดังน้ี ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มผี ลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และแกป้ ัญหาได้ มีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 96.55 จากจานวนนกั เรียนทง้ั หมดในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มผี ลการประเมินความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแกป้ ัญหาได้ มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 94.08 จากจานวนนกั เรียนท้ังหมดในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมินความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และแกป้ ัญหาได้ มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 90.91 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีผลการประเมินความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแก้ปัญหาได้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 99.34 จากจานวนนกั เรียนทง้ั หมดในระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 50 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 มผี ลการประเมินความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ปัญหาได้ มคี า่ เฉลยี่ เท่ากบั 99.76 จากจานวนนักเรียนท้ังหมดในระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 มผี ลการประเมนิ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และแก้ปัญหาได้ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 100.00 จากจานวนนกั เรียนทัง้ หมดในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ประเด็น ผลการประเมิน มคี วามสามารถใน ร้อยละของจานวนผ้เู รียนท่ีมีผลการประเมินความสามารถ การสร้างนวัตกรรม ในการสรา้ งนวตั กรรม (ม.1 – ม.6) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 จากแผนภูมิ ผลการประเมินร้อยละของจานวนผูเ้ รียนท่มี ีผลการประเมินความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีคา่ เฉล่ยี เทา่ กับ 95.62 โดยสามารถแยกตามระดบั ช้นั ดังนี้ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 มผี ลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 92.76 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 มีผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวตั กรรม มคี ่าเฉลยี่ เทา่ กบั 94.08 จากจานวนนกั เรียนท้ังหมดในระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม มคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั 88.59 จากจานวนนักเรียนท้ังหมดในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีคา่ เฉลี่ย เทา่ กับ 99.12 จากจานวนนกั เรียนทั้งหมดในระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีคา่ เฉลี่ย เทา่ กับ 92.81 จากจานวนนกั เรียนท้ังหมดในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 85.75 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 51 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 ประเด็น ผลการประเมิน มีความสามารถใน ร้อยละของจานวนผู้เรียนที่มีผลการประเมนิ ความสามารถ การใชเ้ ทคโนโลยี ในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละการส่อื สาร และการส่อื สาร ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 (ม.1 – ม.6) จากแผนภมู ิ ผลการประเมนิ รอ้ ยละของจานวนผู้เรียนทม่ี ผี ลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และการสื่อสาร ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 มคี า่ เฉล่ีย เท่ากบั 94.87 โดยจาแนก ได้ดังน้ี ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สือ่ สาร มคี ่าเฉลี่ย เทา่ กบั 91.55 จากจานวนนกั เรยี นทัง้ หมดในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร มีค่าเฉลี่ย เทา่ กับ 94.08 จากจานวนนกั เรียนท้งั หมดในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สื่อสาร มคี า่ เฉล่ีย เท่ากับ 87.17 จากจานวนนักเรยี นทั้งหมดในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 มีผลการประเมินความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสาร มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 98.90 จากจานวนนักเรียนทั้งหมดในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ สอ่ื สาร มคี ่าเฉลี่ย เท่ากบั 98.56 จากจานวนนักเรียนทง้ั หมดในระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร มีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 97.77 จากจานวนนักเรยี นทัง้ หมดในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 52 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 ประเด็น ผลการประเมิน ความสามารถ ในการอ่าน คดิ ร้อยละของจานวนผู้เรยี นที่มีผลการประเมินความสามารถ วิเคราะห์และเขยี น ในการอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น (ม.1 – ม.6) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 ค่าเฉลีย่ 95.62 จากแผนภูมิ ผลการประเมนิ ร้อยละของจานวนผู้เรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 6 มีค่าเฉล่ีย เทา่ กับ 95.62 ซงึ่ แยกผลการประเมินเปน็ ระดับชัน้ ไดด้ งั นี้ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน อยู่ใน ระดบั ดีเยี่ยมมากที่สุด มีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 95.17 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขียน อยู่ใน ระดับดีเย่ยี มมากที่สุด มีคา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 93.38 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน อย่ใู น ระดบั ดีเยีย่ มมากทสี่ ดุ มคี า่ เฉลีย่ เทา่ กับ 87.88 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน อยู่ใน ระดับดีเย่ยี มมากท่สี ุด มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 98.23 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 มีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น อยู่ใน ระดับดเี ยี่ยมมากทส่ี ุด มคี ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 95.20 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 มีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน อยู่ใน ระดบั ดีเยี่ยมมากท่สี ุด มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กับ 98.60
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 53 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 ประเดน็ ผลการประเมิน คุณลักษะ ทีพ่ ึงประสงค์ ร้อยละของจานวนผเู้ รียนท่ีมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (ม.1 – ม.6) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 คา่ เฉลย่ี 96.81 จากแผนภมู ิ ผลการประเมินรอ้ ยละของจานวนผเู้ รยี นที่มีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 6 มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 96.81 ซ่ึงแยกผลการประเมนิ เป็นระดบั ชน้ั ได้ดังนี้ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 มีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม มากท่ีสดุ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 98.10 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 มีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ อยู่ในระดับดีเยย่ี มมากที่สดุ มีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 94.25 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับดีเยี่ยม มากท่ีสดุ มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 91.09 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์อยใู่ นระดับดเี ย่ียม มากท่ีสดุ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 99.56 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 มีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์อยใู่ นระดบั ดเี ย่ียม มากท่สี ดุ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 99.76 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ อยู่ในระดบั ดเี ยย่ี มมากทสี่ ุด มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 100
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 54 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 ประเดน็ ผลการประเมิน แผนภมู แิ สดงความ พรอ้ มในการศึกษา แผนภูมแิ สดงความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝกึ งาน หรือการทางาน ต่อ การฝึกงาน หรือ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 , มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 การทางาน (ม.3 , ม.6) คา่ เฉล่ียการศกึ ษาตอ่ 94.93 ค่าเฉล่ยี การทางาน 5.07 จากแผนภมู ิ แสดงความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 และระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยมคี ่าเฉลี่ยการศึกษาตอ่ 94.93 ค่าเฉลี่ยการทางาน 5.07 ซงึ่ แยกตาม ระดบั ชนั้ ได้ ดังนี้ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีนักเรยี นศึกษาต่อ มคี า่ เฉล่ีย เท่ากับ 97.68 และนกั เรียนจะประกอบ อาชพี มีคา่ เฉลี่ย เท่ากับ 2.32 จากจานวนนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทง้ั หมด ในปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 มีนกั เรียนศึกษาต่อ มีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 92.18 และนกั เรยี นจะประกอบ อาชีพ มีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 7.82 จากจานวนนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ท้งั หมด ในปีการศกึ ษา 2563 3. จุดเดน่ 1) โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร จงั หวัดสรุ ินทร์ มคี วามพร้อมดา้ นผ้เู รียน ครู และบุคลากรทางการ ศกึ ษา ทั้งสื่ออุปกรณเ์ ทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 2) ผู้ปกครอง และชมุ ชนให้ความรว่ มมือสนบั สนนุ ในการจดั การศึกษาอยา่ งเปน็ อยา่ งดี ตลอดจน การ รว่ มกจิ กรรมของโรงเรียน ทาให้เกดิ การพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง 3) ผ้เู รยี นมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง ส่วนใหญ่มสี ดั ส่วนนา้ หนักและส่วนสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์ สว่ นใหญ่ มคี รอบครวั ที่อบอ่นุ ได้รับการเอาใจใส่ อบรมเลย้ี งดทู ่ีถูกต้องมสี ่วนในการสร้างภูมคิ ้มุ กนั เกย่ี วกับยาเสพติดให้ โทษ 4) โรงเรียนจัดโครงการสง่ เสรมิ ศกั ยภาพผู้เรยี น มีการจดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาผเู้ รียนอย่างหลากหลาย และมีความพร้อม
