42 เรอ่ื งท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ความหมายและประโยชน์ของการชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การชาระเงิน (payment) คือ การส่งมอบเงินหรือโอนเงินผ่านช่องทางต่าง ๆ เพื่อซอื้ สนิ คา้ และบริการ หรือใช้ชาระหน้ี โดยสามารถใช้ส่ือการชาระเงินท่ีเป็นได้ทั้งเงินสดและ ไม่ใช่เงินสด ในบางคร้ังการชาระเงินอาจทาผ่านคนกลางท่ีเป็นผู้ให้บริการเพ่ืออานวยความ สะดวกและรักษาความปลอดภยั ของการทารายการ ซึง่ ผู้ให้บริการมีทัง้ ท่ีเป็นสถาบันการเงินและ มใิ ชส่ ถาบนั การเงนิ (non-bank) เงินสดเป็นสิ่งท่ีเราคุ้นเคยในการใช้จ่ายมากท่ีสุด จนนึกไม่ถึงว่าท่ีจริงแล้วการใช้ เงินสดนั้นไม่สะดวกหลายประการ เช่น ต้องเตรียมเงินสดให้เพียงพอในการซื้อสินค้า และหาก ยง่ิ พกพาจานวนมากกเ็ สีย่ งต่อการถูกปล้น ขโมย หรอื หากมองในมุมเจา้ ของกิจการ การรับชาระ ด้วยเงินสดอาจถูกยักยอกหรือขโมยได้ง่ายและตรวจสอบได้ยาก รวมถึงเสียโอกาสในการขาย สินค้าหากมีช่องทางให้ลูกค้าชาระค่าสินค้าเป็นเงินสดเพียงอย่างเดียว สาหรับมุมของประเทศ นัน้ เงินสดมีคา่ ใช้จ่ายในการจัดการค่อนข้างสงู เช่น ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดจากการผลิต การขนส่ง การ เก็บรักษา การตรวจนับ การคัดแยก และการทาลาย ถ้าเราหันมาช่วยกันใช้การชาระเงินทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Payment) จะชว่ ยลดภาระค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการได้ 2-3 เทา่ เลยทเี ดยี ว ความหมายการชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การส่งมอบหรือโอนเงินเพื่อซ้ือสินค้า และบริการ หรือชาระหน้ี ผ่านช่องทางต่าง ๆ ท่ีมีความสะดวกและรวดเร็วโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาช่วย ทั้งด้านสื่อที่ใช้ชาระเงินแทนเงินสด เช่น บัตรเอทีเอ็ม บัตรเดบิต บัตรเครดิต เงินอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงช่องทางการชาระเงินที่ใช้งานง่ายและรวดเร็ว เช่น ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยใชอ้ ปุ กรณ์ประเภทตา่ ง ๆ อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ทม์ อื ถือ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ
43 ประโยชนข์ องการชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ตอ่ ประชาชน ตอ่ เจา้ ของกจิ การ โอนเงินหรือชาระเงนิ ไดท้ ุกทท่ี ุกเวลา ไมต่ อ้ งเก็บเงนิ สดจานวนมากไว้ทร่ี ้านค้า ไมต่ อ้ งเสียเวลาและค่าใชจ้ ่ายในการ ลดปญั หาพนักงานยักยอกหรือขโมยเงิน เดินทาง จดั ทาบัญชไี ด้รวดเร็ว และมรี ะบบท่ี ปลอดภัย ไมต่ ้องกลัวเงินสดหายหรือ ตรวจสอบได้ ถูกขโมย มีทางเลือกใหล้ ูกคา้ ในการชาระเงนิ ได้ ตรวจสอบได้ มีหลักฐานชัดเจน หลายวธิ ี มรี ปู แบบการชาระเงินให้เลือกได้ ไม่จาเป็นต้องมีสถานที่หรือหนา้ ร้าน หลากหลายตามความสะดวก กข็ ายของได้ ขยายฐานลูกคา้ ได้กว้างขึน้ ไม่จากัดแต่ พนื้ ทีใ่ ดพื้นทีห่ น่งึ หรอื ในประเทศเท่านัน้ ต่อประเทศ ลดคา่ ใช้จา่ ยในการพิมพธ์ นบตั ร ลดค่าใช้จา่ ยในการบรหิ ารจัดการเงินสด