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 55 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 5) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ คน้ คว้า นาเสนอผลงาน อย่างสรา้ งสรรค์ 4. จดุ ควรพัฒนา 1) โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ควรมีวิธกี ารดาเนินการพฒั นาผู้เรียนด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O - NET) ให้มคี ะแนนเฉลยี่ ให้สูงขึ้น 2) ครผู ้สู อนควรมีการออกแบบและกระบวนการวัด และประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรียนทม่ี ี ประสทิ ธิภาพ และตรงตามสภาพจริง 3) โรงเรียนควรจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้กบั ผู้เรยี น ไดเ้ รียนรู้เพ่มิ เติม หรอื นอกเวลา เพ่อื ช่วย พัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รยี นให้สูงข้ึน 4) โรงเรยี นควรจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ตามอัตลกั ษณข์ องโรงเรยี น เนน้ ระเบียบ วนิ ัย ใหก้ บั ผ้เู รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ: ยอดเยีย่ ม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนประสาทวิทยาคารมีการกาหนดค่าเป้าหมาย พันธกิจ เป้าประสงค์ ให้มีการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล มีการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้สอดคล้องตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างชัดเจน ซึ่งได้บริหารอย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วม มีการรายงานผลการ ดาเนินงาน มีการปรับปรุง แก้ไข และมีการเชื่อมโยงขององค์กรในการบริหารงาน โรงเรียนได้ดาเนินการ วิเคราะหส์ ภาพความจาเปน็ ต้องการ และวิเคราะห์ผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล ผู้เรียน อัตรากาลงั ทรพั ยากร งบประมาณ รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม สารสนเทศจากการนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติและจัดประชุม ปฏิบัติการเพอื่ พฒั นาครูทัง้ ระบบระดมความคิดเหน็ ของครูและบุคลากรทั้ง 4 กลุ่มบริหาร 6 ระดับชั้นและ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 กิจกรรม เพื่อวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กล ยุทธ์ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนเพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับบริบท สภาพปัญหา ความต้องการการพัฒนา นโยบาย การปฏิรูปการศึกษา นโยบายต้นสังกัดและนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน มีการ วางแผนและดาเนินงานทั้งด้านการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมายอย่าง เป็นรูปธรรม ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและ บคุ ลากรเขา้ รับการฝึกอบรมในสาขาวิชาท่ถี นดั และต้องการนามาพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นและพัฒนางาน ส่งเสริม ให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี มาใชใ้ นการพฒั นางาน และการเรียนรู้ ของผู้เรียน สง่ เสริมใหค้ รมู ีความรคู้ วามสามารถและทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 56 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 โดยโรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตร พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญนางานวิจัยชั้นเรียนมาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคลจนสามารถช่วยเหลือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ภายใต้การนิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มบริหารวิชาการและผู้บริหารตามลาดับ จัดดาเนินโครงการ พัฒนาบุคลากรที่มีกิจกรรมสาคัญ ได้แก่ กิจกรรมพัฒนางานวิจัยในชั้นเรียนและกิจกรรมส่งเสริม ประสิทธิภาพการเรียนการสอน ท้ังสองกิจกรรมช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนให้สูงข้ึน ครูสามารถจัดทาวิจยั ในช้ันเรียนและนาผลการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาผู้เรียนกลุ่มอ่อน ให้มีความรู้ และทักษะเป็นไปตามเกณฑ์ของหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกระบวนการวัดและประเมินผลท่ีตรง ตามสภาพจริง ทาให้ครูเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเป็นการเปิดโลกทัศน์ของการพัฒนาทักษะ ครูผู้สอน ตลอดจนการนิเทศกากับติดตามช้ันเรียน ท้ังหน่วยงานภายใน และภายนอก จากคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ นอกจากน้ี ยังมีกิจกรรมสาคัญในการติดตามนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. มผ. ทาให้ครูได้วัดและประเมิน ผู้เรียนเพื่อจัดกลุ่มตามระดับผลการเรียนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลางและกลุ่มอ่อน และ เป็นสารสนเทศที่นาไปสู่การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อบรม โครงการ ติว กิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนอย่างเหมาะสม ให้กับผู้เรียนและวิธีการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ตามลาดับด้านการบรหิ ารและการจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบและด้านการจัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและสงั คมที่เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ และด้านการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนจัดระบบการจัดหา การพัฒนาการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศ และซ่อมบารุงเพ่ือใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพ ของหอ้ งเรยี น ธรรมชาติวิชา เหมาะสมกับครูและผู้เรียน โดยจัดระบบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย มี ระบบเครือข่ายที่รวดเร็ว สะดวกในการใช้งานเพ่ือการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ในปีการศึกษา 2653 สถานการณโ์ รคระบาด โควิดเกิดข้นึ จงึ มกี ารพฒั นา ปรับเปล่ียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบ ออนไลน์ โดยการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนดาเนินการจัดทาห้องเรียนคุณภาพ โดย เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ ชุมชน และเอกชน ร่วม รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา พร้อมท้ังจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการพัฒนาตามแผนงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผลการดาเนินงานและสรุปผลการดาเนินงานโดยผู้รับผิดชอบในระดับเดียวกัน ครูผู้สอนในรายวิชา เดียวกัน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และหัวหน้ากลุ่มบริหาร ตามลาดับ ท้ังน้ี โรงเรียนได้จัดโครงการ/ กจิ กรรมทสี่ ่งเสริมสนบั สนนุ เพอ่ื พฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการอย่างหลากหลาย เช่น จัดโครงการ พัฒนาระบบวางแผนพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน จัดโครงการบริหารงานวิชาการและพัฒนาหลักสูตร จัด โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกกลุ่มงาน จัดโครงการบริหารและพัฒนาข้อมูล และสารสนเทศ จดั โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงานเทคโนโลยี จัดโครงการพัฒนา บารุง อาคารสถานท่ีและ ระบบสาธารณูปโภค จัดโครงการพัฒนาและจัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อมทางการศึกษาจัดโครงการระดม ทรพั ยากร จัดโครงการเครือข่ายร่วมพัฒนา (ในและตา่ งประเทศ) จัดโครงการพฒั นาคณุ ภาพงานสัมพันธ์ชุมชน จัดโครงการประชาสัมพันธ์ข่าวสารอันดีภายในและภายนอกโรงเรียน จัดโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา การกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารและการจดั การศกึ ษา โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร รับนิเทศการศึกษา ของสพม.33 โดยการกับติดตามของศึกษานิเทศก์ และการนิเทศแบบออนไลน์ นิเทศการศึกษาของสหวิทยา เขต การนิเทศการศึกษาระหว่างโรงเรียน และการนิเทศการศึกษาของกลุ่มสาระ มีกิจกรรมการเปิดช้ันเรียน
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 57 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 โดยมีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู ให้พัฒนาตาม มาตรฐานทต่ี ้งั ไว้ ซง่ึ แสดงถงึ การมีวสิ ยั ทศั น์ในการบรหิ ารงานด้านวชิ าการและการจดั การศึกษาของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น 2. ผลการพฒั นา โรงเรียนประสาทวทิ ยาคารดาเนินการบรหิ าร ในรูปคณะกรรมการต่าง ๆ เช่น คณะกรรมการการ บริหารภายในองค์กรสถานศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการ บุคลากร ผูป้ กครอง ชมุ ชน สมาคมศิษยเ์ ก่า สมาคมผู้ปกครองและครู คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และผู้เรียน มีส่วนรว่ ม ในการกาหนดวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ตลอดท้ังการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา ในการบริหารจัด การศกึ ษาของโรงเรยี น ท่ชี ดั เจน ให้การสนับสนุนทง้ั ในดา้ นงบประมาณและการระดมทรพั ยากรต่าง ๆ อย่าง หลากหลายนาไปสูส่ งั คมแหง่ การเรยี นรู้ทเ่ี ข้มแข็ง มกี ารวางแผนเพื่อพฒั นาบริบทของโรงเรียน ให้มอี าคารเรียน ทเี่ พยี งพอต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน และบริการชมุ ชน ในการขบั เคลื่อนการจัดการศึกษา โดยจดั โครงการ/กิจกรรมท่หี ลากหลายเพอื่ นาไปสูเ่ ปา้ หมายการจัดการศึกษาของโรงเรียน ส่งผลใหม้ ีผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มีคุณภาพระดับยอดเยี่ยม ดังปัจจยั ต่อไปน้ี 2.1 โรงเรียนได้กาหนดค่าเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์อย่างชัดเจน เพือ่ ให้มีการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มี คณุ ภาพ และได้มาตรฐานสากล โดยมแี ผนปฏบิ ตั ิการ การพฒั นาหลกั สตู รของโรงเรยี น โครงสร้างการ บริหารงาน ปฏทิ ินวชิ าการ ใหเ้ ป็นแนวทาง/ทศิ ทางในการบรหิ ารและการจัดการได้อย่างเหมาะสมเป็นไปตาม แผนทก่ี าหนดไว้ โดยมีการจดั องค์กร โครงสรา้ งการบริหารงานทช่ี ัดเจนสอดคล้องกับสภาพปัญหาความ ตอ้ งการพฒั นาของโรงเรียน ดังน้ี วสิ ัยทัศน์ : จดั การศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐานสากล เปน็ ศนู ยก์ ลางของการศึกษาใน ภมู ิภาค และยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกิจ 1) ส่งเสรมิ และสนบั สนุน การจัดการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานให้มีคณุ ภาพ และได้มาตรฐานสากล 2) ส่งเสริม และสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางการศึกษาในภมู ภิ าค 3) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษา ให้สอดคล้องตามลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป้าประสงค์ (Goal) 1) นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการ เหมาะสมตามช่วงวัย และมีคุณภาพ 2) ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความตระหนัก มีทักษะทเี่ หมาะสม และมี วัฒนธรรมการทางานที่มงุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธ์ิ 3) ผู้บรหิ ารสถานศึกษามีศกั ยภาพ ขบั เคลื่อนการจัดการศึกษา สมู่ าตรฐานสากล เป็น ศนู ยก์ ลางการศกึ ษาในภูมิภาคตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4) พัฒนาสถานศกึ ษาให้เป็นต้นแบบการจดั การศึกษาเป็นศนู ยก์ ลางการศกึ ษาในภมู ภิ าค ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ และไดม้ าตรฐานสากล
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 58 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 อตั ลกั ษณ์ (Identity) ไหวง้ าม เอกลกั ษณ์ (Uniqueness) โรงเรยี นมาตรฐานสากล 2.2 โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ มีคุณภาพระดับยอดเยย่ี ม โดยโรงเรยี นมแี ผนพัฒนา คณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจาปีสอดคล้องกับการพฒั นาผเู้ รยี นทุกกลุ่มเป้าหมาย มี โครงสร้างองค์กรทใ่ี ช้ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา กาหนดขอบขา่ ยงานของแตล่ ะฝา่ ย นา แผนไปปฏิบตั ิหรอื ดาเนนิ งานพัฒนาคณุ ภาพการบริหารและการจัดการศึกษาที่มคี วามเหมาะสม ครอบคลุม ทุกประเดน็ ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกากบั ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผล การดาเนนิ งานอยา่ งเป็นขั้นตอน สมา่ เสมอ มีการบรหิ ารอัตรากาลงั ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบการ ดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน มรี ะบบการนิเทศภายในทมี่ ปี ระสิทธิภาพ มกี ารประชุมวางแผนก่อนเริม่ ดาเนนิ งาน ระหวา่ งดาเนนิ งานและหลังเสรจ็ สิ้นการดาเนินงาน เพื่อสะท้อนผลการดาเนนิ งาน สามารถนาข้อมูลจากผล การดาเนินงานมาใชใ้ นการปรบั ปรุง แกไ้ ขและพฒั นางานอยา่ งตอ่ เน่ืองและเปน็ แบบอย่างได้ ซ่ึงจากการ บริหารงานอย่างเปน็ ระบบของโรงเรียน 2.3 โรงเรียนดาเนินการพัฒนาวชิ าการท่ีเน้นผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา มี คณุ ภาพระดบั ยอดเยย่ี มโรงเรียนมหี ลกั สูตร มกี ิจกรรมเสริมหลักสตู รที่เน้นคุณภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นและทุก กลุ่มเป้าหมายเชื่อมโยงวถิ ชี วี ิตจริงได้ โดยหลกั สตู รสถานศึกษามีความหลากหลายและจัดแผนการเรียนเปน็ 8 แผนการเรยี น ดงั นี้ 1) แผนการเรียนพหุภาษา (Hub) 2) แผนการเรยี นเนน้ วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ 3) แผนการเรยี นอังกฤษ – ไทย – สังคม 4) แผนการเรียนองั กฤษ – จนี – ญี่ปุ่น 5) แผนการเรียนอุตสาหกรรม 6) แผนการเรียนธรุ กจิ คอม 7) แผนการเรียนพละ 8) แผนการเรียนทั่วไป 2.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความรคู้ วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี มีคุณภาพระดบั ยอดเยีย่ ม ครูและบุคลากรมีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ถนัดและต้องการนามาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและพัฒนา งาน มีกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ซ่ึงมาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูมี ความรู้ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ครูมีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร สามารถพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและนางานวิจัยชั้นเรียนมาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 59 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 จัดการเรียนรู้ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลจนสามารถช่วยเหลือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการ เรยี นรู้ ภายใต้การนเิ ทศ กากบั ติดตามตรวจสอบของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มบริหารวิชาการและ ผู้บริหารตามลาดับส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับรางวัล ได้แก่ 1) ครูเข้าร่วมนาเสนอผลงาน ในมหกรรม วิชาการ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 2)เข้าร่วมรับการประเมินโรงเรียน พระราชทาน 3) ครูผู้สอนไดร้ ับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดบั เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ ออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ มี คุณภาพระดับยอดเย่ียม โรงเรียนมีอาคาร สถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และแหล่งเรียนรู้อย่างเป็น สดั ส่วน สะดวก มคี วามสะอาด รม่ รน่ื จัดมุมอ่านหนังสือ มุมพักผ่อน นั่งเล่น โดยจัดทาเป็นสวนหย่อม มี ศ า ล า น่ั ง พั ก ผ่ อ น ห ล า ย ห ลั ง ต า ม บ ริ เ ว ณ ต่ า ง ๆ ข อ ง โ ร ง เ รี ย น ใ ห้ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ด้ จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนให้มีบรรยากาศทางวิชาการ มีป้ายนิเทศ ป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายนิทรรศการที่ให้สาระความรู้หลากหลาย เอ้ือต่อการเรียนรู้และมีความปลอดภัยยึด แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา มี ทรัพยากรเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีส่ือและแหล่งเรียนรู้ที่ มคี ุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ มีคณุ ภาพ ระดับยอดเย่ียม โรงเรยี นมรี ะบบการจัดหา การพฒั นาการบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศและซอ่ มบารุงเพื่อใช้ ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนร้ทู ีเ่ หมาะสมกับสภาพของห้องเรียน ธรรมชาติวิชา เหมาะสมกบั ครู และผูเ้ รียนมรี ะบบส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศทที่ ันสมยั สะดวกในการใชง้ านเพื่อศึกษา คน้ ควา้ ใชใ้ นการ จดั การเรียนการสอนของครู ใชใ้ นการเรยี นรู้ สืบค้นข้อมลู ของผ้เู รยี น มีความปลอดภยั เพียงพอและมี ประสิทธิภาพสารสนเทศ มีข้อมลู สารสนเทศท่ีมคี วามถกู ต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ และ ดาเนินการอย่างเปน็ ระบบโดยโรงเรียนจัดเก็บสารสนเทศในลกั ษณะของสารสนเทศกล่มุ สาระการเรียนรู้ สารสนเทศกล่มุ งาน/ฝ่าย จากน้ันสง่ ตอ่ ไปยงั ระบบสารสนเทศของโรงเรยี นทจี่ ะเปน็ ผ้รู วบรวม สรุปและ รายงานข้อมลู สารสนเทศต่อไป นอกจากนี้ โรงเรยี นยังจัดเก็บขอ้ มูลสารสนเทศในรปู แบบออนไลนใ์ หค้ ณะครแู ละผูเ้ รียนได้กรอก ผลงาน รางวลั ท่ไี ด้รับทั้งของตนเองและของกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทงั้ ผลการพฒั นาตนเองในรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ การประชุม สมั มนา การอบรมการศึกษาต่อ การศึกษาดงู าน การเปน็ วิทยากรและการเปน็ คณะกรรมการในระดบั ต่าง ๆ ท้ังนี้ เพ่ือความสะดวก รวดเร็วในการนาสง่ ข้อมลู และยังสง่ เสรมิ ให้ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผ้เู รยี นได้ใช้ความร้คู วามสามารถและทักษะในการสอื่ สารโดยใชส้ ื่อเทคโนโลยไี ด้ อยา่ งเหมาะสม อีกทั้งเป็นการเพิม่ ช่องทางในการนาส่งข้อมลู ท่หี ลากหลาย ทันสมยั และดาเนนิ งานตามสภาพ จรงิ 3. จดุ เดน่ โรงเรียนไดก้ าหนดคา่ เป้าหมาย วสิ ยั ทศั นอ์ ย่างชัดเจน เพ่ือการจดั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ตามที่กาหนดไว้ โดยมแี ผนปฏิบัติการ การพัฒนาหลักสตู รของโรงเรยี น โครงสร้างการ บริหารงาน ปฏิทินวชิ าการ ใหเ้ ปน็ แนวทาง/ทศิ ทางในการบริหารและการจดั การไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเป็นไปตาม แผนที่กาหนดไว้ โดยมกี ารจดั องค์กร โครงสร้างการบริหารงานทีช่ ัดเจน