เช่น การขนสง่ ธนบตั ร การหมนุ เวียนของเงนิ ในเศรษฐกิจมีความคลอ่ งตัว การคา้ และการชาระเงนิ ระหว่างประเทศทาได้สะดวกรวดเรว็ ข้นึ ลกั ษณะของบตั รเอทีเอม็ บัตรเดบิต บัตรเครดิต และเงนิ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ บัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่ือการชาระเงินท่ีถูกพัฒนาเพ่ือนามาใช้แทนเงินสด ปัจจบุ ันมดี ้วยกนั 4 ประเภท คือ บัตรเอทีเอม็ บตั รเดบิต บตั รเครดิต และเงินอิเลก็ ทรอนิกส์ เทคโนโลยีของบตั รอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บัตรอิเล็กทรอนิกส์มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ ซ่ึงจะทาให้เราสามารถใช้งานได้ อย่างปลอดภัยและหายกังวล โดยแบบด้ังเดิมเป็นบัตรแถบแม่เหล็ก (magnetic stripe) มี ลักษณะเป็นแถบสีดาคาดอยู่หลังบัตร กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ซ่ึงข้อมูลของผู้ถือบัตรจะ ถูกบันทึกอยู่ท่ีแถบแม่เหล็ก อย่างไรก็ดี ยังมีช่องโหว่ของการรักษาความปลอดภัยโดยอาจถูก มิจฉาชีพคัดลอกข้อมูลในบัตรผ่านเครื่องสกิมเมอร์ (skimmer) ได้ (หากเป็นบัตรเอทีเอ็มหรือ บัตรเดบิตจะต้องได้รหัสผ่านส่วนตัวของผู้ถือบัตร (PIN: personal identification number) 4 หรือ 6 หลักด้วยจึงจะใช้ได้) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาบัตรแบบชิป (chip) ซ่ึงข้อมูลจะถูกฝัง อยู่ในชิปด้านหน้าของบัตร โดยบัตรแบบนี้จะป้องกันการขโมยข้อมูลได้ดีกว่า เพราะมีการ เข้ารหัสข้อมูลทท่ี าใหย้ ากต่อการคดั ลอกหรอื ขโมยขอ้ มลู ในบตั ร ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงิน
44 1. บัตรเอทีเอม็ เป็นบตั รอิเล็กทรอนิกส์ท่ีธนาคารพาณิชย์ออกให้แก่ลูกค้า โดย ผูกกับบัญชีเงินฝากของเจ้าของบัตร เพื่อใช้ทาธุรกรรมทางการเงินผ่านเครื่องทารายการ อัตโนมัติแทนการเดินทางไปทาธุรกรรมที่ธนาคาร เช่น เคร่ืองเอทีเอ็ม (ATM : automated teller machine) ลักษณะเด่น ใช้บัตรเอทีเอ็มทาธุรกรรมการเงิน เช่น ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน/ สอบถามยอดเงนิ ในบัญชีทเ่ี ครอ่ื งทารายการอัตโนมตั ิ การทาธุรกรรมจะมีผลกบั ยอดเงนิ ในบัญชีเงินฝากทนั ที ใช้บัตรเอทีเอ็มควบคู่กับรหัสผ่านส่วนตัว (PIN) 4 หรือ 6 หลัก เพื่อทา ธุรกรรมทางการเงินที่เครื่องทารายการอัตโนมัติ ซ่ึงธนาคารพาณิชย์จะให้ผู้ถือบัตรกาหนด รหัสผ่านส่วนตัวหรือมอบรหัสผ่านส่วนตัวให้แก่ผู้ถือบัตร (ผู้ถือบัตรสามารถเปลี่ยนรหัสผ่าน สว่ นตวั ไดเ้ องในภายหลงั ) 2. บัตรเดบิต (debit card) เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่ธนาคารพาณิชย์ออก ให้แก่ลูกค้าโดยผูกกับบัญชีเงินฝากของเจ้าของบัตรและสามารถใช้งานได้เช่นเดียวกับบัตร เอทีเอ็ม แต่มคี ุณสมบตั ิที่เพิ่มขึน้ จากบตั รเอทีเอ็มตรงท่สี ามารถใช้ซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ ณ จุดขายและทางออนไลน์ได้ โดยผู้ถือบัตรสามารถสังเกตจุดท่ีรับบัตรได้จากตราหรือโลโก้ ทรี่ า้ นคา้ ตดิ หรอื แสดงไว้ เชน่ VISA, MasterCard, UnionPay ลักษณะเดน่ สามารถนาไปทาธุรกรรมทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็น ฝาก/ถอน/โอน/ ชาระเงินท่เี คร่อื งทารายการอัตโนมัตไิ ด้เหมอื นบัตรเอทเี อม็ ใช้ซื้อสินค้าและบริการ ณ จุดขายและออนไลน์ได้ โดยเม่ือใช้แล้ว ยอดเงนิ ที่ใชจ้ ่ายจะถกู ตัดจากบญั ชเี งินฝากทันที การใช้บัตรเดบิต มีท้ังแบบใช้ลายเซ็นและแบบกดรหัสผ่านส่วนตัวของ ผ้ถู อื บตั ร (PIN) ข้นึ อย่กู บั ระบบการใหบ้ ริการ การใชจ้ า่ ยผ่านบัตรเดบติ เป็นการใชเ้ งินของเราท่ีมีอยู่ในบัญชี จึงไม่สร้าง ภาระหนี้ ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ด้วยเรอ่ื งของเงิน
45 บัตรเดบิตมีจุดทแี่ ตกตา่ งจากบัตรเอทีเอม็ อย่างไร รู้หรือไม่วา่ หากคณุ ต้องการทาบัตรเดบติ ทธี่ นาคาร คณุ มีสทิ ธิเลอื กได้วา่ ต้องการประกันพ่วง หรือไม่ ซ่ึงธนาคารสามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์อื่นควบคู่กับผลิตภัณฑ์หลักของธนาคารได้ แต่จะบังคับขายไมไ่ ด้ ซงึ่ หากคณุ ต้องการบัตรธรรมดาท่ไี ม่พว่ งประกันสามารถแจง้ พนกั งานได้ 3. บัตรเครดิต (credit card) เป็นบัตรที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์หรือบริษัท ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิต (ผู้ออกบัตร) เพ่ือให้ผู้ใช้บริการ (ผู้ถือบัตร) นาไปใช้ชาระ ค่าสินค้าและบริการแทนเงินสดโดยไม่เกินวงเงินท่ีผู้ออกบัตรกาหนดไว้ โดยผู้ออกบัตรจะ จ่ายเงนิ ให้กับร้านค้าไปก่อน และจะเรียกเก็บเงินจากผู้ถือบัตรภายหลังตามระยะเวลาท่ีกาหนด (ดรู ายละเอียดเพ่มิ เติมไดจ้ ากหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง สินเชื่อ) 4. เงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Money) เราอาจได้ยิน e-Money ในชื่อเรียกอ่ืน ๆ เช่น บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ บัตรเติมเงินรถไฟฟ้า e-Wallet, e-Purse, Mobile money, e-Cash แม้จะมีช่ือเรียกต่างกันไป แต่ลักษณะท่ีเหมือนกัน คือ มูลค่าเงินจะถูกบันทึกอยู่ในสื่อ ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงิน
46 อิเลก็ ทรอนกิ ส์โดยอาจจะอยูใ่ นรูปของบัตรหรือบนเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ก็ได้ ซึ่งผู้ใช้บริการจะต้อง เติมเงินก่อนจงึ สามารถนาไปซือ้ สินคา้ และบริการตามร้านค้าทผี่ อู้ อก e-Money กาหนดได้ ตัวอย่าง e-Money ทใี่ ชใ้ นปจั จบุ ัน เช่น บัตรเติมเงินรถไฟฟ้า (บัตร Rabbit, บัตร MRT) บัตร smart purse ท่ีใช้ซ้ือสินค้าในร้าน 7-eleven อีกทั้งผู้ใช้บริการสามารถ ตรวจสอบมลู ค่าคงเหลอื ได้ ลกั ษณะเดน่ ผู้ใช้บรกิ ารเตมิ เงินได้ตามมูลคา่ ที่ตอ้ งการ ใหค้ วามสะดวกรวดเรว็ ในการใช้จา่ ย ไมต่ ้องพกเงินสด ข้อแนะนาในการใชบ้ ตั รอเิ ลก็ ทรอนิกส์ใหป้ ลอดภัย 1. เม่อื ได้รบั บัตรมาใหม่ให้รีบเซน็ ชื่อหลังบัตรทันที เพอ่ื ปอ้ งกันผอู้ น่ื นาไปแอบอ้าง 2. เก็บรักษารหัสบัตรไว้เป็นความลับ ไม่ตั้งรหัสท่ีคาดเดาง่าย และควรเปลี่ยน รหัสอยูเ่ สมอ 3. อย่าให้ข้อมูลส่วนตัวหรือเกี่ยวกับบัตรแก่ผู้ท่ีติดต่อเข้ามาทางโทรศัพท์หรือ อเี มล โดยที่เราไม่ไดเ้ ปน็ ผู้ตดิ ตอ่ ไปก่อน 4. ตรวจสอบความถูกต้องของรายการธุรกรรมทุกคร้ัง