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 60 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนรับการอบรม นเิ ทศ ประเมินจากหนว่ ยงานต้นสังกัด อย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้การอบรมครู บคุ ลากรทางการศึกษา เพ่ือใหพ้ ฒั นา เพมิ่ พูนความรู้ โดยการประชมุ อบรม ส่งผลใหค้ รู บคุ ลากรทางการ ศึกษา พฒั นาสือ่ นวัตกรรม และกระบวนการจดั การเรยี นรู้ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ นาไปใช้สอนนักเรยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และมีรายงานการวิจยั เชงิ ปฏิบัติการในช้นั เรียน โรงเรียน มีอาคารเรยี นเพ่ิมขน้ึ มหี ้องเรียนคณุ ภาพ มหี ้องปฏิบัติการที่มีประสิทธภิ าพ อาทิ หอ้ งปฏิบตั ิการภาษา หอ้ งศนู ย์อาเซียนศกึ ษา ห้องเรียนสีเขยี ว ห้องโสตทศั นปู กรณ์ ห้องปฏิบัติการดนตรีไทย ดนตรีสากล หอ้ งปฏบิ ัติการนาฏศิลป์ หอ้ งคหกรรม และธนาคารโรงเรียน แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรมู้ ีหอ้ งสมดุ ประจา กลมุ่ สาระฯ 4. จุดควรพฒั นา 1) โรงเรียนควรพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศ และระบบงานเทคโนโลยีให้ครอบคลุมทกุ กลมุ่ งาน เพื่อพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการดาเนินการจัดการศึกษา 2) โรงเรียนตอ้ งมีการวางแผนดา้ นอัตรากาลงั ครู ให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการของผเู้ รียน 3) ควรมกี ารปรับปรงุ พ้ืนที่ บริบทสงิ่ แวดลอ้ มโรงเรียน ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ ความต้องการ ผเู้ รียน ส่งเสรมิ พฒั นาแหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรียน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ระดับคุณภาพ : ยอดเยยี่ ม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นประสาทวิทยาคารพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาขนึ้ ให้สอดคล้องกับสภาพบรบิ ทของ สถานศึกษาและความต้องการของผ้เู รยี นผูป้ กครอง สอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชน อยา่ งมีคุณภาพ ได้ มาตรฐานสากล และยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน มีกระบวนการ เรียนการสอนท่สี รา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นทุกคนมีสว่ นร่วม ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุมนมุ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น เพอ่ื ให้นักเรยี นท่ีมคี วามสนใจได้เลอื กอยา่ งหลากหลาย การจัดการเรยี นการสอนท่ีเช่ือมโยงกับบรบิ ทของ ชมุ ชนและท้องถิ่น มีการบูรณาการความรู้ โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั โรงเรียนประสาทวิทยาคาร มีการตรวจสอบและประเมินความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และมีประสทิ ธภิ าพ มีกจิ กรรมการศึกษาจากแหลง่ เรียนรู้อ่ืน ๆ นกั เรียนไปศึกษาและคน้ คว้านอกสถานท่ี และ นาวทิ ยากรทม่ี ีความรู้ในชมุ ชนใหค้ วามรใู้ นสถานศึกษา การวิจัยในช้ันเรยี นได้ มกี ารใช้แหลง่ เรยี นรูแ้ ละ วทิ ยากรในท้องถิ่นมาให้ใช้ประกอบการเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีโครงการจะเปน็ การกาหนด ทศิ ทางและเปา้ หมายการจัดการเรียนการสอนของครู กาหนดกิจกรรมท่ีต้องดาเนนิ การเพือ่ นาไปสู่เป้าหมาย และประเมินผลเมือ่ เสร็จสน้ิ โครงการ และโครงการพฒั นาครูท้ังระบบที่มีกิจกรรมให้คณะครูไดท้ บทวนการ ปฏิบัตงิ านท่ผี ่านมา ร่วมกันแสดงความเหน็ และอภิปรายเก่ียวกับผลการจัดการศึกษาท่ผี ่านมา วิเคราะห์ จุดเด่น จุดดอ้ ย จุดท่คี วรพัฒนาในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ กล่มุ งานฝา่ ยบรหิ ารทั้ง 4 ฝา่ ย และร่วมกนั วางแผนพัฒนาการจดั การศึกษาในปีการศกึ ษาต่อไป
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 61 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 นอกจากนี้ ไดจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบบูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี งและภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ปรบั โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กาหนด คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ท่สี อดคล้องกับหน่วยการเรยี นรู้ มีการจดั กระบวนการเรียนการสอน โดยเนน้ ผเู้ รียน เปน็ สาคญั สนบั สนนุ ให้ครจู ดั การเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรยี นทุกคนมีส่วนรว่ ม ผา่ นกระบวนการคิด และไดล้ งมอื ปฏิบัตจิ ริงจนสรุปความรไู้ ด้ด้วยตนเอง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ได้ จัด กิจกรรมการเรยี นรู้ทีเ่ น้นทักษะการคดิ ด้วยโครงงาน การสรา้ งช้นิ งานอย่างเป็นขนั้ ตอน การประชุมวางแผน ดาเนินการ ประเมนิ ผลและสรปุ ผลงานของผเู้ รียน สง่ เสริมให้ครูใชส้ ื่อการเรยี นการสอน นวตั กรรมและ เทคโนโลยี ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ สอดคลอ้ งกับบริบทชุมชนและท้องถิ่น มกี ารประเมินคณุ ภาพและ ประสิทธภิ าพของส่ือการเรยี นรูท้ ใ่ี ช้ ครูมกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก โดยสร้างบรรยากาศใหเ้ ด็กรักครู ครูรกั เด็ก และทุกคนมีความรกั สามคั คีในหมคู่ ณะ คานงึ ถึงประโยชน์สว่ นรวมเปน็ สาคญั ดาเนนิ การวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบสะท้อนผลตามความเป็นจริง สง่ เสริมผู้เรยี นท่มี คี วามสามารถ สูงใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง สว่ นผเู้ รยี นที่มปี ญั หาในการเรียน ครจู ึงใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การ เรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) วิเคราะห์หาสาเหตขุ องปัญหาที่แท้จรงิ และหาแนวทางแก้ไขผเู้ รยี นใหเ้ หมาะสมและ ตรงจุดมากทีส่ ุด ครทู กุ คนจดั ทาวิจัยช้นั เรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรยี นอยา่ งน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง ชว่ งปลายภาคเรยี นโรงเรียนจดั ใหม้ ีแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการจัดการเรยี นการสอนของครทู ุกคน และให้ ขอ้ มลู ป้อนกลบั เพอื่ การปรบั ปรุง พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนให้มีคุณภาพย่ิงขึ้น โรงเรียนจัดโครงการ/ กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมสนบั สนุนเพ่ือพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ เช่น โครงการพฒั นาบุคลากร (OD) โครงการคา่ ยกจิ กรรมวชิ าการ 8 กลมุ่ สาระ กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O - netม. 6 กิจกรรมแรลลยี่ กระดบั ผลสมั ฤทธ์ขิ องสหวิทยาเขตพซิ ิต O - net กจิ กรรมการสอบแขง่ ขนั ทักษะทาง คณิตศาสตร์ การแข่งขนั คณิตศาสตรโ์ อลมิ ปกิ โครงการพัฒนาผ้เู รยี นหอ้ งเรียนพหุภาษา โครงการเตรยี ม ความพร้อมสู่มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานสากล โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจดั การเรยี นการสอนทุก กลมุ่ สาระ โครงการพัฒนาการสอนตามโครงการ Ed.Hub และSME กิจกรรมค่าย STEM โครงการวินยั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมนักเรียน โครงการวนั สาคญั ของชาติ โครงการส่งเสรมิ การจัดการศึกษา โครงการ กิจกรรมคุณธรรม โครงการค่ายกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน โครงการทัศนศึกษาแหล่งเรยี นร้นู อกสถานท่ี โครงการ พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและอนิ เทอรเ์ น็ต โครงการลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ กิจกรรม ภาษาตา่ งประเทศทสี่ อง เปน็ ตน้ โรงเรียนประสาทวทิ ยาคารมีการกากับตดิ ตาม การจัดการเรยี นการสอนของครู ใหบ้ รรลตุ าม เปา้ ประสงค์ เพ่ือให้เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณภาพการศกึ ษา และมาตรฐานสากล โดยนิเทศตดิ ตาม ไดแ้ ก่ 1) การนเิ ทศภายในโรงเรยี นโดยมีแบบบนั ทึกการนิเทศ 2) ครมู ีการกระบวนการเปดิ ช้นั เรียน (Lesson study) ของโรงเรียน มีการสะท้อนผลการจดั การเรียน โดยผ่านกระบวนการ PLC ทาให้ ได้บทเรียนและแผนการจดั การเรียนทีม่ ีคุณภาพ 3) การรบั นเิ ทศการติดตามจากสานักงานเขตพื้นท่ี 4) กจิ กรรม PLC ของครผู ูส้ อน ในกล่มุ สาระ และ PLC ระดบั ชั้นเรียน 2. ผลการพัฒนา จากการดาเนนิ โครงการ และกจิ กรรมเพอื่ พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญส่งผลให้ผู้เรยี นมีทกั ษะ พฒั นาการหลกั สตู รสถานศึกษา ทีจ่ ัดข้นึ สอดคล้องกบั สภาพบรบิ ทของ สถานศึกษาและความต้องการของผ้เู รียนผู้ปกครอง มกี ารจัดกจิ กรรมเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ และนาองค์ความรู้ ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง มาปรับใชใ้ นกิจกรรมการเรียนการสอน สอดแทรกทกุ รายวิชา สง่ เสริมการเรียน
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 62 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 ดา้ นอาชีพ ช่างยนต์ ช่างไฟฟ้า ธุรกจิ คอมพิวเตอร์ การปลกู ผัก เลย้ี งสัตว์ ตลอดจนการสง่ เสรมิ นักเรยี นมี ความสามารถในการวางแผนการทางานและมีความสขุ ในการทางาน มีความคดิ สร้างสรรคอ์ ย่รู ่วมกับบคุ คลอ่ืนได้ อยา่ งมีความสขุ การประเมินคุณภาพมาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มคี ุณภาพระดบั ยอดเยยี่ ม ครูสามารถวิเคราะหผ์ เู้ รียน วิเคราะหห์ ลกั สตู ร ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ จัดทา แผนการจัดการเรียนรู้ จัดหาและผลิตส่ือการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมในแตล่ ะเน้ือหาวิชา ออกแบบการวดั และ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ที่เหมาะสม ประเมินผลได้ตรงตามสภาพจริงและพฒั นาผูเ้ รียนดว้ ยกระบวนการวจิ ัยเปน็ ฐาน จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีเน้นให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง มคี ุณภาพระดับยอดเยย่ี ม มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ที่สามารถนาไปจดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ ผู้เรยี นได้รบั การฝกึ ทักษะแสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้ ส่งผลให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถและทักษะท่ีจาเปน็ ตาม หลักสตู ร เห็นไดจ้ ากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอน ทาให้ผเู้ รียนได้มสี ว่ นร่วมในการวเิ คราะหต์ นเอง มสี ่วนร่วมในการกาหนดเนื้อหาสาระ รว่ มออกแบบกิจกรรมทีส่ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนดั เปน็ รายบคุ คลอยา่ งเป็นรูปธรรมท้ังระบบ ครูผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชส้ ื่อและแหล่งเรยี นรภู้ ายใน โรงเรียนแล้วยังใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้จากแหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ครูสามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ รวมทงั้ ภูมิปัญญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจดั การเรยี นรู้ โดยสรา้ ง โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองจากส่ือที่หลากหลาย มีคณุ ภาพระดบั ยอดเย่ียม ครผู ูส้ อนสามารถ บริหารจดั การช้ันเรียน โดยเนน้ การมปี ฏิสัมพนั ธเ์ ชิงบวก ใชว้ าจาสภุ าพ กิริยาเหมาะสม มีจิตวทิ ยาในการ สอน สามารถสร้างแรงจงู ใจให้ผเู้ รยี นรักในการเรยี นรู้ มีปฏสิ มั พนั ธ์เชงิ บวกให้ผู้เรยี นรกั ครู ครูรกั ผู้เรียน และ ผเู้ รยี นรักสามัคคีกนั ผูเ้ รียนรกั ทจี่ ะเรยี นร้รู ว่ มกันอย่างมีความสุข มคี ุณภาพระดับยอดเยี่ยม ครสู ามารถ ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบ มีข้ันตอน ประเมินผลผ้เู รยี นตามสภาพจริง โดยใช้เครอื่ งมือและวิธกี ารวัดและประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกับผ้เู รียน เน้ือหาสาระ ธรรมชาติวชิ า ตัวชวี้ ดั และ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ โดยครูและผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการวดั ผลประเมินผลการเรียนรู้ มีคณุ ภาพระดับ ยอดเยย่ี ม จากนนั้ ครูผสู้ อนนาผลการประเมนิ เป็นข้อมูลย้อนกลับแกผ่ ้เู รยี นและคน้ หาแนวทางในการ พฒั นาการจัดการเรยี นรูต้ ่อไป ครผู ูส้ อนมกี ารพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง ครมู กี ระบวนการในการจดั การเรยี น การสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญตามธรรมชาติวิชา ครรู ู้จักผ้เู รยี นเป็นอย่างดี มคี วามรักความผูกพันระหว่าง ครแู ละศิษย์ ผูเ้ รยี นรักและศรัทธาในตัวครู ครูทุกคนมวี จิ ยั ช้นั เรยี นเพื่อพัฒนาผูเ้ รียน และทกุ สน้ิ ปีการศึกษา ครูสามารถประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองเพื่อเป็นข้อมลู สารสนเทศในการพฒั นาตนเองในการพฒั นา คณุ ภาพการจดั การศึกษาต่อไป มคี ณุ ภาพระดบั ยอดเยี่ยม นอกจากน้ี ครผู ู้สอนได้รบั รางวลั ดีเด่นดา้ นการ จัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ และการเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่ผเู้ รียน ได้แก่ รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWRDS) รางวัลครูศรปี ราสาท เป็นตน้ 3. จุดเด่น โรงเรียน มหี ลกั สตู รสถานศึกษาทีส่ อดคล้องกับสภาพบรบิ ทของสถานศกึ ษา และความต้องการของ ผ้เู รยี นและผปู้ กครอง สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน อยา่ งมคี ุณภาพ ไดม้ าตรฐานสากล และยึดหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน มีกระบวนการเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสให้ ผเู้ รยี นทกุ คนมสี ่วนร่วม มกี ารประชมุ เพอื่ วางแผน จดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร มปี ฏิทินการศกึ ษาท่ีระบไุ ว้อยา่ งชัดเจน มี การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั และการบรู ณาการ สง่ ผลให้ผเู้ รียนได้พัฒนาตนเอง
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 63 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 อย่างเตม็ ศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล โดยครมู คี วามต้ังใจ ม่งุ ม่ันพฒั นาการสอนและรบั ผดิ ชอบในการ ปฏบิ ัตงิ านอยา่ งดี ครผู ู้สอนที่จดั กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยเนน้ กระบวนการคิด ปฏิบตั ิไดจ้ ริง จดั การเรียนการ สอนท่สี ร้างโอกาสใหผ้ ้เู รยี นทุกคนมสี ่วนรว่ ม กระตนุ้ ใหผ้ ้เู รียนมนี สิ ัยใฝ่เรยี นรู้ และ นาเสนอ แลกเปล่ยี น เรยี นรู้ระหวา่ งกัน มกี ารส่งเสรมิ ใหน้ าเทคโนโลยไี ปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ครผู สู้ อนมวี ธิ กี าร และใช้สือ่ การสอน มแี หลง่ เรียนรหู้ ลากหลาย มเี นื้อหาทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ จดั การเรยี นการสอนท่ียึดโยง กับบริบทของชุมชนและท้องถ่ินและครูผู้สอนมีกระบวนการวัดผลประเมนิ ผลการเรยี นรูอ้ ย่างเป็นระบบ มีการ กากบั ตดิ ตาม การจัดการเรียนการสอนของครู ให้บรรลุตามเป้าประสงค์ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพ การศึกษา และมาตรฐานสากล โดยนเิ ทศตดิ ตามในโรงเรียน ครมู ีการกระบวนการเปิดชัน้ เรียน (Lesson study) ของโรงเรียน มกี ารสะท้อนผลการจัดการเรียน จากการนิเทศภายใน คณะครู ผ้อู านวยการ โดยผา่ น กระบวนการ PLC ทาให้ไดบ้ ทเรยี น และแผนการจัดการเรียนที่มคี ุณภาพ และรับนเิ ทศจากหน่วยงาน ภายนอก ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการ การตดิ ตามจากสานกั งานเขตพนื้ ท่ี เป็นต้น 4. จดุ ควรพัฒนา 1) โรงเรยี นควรสง่ เสริมจัดหา และพัฒนาแหลง่ สารสนเทศ ภายในโรงเรียนเพอ่ื ให้นักเรียน ไดส้ ืบค้น ค้นควา้ หาความรไู้ ด้อย่างหลากหลาย 2) ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้การบูรณา การกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 3) ควรสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น และครมู ีเวลา ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน อยา่ ง เตม็ เวลา
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 64 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมินตนเองในภาพรวมของสถานศึกษา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอย่ใู นระดบั คณุ ภาพยอดเย่ยี ม จากผลการดาเนินงาน โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนประสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2563 ส่งผลให้โรงเรียนสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลสาเร็จ จากผลการประเมิน สรปุ ว่ามคี ณุ ภาพระดบั ยอดเยี่ยม โดยมีคุณภาพระดบั ยอดเยีย่ มท้ัง 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ ของผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ท้ังนี้ ข้อมูลท่ีเป็นจุดเด่นของโรงเรียนยังสะท้อนถึงคุณภาพของการจัด การศึกษาของโรงเรยี นสอดคลอ้ งกับผลการประเมินตนเอง อย่างไรก็ตาม การประเมินตนเองของโรงเรียนถือ เป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญท่ีโรงเรียนจะต้องนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนาไปสู่การเช่ือมโยงหรือ สะท้อนภาพความสาเร็จกับ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน (3-5 ปี) และนาไปใช้ในการวางแผน พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ดังนั้น จากผลการดาเนินงานของโรงเรียน สามารถสรุปผลการ ประเมนิ ในภาพรวมของจุดเดน่ จุดที่ควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน แนวทางการพัฒนาในอนาคต พร้อมทั้ง ความต้องการการช่วยเหลอื ได้ดังนี้ จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น ด้านคณุ ภาพผูเ้ รียน 1) โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์ 1) โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ควรมี มคี วามพร้อมด้านผ้เู รยี น ครู และบุคลากรทางการ วิธกี ารดาเนินการพัฒนาผูเ้ รียนดา้ นการ ศึกษา ทัง้ สือ่ อุปกรณเ์ ทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน และผลการ ทดสอบระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O - NET) ใหม้ ี 2) ผู้ปกครอง และชุมชนให้ความร่วมมอื คะแนนเฉลีย่ ใหส้ ูงขนึ้ สนับสนุนในการจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ อย่างดี ตลอดจน การรว่ มกิจกรรมของโรงเรียน ทาให้เกดิ การ 2) ครูผูส้ อนควรมีการออกแบบและ พัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนร้ขู อง ผู้เรียนท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และตรงตามสภาพจรงิ 3) ผู้เรียนมีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง สว่ น ใหญม่ สี ดั ส่วนนา้ หนกั และสว่ นสูงเป็นไปตามเกณฑ์ 3) โรงเรยี นควรจัดกจิ กรรมการเรยี น ส่วนใหญ่มีครอบครวั ที่อบอนุ่ ได้รบั การเอาใจใส่ การสอนให้กบั ผู้เรียน ได้เรียนรู้เพิม่ เติม หรือ อบรมเล้ียงดทู ่ีถูกตอ้ งมีสว่ นในการสร้างภูมิคุ้มกนั นอกเวลา เพ่ือช่วยพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการ เกย่ี วกบั ยาเสพติดใหโ้ ทษ เรียนของผเู้ รยี นให้สูงขึ้น 4) โรงเรียนจดั โครงการส่งเสรมิ ศกั ยภาพ 4) โรงเรียนควรจดั กจิ กรรมสง่ เสริม ผูเ้ รยี น มกี ารจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นอยา่ ง คณุ ธรรม จริยธรรม ตามอตั ลักษณ์ของโรงเรียน หลากหลาย เนน้ ระเบียบ วนิ ัย ใหก้ บั ผเู้ รียน 5) ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง จากแหลง่ เรียนรู้ ตา่ ง ๆ คน้ ควา้ นาเสนอผลงาน อย่างสรา้ งสรรค์