เช่น ยอดเงินที่ต้องชาระ รวมถึงตรวจสอบรายการใช้จ่ายเปน็ ประจาเมอื่ ไดร้ ับใบแจ้งหนี้ 5. สังเกตส่ิงแปลกปลอมที่อาจติดตั้งอยู่กับเคร่ืองเอทีเอ็ม เช่น กล้องขนาดเล็ก ที่อาจถูกตดิ อยู่บรเิ วณเคร่ืองเอทเี อ็ม หรืออุปกรณ์แปลกปลอมทีต่ ดิ อย่ตู รงช่องสอดบตั ร 6. หากมีรายการธุรกรรมทางการเงินที่เราไม่ได้ใช้เกิดข้ึน ให้รีบติดต่อผู้ออกบัตร เพอื่ ตรวจสอบทนั ที 7. เมื่อทาบัตรหายต้องรีบแจ้งอายัดบัตรทันที อย่างไรก็ดี บัตร e-Money โดยทัว่ ไปท่ีไมม่ ีการลงทะเบียน หากบตั รหายก็เหมอื นกับทาเงินหาย กจิ กรรมท้ายเรื่องท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 4 ทส่ี มุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนร)ู้ ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ
47 เรื่องที่ 5 ผ้ใู หบ้ ริการทางการเงนิ ในประเทศไทย ผู้ให้บรกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย ระบบการเงินเป็นกลไกสาคัญยิ่งในการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเศรษฐกิจ จากผู้ที่มีเงินออมไปยังผู้ต้องการเงินทุน ซึ่งจะก่อให้เกิดการลงทุน การผลิต และการจ้างงาน อันเป็นแรงขับเคลื่อนสาคัญที่ทาให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโต ซึ่งสถาบันการเงินมีบทบาท สาคัญอย่างมากในการเปน็ แรงผลักดนั ให้เกิดการเติบโตทางเศรษฐกจิ ผู้ให้บริการทางการเงินในประเทศไทย มีทั้งท่ีเป็นสถาบันการเงินที่รับฝากเงิน สถาบันการเงินที่ไม่ได้รับฝากเงิน รวมทั้งผู้ให้บริการท่ีไม่ใช่สถาบันการเงิน สามารถจาแนก ผู้ให้บริการทางการเงินไดต้ ามหนว่ ยงานทกี่ ากบั ดแู ล ดงั นี้ ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ด้วยเรื่องของเงิน
48 ผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ภายใตก้ ารกากับดแู ลของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติ เป็นธนาคารกลางของ ประเทศไทย มหี น้าท่หี ลัก ดังนี้ 1. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ ซึ่งครอบคลุมหน้าที่ใน การรักษาค่าเงิน เช่น ดูแลอัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปล่ียน และสภาพคล่องของ เมด็ เงนิ ในระบบเศรษฐกิจ 2. กากับดูแลสถาบันการเงินท่ีกฎหมายให้อานาจไว้ ให้มีความมั่นคงและ มีเสถียรภาพ เพ่ือลดผลกระทบต่อผู้ฝากเงิน และสนับสนุนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจอย่าง ยั่งยืน 3. ดูแลและพัฒนาใหร้ ะบบการชาระเงินของประเทศมปี ระสทิ ธิภาพ ม่ันคงและ ปลอดภัย เพื่อเป็นกลไกสนบั สนนุ การทาธุรกจิ และการพัฒนาเศรษฐกิจการเงนิ 4. หน้าท่ีอ่ืน ๆ เช่น การออกธนบัตรและบริหารจัดการให้มีธนบัตรหมุนเวียน อย่างเพียงพอ การบริหารเงินสารองทางการของประเทศ การเป็นนายธนาคารให้แก่รัฐบาลใน การรบั ฝากเงิน โอนเงนิ และเป็นแหล่งกยู้ ืมเงนิ สุดท้ายแก่สถาบันการเงินที่ขาดเงินทุนหมุนเวียน รวมถึงการใหค้ วามร้แู ละคุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ ให้ได้รบั ความเปน็ ธรรม ธปท. กากบั ดแู ลผใู้ ห้บริการทางการเงิน แบ่งไดด้ งั น้ี 1. สถาบันการเงิน ตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 คือ สถาบนั ท่ีทาหน้าท่ีให้บริการด้านการเงิน เช่น การรับฝากเงิน การรับชาระเงิน การให้สินเชื่อ และ ธรุ กรรมทางการเงินอืน่ ตามที่ได้รบั อนญุ าต ไดแ้ ก่ 1) ธนาคารพาณิชย์ (ธพ.) คือ บริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณชิ ย์ เชน่ การรับฝากเงนิ การโอนและรับชาระเงนิ และการให้สินเช่ือ รวมถึงบริการ ทางการเงินอ่ืน ๆ เช่น การค้าประกัน บริการเกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ ธุรกิจต่างประเทศ เช่น สินเชื่อเพ่ือการส่งออกนาเข้า ตลอดจนบริการทางการเงินเพื่อการบริหารความเสี่ยงให้แก่ ลูกค้า เช่น สัญญาซื้อขายอัตราแลกเปล่ียนล่วงหน้า ในปัจจุบันธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจที่เก่ียวข้องกับหลักทรัพย์และประกันภัยบางประเภทเพิ่มขึ้น เช่น การเป็นนายหน้า ซอ้ื ขายหน่วยลงทุน นายหน้าประกันภัย การแนะนาบรกิ ารของบริษัทประกันภัยใหล้ กู คา้ 2) ธนาคารพาณิชย์เพ่ือรายย่อย (ธย.) คือ บริษัทท่ีได้รับอนุญาตให้ ประกอบธรุ กิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือให้บริการแก่ประชาชนรายย่อยและ ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงนิ
49 วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และสามารถใหบ้ ริการทางการเงินพ้นื ฐานอืน่ เชน่ การรับฝากเงิน การโอนและรับชาระเงินได้ด้วย แต่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจท่ีมีความซับซ้อนและมี ความเสีย่ งสูง เช่น ธุรกิจเก่ียวกับเงนิ ตราตา่ งประเทศ และตราสารอนพุ นั ธ์ 3) ธนาคารพาณิชย์ที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารต่างประเทศ คือ บริษัท ท่ีจดทะเบียนในประเทศไทยและได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยมีธนาคาร พาณชิ ยต์ า่ งประเทศถอื หุ้นไมต่ า่ กว่า 95% ของหนุ้ ท่จี าหนา่ ยได้แลว้ ทง้ั หมด 4) สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ คือ สาขาของธนาคารพาณิชย์ ตา่ งประเทศทไ่ี ด้รบั อนุญาตให้ประกอบธรุ กจิ ธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย 5) บริษัทเงินทุน (บง.) คือ บริษัทท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเงินทุน โดยรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนท่ีต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเม่ือสิ้นระยะเวลา ท่ีกาหนดไว้ และสามารถให้กู้ยืมเงินตามประเภทของธุรกิจเงินทุนที่ได้รับอนุญาต เช่น การให้ กู้ยืมเงินระยะปานกลางและระยะยาวแก่กิจการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือพาณิชยกรรม การให้เช่าซ้ือบางประเภท แต่ไม่สามารถประกอบธุรกจิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั เงนิ ตราตา่ งประเทศได้ 6) บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (บค.) คือ บริษัทท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบ ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ โดยสามารถรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเมื่อสิ้น ระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ เช่น ไม่น้อยกว่าหนึ่งปี และต้องฝากเงินไม่น้อยกว่าหน่ึงพันบาท โดย สามารถให้กู้ยมื เงนิ โดยวิธีรบั จานองอสังหาริมทรัพย์ การรบั ซื้ออสังหาริมทรัพยโ์ ดยวธิ ขี ายฝาก 2. สานักงานผู้แทนธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ คือ สานักงานของธนาคาร พาณิชย์ต่างประเทศท่ีได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทยให้ดาเนินการในประเทศไทย แทนธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ สานักงานผู้แทนฯ สามารถดาเนินการเพ่ือประโยชน์ของ สานักงานใหญ่ หรือสานักงานอื่น ๆ ของธนาคาร ได้เฉพาะท่ีเกี่ยวกับการติดต่อ ประสานงาน การแนะนาลูกค้า และการรวบรวมข้อมูลข่าวสารเพ่ือส่งให้สานักงานใหญ่ หรือสานักงานอ่ืน ๆ ของธนาคารเท่านั้น เช่น การรวบรวมข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของลูกค้าและ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจและการเงิน สานักงานผู้แทนฯ ต้องไม่ประกอบธุรกิจใดอันเข้าข่าย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์และธุรกิจที่เก่ียวเนื่อง เช่น ธุรกิจให้เช่าซ้ือ ลีสซิ่ง แฟ็กเตอริง รับซื้อ รบั โอนลูกหนเี้ งินใหก้ ้ยู มื ธุรกจิ สัญญาซ้ือขายลว่ งหนา้ 3. บริษัทบริหารสินทรัพย์ คือ บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย บริษัทบริหารสินทรัพย์ ให้สามารถประกอบธุรกิจรับซ้ือหรือรับโอนสินทรัพย์และหลักประกัน ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 วา่ ด้วยเรอื่ งของเงิน
50 ของสถาบันการเงิน เช่น ลูกหนี้สินเช่ือด้อยคุณภาพ (Non-Performing Loans: NPLs) สินทรัพย์ของสถาบันการเงินท่ีปิดกิจการไปแล้ว โดยจะนามาบริหารต่อ เช่น นาไปให้กู้ยืม เพ่มิ เติม ปรับปรุงโครงสรา้ งหน้ี 4. สถาบันการเงินเฉพาะกิจ หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐท่ีมีกฎหมาย เฉพาะจัดต้ังข้ึน เพื่อดาเนินการตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และ สนับสนุนการลงทนุ ตา่ ง ๆ แบ่งเปน็ 1) สถาบันการเงินเฉพาะกิจท่ีรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป หมายถึง สถาบันการเงินเฉพาะกิจท่ีเป็นธนาคารและให้บริการทางการเงินทั้งด้านเงินฝากและการให้ สนิ เช่ือ เช่น ธนาคารออมสิน ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 2) สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ไม่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป หมายถึง สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทาธุรกิจตามขอบเขตที่กาหนด เช่น ให้สินเชื่อหรือรับประกันสินเช่ือ ให้แก่ลูกค้าเฉพาะกลุ่ม แต่ไม่รับเงินฝากจากประชาชนทั่วไป เช่น ธนาคารเพ่ือการส่งออกและ นาเขา้ แหง่ ประเทศไทย 5. ผปู้ ระกอบธุรกิจทีม่ ใิ ช่สถาบนั การเงิน แบง่ ได้ 5 ประเภท ดงั น้ี 1) ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิต จะดาเนินกิจการเก่ียวกับบัตรเครดิต เพ่ือให้ผู้ถือบัตรนาไปใช้ชาระค่าสินค้า ค่าบริการ หรือค่าอื่นใดแทนการชาระด้วยเงินสด