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 65 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนา ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การของ สถานศึกษา ผูบ้ ริหารสถานศึกษา 1) โรงเรียนได้กาหนดค่าเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ 1) โรงเรียนควรพัฒนาระบบข้อมูล อย่างชดั เจน เพื่อการจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน สารสนเทศ และระบบงานเทคโนโลยีให้ ใหม้ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐานสากล ครอบคลุมทกุ กล่มุ งาน เพื่อพัฒนางานให้มี 2) โรงเรียนรบั การอบรม นิเทศ ประเมินจาก ประสทิ ธภิ าพและเพื่อความสะดวกรวดเรว็ ใน หน่วยงานต้นสังกัด อย่างสมา่ เสมอ การดาเนนิ การจัดการศึกษา 3) การอบรมครู บุคลากรทางการศกึ ษาเพ่อื ให้ 2) โรงเรยี นต้องมีการวางแผนด้าน พัฒนา เพิม่ พนู ความรู้ โดยการประชมุ อบรม ส่งผลให้ อตั รากาลงั ครู ใหเ้ พียงพอต่อความต้องการ ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา พัฒนาสอ่ื นวัตกรรม และ ของผูเ้ รยี น กระบวนการจัดการเรียนรู้ จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ 3) ควรมกี ารปรับปรุงพ้ืนที่ บรบิ ท ท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั สิง่ แวดล้อมโรงเรียน ตลอดจนส่งิ อานวยความ 4) พัฒนางานดา้ นวิชาชีพของตนเองจนไดร้ บั สะดวกเพียงพอต่อความต้องการผ้เู รยี น การยกย่องเป็นครูแกนนา ครูตน้ แบบ สง่ เสรมิ พัฒนาแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น 5) ห้องปฏิบัตกิ ารที่มีประสทิ ธภิ าพ อาทิ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารภาษา ห้องศนู ย์อาเซียนศึกษา หอ้ งโสตทัศนปู กรณ์ หอ้ งปฏิบตั กิ ารดนตรีไทย ดนตรีสากล ห้องปฏิบตั กิ ารนาฏศลิ ป์ ห้องคหกรรม ห้องเรียนสีเขียว และธนาคารโรงเรยี น แต่ละกลมุ่ สาระ การเรยี นรูม้ หี อ้ งสมุดประจากลมุ่ สาระฯ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ เป็นสาคญั ผู้เรียนเปน็ สาคญั 1) มหี ลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกบั สภาพ 1) โรงเรียนควรส่งเสริมจัดหา และ บรบิ ทของสถานศึกษาและความตอ้ งการของผูเ้ รยี น พฒั นาแหล่งสารสนเทศ ภายในโรงเรยี น และผปู้ กครอง สอดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชน เพือ่ ให้นกั เรียนไดส้ ืบคน้ ค้นคว้าหาความรไู้ ด้ อย่างมีคุณภาพ ไดม้ าตรฐานสากล และยึดหลกั ปรัชญา อย่างหลากหลาย 2) ส่งเสริมและสนบั สนุนให้บุคลากร ของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในกิจกรรมการเรยี นการ สอน มกี ารพฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอน 2) มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เนน้ โดยใช้การบูรณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 3) ควรส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนและครูมี ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ และการบูรณาการ 3) มีการกากบั ตดิ ตาม การจดั การเรียนการสอน เวลา ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นการ ของครทู ่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยการนิเทศภายใน ครูมกี าร สอนในห้องเรยี น อยา่ งเต็มเวลา เปิดช้นั เรียน (Lesson study) และสะท้อนผลการ จดั การเรียน โดยผา่ นกระบวนการ PLC
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 66 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 แนวทางการพฒั นาในอนาคต ด้านคุณภาพผู้เรียน 1. พัฒนา และสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการของผูเ้ รยี น 2. พัฒนาผู้เรียนให้มีผลสมั ฤทธิ์ และผลการทดสอบระดบั ชาติ ให้สูงข้นึ อยา่ งต่อเน่ือง 3. พฒั นาเครื่องมือในการวัดผล และประเมินผลให้มีคณุ ภาพตามศกั ยภาพของผเู้ รียน และแก้ปัญหา ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนโดยใชว้ ธิ กี าร PLC และกระบวนการวจิ ัยในช้นั เรียน ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ 1. พฒั นากระบวนการจดั การเรยี นการสอน ใหก้ ับผู้เรยี นได้อยา่ งเตม็ เวลา ตามหลักสตู รของ สถานศกึ ษาท่ีกาหนด 2. พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ ตลอดจน สญั ญาณในการสบื ค้นข้อมูลใหบ้ ริการอยา่ งท่วั ถงึ 3. พฒั นากระบวนการนิเทศการติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครูอย่างเปน็ ระบบ ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั 1. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ นาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น และปรับปรุงการจัดการ เรยี นรู้ 2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบบูรณาการ ทชี่ ว่ ยส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมที กั ษะ การคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการท่เี ปลี่ยนแปลงขึ้นตลอดเวลาในสงั คมปัจจบุ นั 3. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนอย่างหลากหลาย ในรูปแบบออนไลน์ เพอ่ื ให้ทนั ต่อการ เปลย่ี นแปลง ความต้องการการชว่ ยเหลอื ด้านวิชาการ 1. การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร ในด้านการจดั การเรียนการสอน ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ (O – net) ใหม้ ีคะแนนท่ีสูงขึ้น 2.พัฒนาแบบทดสอบใหม้ ีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ ตามแนวทางของการประเมิน การ ทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐาน (O – net) และการทดสอบโดยใชข้ ้อสอบมาตรฐานปลายปีการศกึ ษา(ข้อสอบ กลาง ม. 1 และม.2) ด้านบุคลากร 1. จดั สรรอตั รากาลังดา้ นครูผูส้ อนใหเ้ พยี งพอ ดา้ นงบประมาณ 1. จัดสรรงบประมาณดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. จดั หางบประมาณ และจดั จัดสรรเพื่อพฒั นาแหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรียนใหเ้ พยี งต่อความ ต้องการ ดา้ นอาคารสถานที่ 1. พฒั นาห้องเรียนคณุ ภาพ ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความต้องการของผูเ้ รยี น 2. ปรับปรุงห้องสุขาให้เพียงพอต่อความตอ้ งการของผู้เรียน และชุมชนท่มี าใชบ้ ริการ
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 67 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 ภาคผนวก
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 68 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร สหวิทยาเขต๗ ปราสาทเชงิ พนม ตาบล กงั แอน อาเภอ ปราสาท จังหวัด สรุ นิ ทร์ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 69 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 คานา การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นกระบวนการที่สร้างความมั่นใจแก่ทุกฝ่าย ว่าการจัด การศึกษาทุกระดับมีคุณภาพและจะคงรักษาไว้ซึ่งมาตรฐานกระทรวงศึกษาธิการจึงให้มีการปฏิรูประบบการ ประเมินและการประกนั คุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดให้มีจานวนน้อยลง กระชบั และสะท้อนถงึ คณุ ภาพอย่างแท้จรงิ เน้นการประเมินตามสภาพจรงิ ไมย่ ุ่งยาก สร้างมาตรฐานระบบการ ประเมิน เพื่อลดภาระการจัดเก็บข้อมูล ลดการจัดทาเอกสารที่ใช้ในการประเมิน รวมท้ังพัฒนาผู้ประเมิน ภายในให้มีมาตรฐาน มีความน่าเช่ือถือ สามารถให้คาชี้แนะและให้คาปรึกษาแก่สถานศึกษาได้มาตรฐาน การศึกษาข้นั พ้ืนฐานทป่ี รับใหมจ่ งึ มจี านวนไม่มาก แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพของสถานศึกษาจะเน้นการเก็บ ข้อมูลในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา ไม่เพิ่มภาระการจัดทาเอกสารให้สถานศึกษาปรับกระบวน ทัศน์ในการประเมินท่ีมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาบนพ้ืนฐานบริบทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาทุนมนุษย์และเป็นเป้าหมายสาคัญท่ีสุดท่ีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกคนในสถานศึกษาต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าท่ีที่รับผิดชอบให้บรรลุถึงเป้าหมายคือมาตรฐานที่ สถานศกึ ษากาหนดและร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษาทเ่ี กดิ ขึ้น (accountability) โรงเรียนประสาทวิทยาคาร จึงได้ดาเนินการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สาหรับ ดาเนนิ งานตามนโยบายและจุดเน้นในระดบั สถานศึกษา โดยให้มคี วามเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับมาตรฐาน การศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการทปี่ ระกาศให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เมื่อวันที่ ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ ทงั้ น้ีโรงเรยี นได้พฒั นามาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา และ ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาและกาหนดคา่ เป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษา สาหรับใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น ตั้งแตภ่ าคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ เป็นต้นไป โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ขอขอบคุณ คณะทางานกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ทกุ ท่าน ท่มี สี ว่ นรว่ มในการจดั ทามาตรฐานการศึกษาและกาหนดค่าเปา้ หมายสาหรบั การพัฒนาในคร้ังน้ีและหวัง วา่ เอกสารฉบบั นี้จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครูผสู้ อน ผทู้ ี่เกยี่ วข้องทุกฝา่ ย ในการดาเนนิ งานใช้ มาตรฐานการศึกษาเพ่ือพฒั นา ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กากับดูแลและตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทสี่ ่งผล ต่อคุณภาพผ้เู รยี นต่อไป โรงเรียนประสาทวิทยาคาร กรกฎาคม ๒๕๖๓
รายงานประจาปีของสถานศึกษา 70 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 วสิ ัยทศั น์ (VISION) “จดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานอยา่ งมคี ุณภาพ เพื่อเปน็ ศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค เทยี บเคียง มาตรฐานสากล และยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกจิ (MISSION) ๑. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานให้มีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ๒. สง่ เสริมและสนับสนนุ การจดั การศึกษา ให้เปน็ ศนู ย์กลางการศึกษาในภูมิภาค ๓. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษา ให้สอดคล้องตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ (GOAL) ๑. นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการเหมาะสมตามช่วงวยั และมคี ุณภาพ ๒. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีความตระหนัก ทกั ษะที่เหมาะสม และมีวฒั นธรรมการทางานท่ี มุ่งเน้นผลสมั ฤทธ์ิ ๓. ผู้บริหารสถานศกึ ษามีศกั ยภาพ ขบั เคล่ือนการจัดการศึกษาสมู่ าตรฐานสากล เป็นศูนย์กลาง การศึกษาในภมู ภิ าคตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. พัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นต้นแบบการจดั การศึกษาเปน็ ศนู ย์กลางการศกึ ษาในภูมภิ าค ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และได้มาตรฐานสากล ประเด็นกลยทุ ธ์/กลยุทธ์ (STRATEGY ISSUES) ๑. พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นในระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๒. เพ่มิ ศักยภาพ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๓. พฒั นาระบบการบริหารจดั การโดยใชห้ ลักการมสี ่วนร่วม (อ้างอิง : แผนพัฒนาการศึกษาโรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ หนา้ ๗๖)
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 71 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา 2563 จุดเน้นการจดั การศึกษา กลยทุ ธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น จุดเน้น ๑. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ๕ กลมุ่ สาระวชิ าหลกั เพ่ิมข้ึนอย่างนอ้ ย ร้อยละ ๓ และกลมุ่ สาระ วชิ าอน่ื ๆ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓ ๒. เพมิ่ ศักยภาพนักเรียนดา้ นคณิตศาสตร์ ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและภาษาองั กฤษ กลยทุ ธ์ที่ ๒ พัฒนาศักยภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จุดเน้น ครู ผู้บริหาร และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาเตรยี มความพร้อมสูป่ ระชาคม อาเซยี น มีภูมิคุ้มกนั ต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหวุ ัฒนธรรม กลยุทธท์ ี่ ๓ พฒั นาระบบบริหารจดั การโดยใชห้ ลักการมสี ่วนร่วม จดุ เน้น เปิดโอกาสให้ผมู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องกบั การจดั การศึกษา ได้เขา้ มามสี ่วนคดิ ตดั สนิ ใจ รว่ มวางแผน รว่ มทางานในการบริหารโรงเรยี น เพื่อให้บรรลุเปา้ หมาย
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 72 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 ประกาศโรงเรยี นประสาทวิทยาคาร เรอ่ื ง การใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ......................................................... โดยทม่ี ีการประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ปรับปรุงใหม่ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่อื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือการ ประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกาศคณะกรรมการการประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้น พ้นื ฐาน เร่อื ง กาหนดหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน นโยบายการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษที่สองท่ีกาหนดเปา้ หมายและยุทธศาสตรอ์ ยา่ งชัดเจนในการพฒั นา คณุ ภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมทงั้ อตั ลักษณ์และจดุ เนน้ ของสถานศึกษา โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐาน โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ กีย่ วข้อง ท้งั บุคลากรทุก คนในโรงเรยี น ผูป้ กครอง และประชาชนในชมุ ชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกนั เพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการศึกษา การประเมินคุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร จึงประกาศการใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพืน้ ฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ เพอื่ เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน และการประเมนิ คุณภาพภายใน ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๓ วา่ ที่ ร.ต. (อภินันท์ จันทเขต) ผ้อู านวยการโรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร (นายโรจนินทร์ หิรญั โชคอนนั ต)์ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 73 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน แนบท้ายประกาศโรงเรียนประสาทวิทยาคาร เรอื่ ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน เพ่อื การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนประสาทวิทยาคาร อาเภอปราสาท จังหวดั สรุ ินทร์ ลงวนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๒ มีจานวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น ๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั มาตรฐานการศึกษาในแตล่ ะระดบั กาหนดเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี ๕ ระดบั คือ ๑ หมายถงึ ระดับกาลังพฒั นา ๒ หมายถงึ ระดับปานกลาง ๓ หมายถึง ระดับดี ๔ หมายถงึ ระดบั ดีเลศิ ๕ หมายถงึ ระดับยอดเย่ยี ม แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดงั นี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน ๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ ๒) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความ คดิ เห็น และแกป้ ัญหา ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๕) มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชีพ ๑.๒ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผูเ้ รียน ๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ีตามทีส่ ถานศึกษากาหนด ๒) ความภมู ใิ จในท้องถิน่ และความเป็นไทย ๓) การยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 74 โรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๒.๑ มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเี่ อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ ๓.๒ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 75 โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 ประกาศโรงเรียนประสาทวิทยาคาร เร่ือง กาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา -------------------------------------- โดยทมี่ ีประกาศใชก้ ฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง ใหใ้ ช้มาตรฐาน การศึกษาขั้นพืน้ ฐานเพอื่ การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อใหก้ ารพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นประสาทวิทยาคาร มคี ณุ ภาพและได้ มาตรฐาน จึงกาหนดค่าเปา้ หมายระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ตามเอกสารแนบท้าย ประกาศน้ี ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ วา่ ที่ ร.ต. (อภินันท์ จนั ทเขต) ผู้อานวยการโรงเรียนประสาทวทิ ยาคาร
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 76 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศึกษา 2563 กาหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ เปรยี บเทยี บคา่ เป้าหมาย ค่าเปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา (ร้อยละ/ระดบั (ร้อยละ/ระดบั มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน คุณภาพ) คุณภาพ) ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สาร และการ คดิ คานวณ ระดบั ยอดเย่ยี ม ระดบั ยอดเย่ยี ม ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ ระดบั ยอดเยยี่ ม ระดบั ยอดเย่ยี ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา รอ้ ยละ ๙๕ ได้ รอ้ ยละ ๙๕ ได้ ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ระดบั ดีขนึ้ ไป ระดับดขี น้ึ ไป ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ร้อยละ ๙๕ ได้ รอ้ ยละ ๙๕ ได้ ๕) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับดีขน้ึ ไป ระดบั ดขี ึ้นไป ๖) มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชีพ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ ๑.๒ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ระดับดีขึ้นไป ระดบั ดีขึ้นไป ๑) การมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทีด่ ตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ ๒) ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย ระดับดีขน้ึ ไป ระดับดีขนึ้ ไป ๓) การยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ ๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม ระดบั ดขี น้ึ ไป ระดับดขี ึ้นไป ร้อยละ ๙๕ ได้ รอ้ ยละ ๙๕ ได้ ระดบั ดขี ึ้นไป ระดบั ดขี น้ึ ไป ระดับยอดเยี่ยม ระดบั ยอดเยย่ี ม ร้อยละ ๑๐๐ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ ระดับดีข้ึนไป ระดับดขี ึ้นไป รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ ระดบั ดขี ึ้นไป ระดับดขี น้ึ ไป ร้อยละ ๑๐๐ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ ได้ ระดับดีขน้ึ ไป ระดบั ดีข้นึ ไป ร้อยละ ๑๐๐ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ ได้ ระดบั ดขี ึ้นไป ระดบั ดขี น้ึ ไป