หรือ เพ่ือใช้เบิกถอนเงินสด โดยผู้ประกอบธุรกิจทดรองจ่ายเงินแทนผู้ถือบัตรน้ันก่อน และจะได้รับ ชาระคืนจากผ้ถู อื บัตรในภายหลัง 2) ผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ จะดาเนินกิจการ เกี่ยวกับการให้กู้ยืมเงินแก่บุคคลธรรมดาโดยไม่มีหลักประกัน เพ่ือนาไปใช้จ่ายส่วนตัว โดยไม่รวม การเชา่ ซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 3) ผู้ประกอบธุรกิจสินเช่ือรายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพภายใต้การ กากับ หรือสินเช่ือนาโนไฟแนนซ์ จะดาเนินกิจการให้กู้ยืมแก่บุคคลธรรมดานาไปใช้ในการ ประกอบอาชพี เพอ่ื สง่ เสริมการเขา้ ถึงแหลง่ เงนิ ทนุ และเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชพี 4) ผู้ประกอบธุรกิจให้บริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีอยู่ภายใต้ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 และมีธนาคารแหง่ ประเทศไทยเป็นผู้กากับดแู ลเฉพาะสว่ นของธุรกจิ น้ี ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงิน
51 5) ผู้ประกอบธุรกิจให้บริการด้านการแลกเปล่ียนเงินหรือโอนเงินตรา ต่างประเทศ ปัจจุบันผู้ให้บริการด้านการแลกเปล่ียนเงิน (ท่ีไม่ใช่ธนาคารพาณิชย์) ท่ีได้รับ อนุญาตใหป้ ระกอบธรุ กิจเงนิ ตราต่างประเทศ มี 2 ประเภท ได้แก่ 5.1) บุคคลรับอนุญาต สามารถประกอบธุรกิจการซ้ือและขายธนบัตร ตา่ งประเทศ และรับซ้อื เช็คเดินทางจากลูกคา้ 5.2) ตัวแทนโอนเงินระหว่างประเทศ สามารถประกอบธุรกิจการโอนเงิน เข้าออกจากประเทศไทย สามารถศึกษาข้อมูลเพมิ่ เติมได้ที่เว็บไซต์ ธปท. www.bot.or.th กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 5 ผู้ใหบ้ ริการทางการเงินในประเทศไทย (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 5 ทส่ี มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นร)ู้ ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงิน
52 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ สาระสาคัญ วิถีชีวิตที่เปล่ียนแปลงไปทาให้คนเราต้องใช้เงินในการดารงชีพมากข้ึน จนทาให้ หลายครอบครัวเกิดปัญหาเงินไม่พอใช้ เราจึงจาเป็นต้องวางแผนการเงินเพื่อแก้ไขปัญหา ซ่ึง ในที่สุดแล้วอาจช่วยสร้างความมั่นคงและมั่งค่ังให้เราได้ด้วย โดยเร่ิมจากการประเมินตนเอง เพ่อื ใหท้ ราบฐานะการเงินและรู้จักการใช้จ่ายของตนเองผ่านการจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย แล้ว ต้ังเป้าหมายการเงินให้สอดคล้องกับฐานะทางการเงินและความสามารถของตนเอง รวมไปถึง รจู้ ักการออมเงินและระบบการออมเงนิ ต่าง ๆ ตวั ช้ีวัด 1. อธิบายหลกั การประเมินฐานะการเงนิ 2. คานวณฐานะทางการเงินของตนเอง 3. อธิบายลักษณะของการมีสขุ ภาพการเงนิ ทดี่ ี 4. ประเมนิ สุขภาพการเงินของตนเอง 5. บอกความแตกต่างของ “ความจาเปน็ ” และ “ความต้องการ” 6. จัดลาดบั ความสาคญั ของรายจ่าย 7. บอกลกั ษณะของการบันทกึ รายรับ-รายจ่าย 8. บอกประโยชนข์ องการบนั ทึกรายรับ-รายจ่าย 9. จดบันทึกรายรบั -รายจ่าย 10. บอกประโยชนข์ องการมเี ปา้ หมายการเงินในชวี ิต 11. บอกเปา้ หมายการเงินทีค่ วรมีในชีวิต 12. อธิบายวธิ ีการตั้งเปา้ หมายการเงนิ ตามหลกั SMART 13. วางแผนการเงนิ ตามเปา้ หมายที่ตงั้ ไว้ 14. อธบิ ายความหมาย และประโยชนข์ องการออม 15. ต้ังเป้าหมายการออม 16. บอกหลกั การออมใหส้ าเรจ็ 17. อธิบายบทบาทหนา้ ทีแ่ ละหลักการของกองทนุ การออมแห่งชาติ (กอช.) ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