รายงานประจาปีของสถานศกึ ษา 77 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 เปรียบเทียบคา่ เป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน / ประเดน็ พิจารณา (ร้อยละ/ระดบั (ร้อยละ/ระดับ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ คณุ ภาพ) คณุ ภาพ) ๒.๑ การมีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากาหนด ชัดเจน ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตาม ระดับยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเยี่ยม หลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ ระดับยอดเย่ียม ระดบั ยอดเยี่ยม ๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือตอ่ การจดั การ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ระดบั ยอดเย่ียม ระดบั ยอดเยย่ี ม ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ าร ระดับยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเยยี่ ม จดั การและการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี น ระดบั ยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเย่ียม เปน็ สาคญั ระดับยอดเยี่ยม ระดบั ยอดเยยี่ ม ๓.๑ จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และ สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ ระดับยอดเยย่ี ม ระดบั ยอดเยีย่ ม ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการ เรยี นรู้ ระดับยอดเย่ยี ม ระดบั ยอดเยยี่ ม ๓.๓ มีการบริหารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก จานวนครู ระดบั ดี จานวนครู ระดบั ดี ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมา ขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๙๘ ขน้ึ ไป ร้อยละ ๙๘ พัฒนาผเู้ รยี น ๓.๕ มีการแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนา จานวนครู ระดับดี จานวนครู ระดบั ดี และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ข้ึนไป รอ้ ยละ ๑๐๐ ขึ้นไป รอ้ ยละ ๑๐๐ จานวนครู ระดบั ดี จานวนครู ระดบั ดี ขึ้นไป รอ้ ยละ ๑๐๐ ขึน้ ไป รอ้ ยละ ๑๐๐ จานวนครู ระดบั ดี จานวนครู ระดับดี ขึน้ ไป ร้อยละ ๑๐๐ ข้นึ ไป ร้อยละ ๑๐๐ จานวนครู ระดับดี จานวนครู ระดับดี ขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๙๕ ขนึ้ ไป ร้อยละ ๙๕
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 78 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศึกษา 2563 คาสง่ั โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ที่ ๓๐๖ / ๒๕๖๓ เรอ่ื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา และกาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ระบุให้การประกนั คุณภาพการศึกษาเปน็ สว่ น หนึง่ ของกระบวนการบริหารการศกึ ษาทกี่ าหนดใหส้ ถานศึกษาและหนว่ ยงานตน้ สังกดั ต้องดาเนินการอย่าง ต่อเนอื่ ง ท้งั ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก ในสว่ นของการประกนั คณุ ภาพภายในนัน้ ตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เรื่อง กาหนด หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ระบุให้ สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทางการในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นประสาทวิทยาคาร จะดาเนินการจัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพื่อเป็นแนว ทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โดยยึดหลกั การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนและหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้อง ทั้งภาครฐั และเอกชน จึงแตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มหี น้าทใี่ นการรว่ มประชมุ ปรึกษาหารือ และดาเนินการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ใหม้ ีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาชาติ ดังน้ี ๑. คณะกรรมการอานวยการ มีหน้าท่ี อานวยการประชุม แนะนา ให้คาปรกึ ษาเก่ียวกับมาตรฐานและเกณฑ์ การพจิ ารณา ประกอบดว้ ย ๑.๑ นายโรจนินทร์ หริ ญั โชคอนันต์ ประธานกรรมการสถานศึกษา ประธานกรรมการ ๑.๒ นายพลั ลภ แยม้ สงา่ นายกสมาคมครูและผปู้ กครอง รองประธานกรรมการ ๑.๓ นายอภิสิทธ์ิ สมนยิ ามรฐั นายกสมาคมศษิ ย์เก่า กรรมการ ๑.๔ นายชัชวาล คงเสมอ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑.๕ นางประชมุ พร สังข์นอ้ ย กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ ๑.๖ นางสาวพรนภา ธีระวงศ์ไพศาล กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ กรรมการ ๑.๗ นางอรุณรงุ่ พะเนตรรัมย์ กรรมการผู้แทนผูป้ กครอง กรรมการ ๑.๘ นายศิริ พลานุ กรรมการผู้แทนองคก์ รชมุ ชม กรรมการ ๑.๙ พระครูโกศล ธรรมรักคิต กรรมการผู้แทนองค์กรศาสนา กรรมการ ๑.๑๐ วา่ ที่ร้อยตรอี ภนิ ันท์ จันทเขต ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ ๑.๑๑ นายสมบรู ณ์ กะการดี ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
รายงานประจาปขี องสถานศึกษา 79 โรงเรียนประสาทวิทยาคาร ปกี ารศึกษา 2563 ๒. คณะกรรมการดาเนนิ การจัดทาค่าเปา้ หมาย มีหนา้ ที่ จดั ทาแบบฟอร์มเปรยี บเทียบค่าเป้าหมายสองปี ย้อนหลงั และรวบรวมคา่ เปา้ หมายที่ผู้เกีย่ วข้องกาหนดเทยี บเปน็ ภาพรวมของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย ๒.๑ วา่ ทีร่ อ้ ยตรอี ภนิ ันท์ จนั ทเขต ผู้อานวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ ๒.๒ นายธนัญฐ์ ศรันยูญาตวิ งศ์ รองผู้อานวยการสถานศึกษา รองประธานกรรมการ ๒.๓ นายบญุ สทิ ธ์ิ วานุนาม ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๔ นายสรุ ัตน์ โสมกุล ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๕ นางมลทิรา เอมกลาง ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๖ นายวสุเทพ ฉิมถาวร ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๗ นางรชั นี อดุ มสินานนท์ ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๘ นางเพญ็ นภา โสตยิ า ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๙ นางสาวจรุ ีพร ยอดอนิ ทร์ ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๑๐ นายยุทธภมู ิ มีพรหมดี ครู คศ.๑ กรรมการ ๒.๑๑ นายพลาจินตวรรธน์ ประดับศรี ครู คศ.๒ กรรมการ ๒.๑๒ นายยรรยงค์ โสติยา ครู คศ.๒ กรรมการ ๒.๑๓ นางสาวถริ วรรณ ระดมสุข ครู คศ.๑ กรรมการ ๒.๑๔ นายวชั รากร ใยแก้ว ครู คศ.๑ กรรมการ ๒.๑๕ นายสริ ิวฒั ก์ แสงกลา้ ครู คศ.๑ กรรมการ ๒.๑๖ นางพมิ พฤ์ ดี ประเสรฐิ สงั ข์ ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๑๗ นางวารณุ ี แกว้ สงั ข์ ครู คศ.๓ กรรมการ ๒.๑๘ นางมะลิวลั ย์ เปน็ สมรกั ษ์ ครู คศ.๒ กรรมการ ๒.๑๙ นายสมบูรณ์ กะการดี ครู คศ.๓ กรรมการและเลขานุการ ๒.๒๐ นางสาวอาภา ลัดดาไสว ครู คศ.๓ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๒.๒๑ นางสาวกนกพร กมลบรู ณ์ ครู คศ.๑ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ๒.๒๒ นางสาวอาไพศรี สบื เทพ ครู คศ.๒ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ ขอให้คณะกรรมการท่ีได้รับการแตง่ ต้งั ทุกคน ปฏิบัติหนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ใหบ้ รรลุตาม วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งาน เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ราชการ ท้ังน้ี ตงั้ แตว่ นั ที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ สง่ั ณ วันที่ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ วา่ ท่ี ร.ต. (อภินนั ท์ จันทเขต) ผอู้ านวยการโรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร
รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา 80 โรงเรยี นประสาทวทิ ยาคาร ปีการศกึ ษา 2563 คาสั่งโรงเรยี นประสาทวิทยาคาร ที่ ๒๓๖ / ๒๕๖๓ เรือ่ ง แต่งตง้ั คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ------------- พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๙ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ระบใุ หก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่กาหนดให้ สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ทั้งระบบการประกันคุณภาพภายใน และ ระบบการประกันคุณภาพภายนอก ในส่วนของการประกันคุณภาพภายในนั้น ตามประกาศคณะกรรมการ ประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ ประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙ ระบุให้สถานศึกษากาหนดมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษา เพื่อเปน็ แนวทางการในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เพื่อใหก้ ารพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาตามแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประสิทธิภาพ ตามระบบและหลักเกณฑ์ พร้อมท่ีจะรับการ ประเมินภายในจากหน่วยงานต้นสังกัด และรับการประเมินจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ดงั ต่อไปน้ี ๑. คณะกรรมการอานวยการ มีหนา้ ที่ อานวยการประชุม แนะนา ให้คาปรึกษาเกีย่ วกับมาตรฐานและเกณฑ์ การพจิ ารณา ประกอบดว้ ย ๑.๑ ว่าท่ีรอ้ ยตรอี ภนิ นั ท์ จันทเขต ผูอ้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๑.๒ นายธนัญฐ์ ศรนั ยูญาติวงศ์ รองผู้อานวยการ รองประธานกรรมการ ๑.๓ นายบุญสทิ ธิ์ วานนุ าม ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑.๔ นายสุรตั น์ โสมกลุ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑.๕ นางมลทิรา เอมกลาง ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ ๑.๖ นางสดุ ารตั น์ คงอินทร์ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ ๑.๗ นางพิมพ์ฤดี ประเสริฐสังข์ ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ ๑.๘ นางวารุณี แก้วสงั ข์ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ ๑.๙ นายสมบรู ณ์ กะการดี ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ ๑.๑๐ นางสาวอาภา ลัดดาไสว ครูชานาญการพิเศษ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร ๑.๑๑ นางสาวอาไพศรี สบื เทพ ครชู านาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๑.๑๒ นางสาวถริ วรรณ ระดมสุข ครู กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑.๑๓ นางสาวกนกพร กมลบูรณ์ ครู กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136