53 ขอบข่ายเนื้อหา 1. การประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง 2. การบันทึกรายรบั -รายจา่ ย 3. การตง้ั เปา้ หมายการเงนิ 4. การออม เวลาท่ีใช้ในการศกึ ษา 35 ช่วั โมง สอ่ื การเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 2. หนังสอื ร้รู อบเรอ่ื งการเงิน ของศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ตอน วางแผนการเงนิ อย่างชาญฉลาด 3. สมดุ เงนิ ออม ของศูนย์คุ้มครองผูใ้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ 4. เวบ็ ไซต์ www.1213.or.th เฟซบ๊กุ www.facebook.com/hotline1213 ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
54 เร่ืองที่ 1 การวางแผนการเงนิ การวางแผนการเงินเป็นเคร่ืองมือที่จะช่วยให้เราสามารถจัดการชีวิตอย่างเป็น ระบบ ใหม้ ีรายไดเ้ พียงพอกับรายจ่าย มีเงินใช้เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน มีเงินออมไว้ซื้อสิ่งต่าง ๆ หรือ ลงทุน รวมไปถึงมีเงนิ ไวใ้ ช้จ่ายยามแกช่ รา การวางแผนการเงินในแต่ละวยั ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงวัยไหน อายุเท่าไร ก็ต้องเกี่ยวข้องกับเงิน ดังน้ัน ทุกคน จึงควรวางแผนการเงิน แต่อายุที่แตกต่างทาให้เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตแตกต่างกันไป คนใน แต่ละวัยจงึ อาจมีการวางแผนการเงินทไ่ี มเ่ หมือนกนั วยั เด็ก ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ียังไม่มีรายได้ แต่อาจมีรายรับเป็นเงิน วัยทางาน ของขวญั ทอี่ าจได้ตามเทศกาลต่าง ๆ ส่วนรายจ่ายโดยมากผู้ปกครอง จะเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ การวางแผนการเงิน เหมาะแก่การบ่มเพาะนิสัยการออมอย่าง สมา่ เสมอ ให้รูจ้ กั คา่ ของเงินและใชจ้ า่ ยอย่างสมเหตุสมผล เช่น ฝึกให้ ออมเงินเพื่อซื้อของที่อยากได้ หรือฝึกจัดสรรเงินโดยให้เงินเม่ือไป เทย่ี ว แลว้ ใหว้ างแผนใช้จ่ายเอง ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีเร่ิมมีรายได้เป็นของตนเอง มีอิสระในการ ใช้จ่าย แต่ส่วนมากมักเป็นรายจ่ายที่ไปตามกระแสสังคม กิน เที่ยว ชอ้ ป และเร่มิ เขา้ ถึงบริการสินเชือ่ การวางแผนการเงิน ควรวางแผนการใช้จ่ายไม่ให้เกินรายได้ท่ีมีอยู่ ระมัดระวังการก่อหนี้ และควรเริ่มวางแผนการออมโดยกาหนด เป้าหมายการออมให้ชัดเจน เช่น ออมเพื่อซ้ือบ้าน ซื้อรถ แต่งงาน หรอื แมก้ ระทั่งเพือ่ ใช้จ่ายในวยั ชรา ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
55 ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกันรายจ่าย ก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน เพราะต้องรับผิดชอบสมาชิกในครอบครัว และมักมี ภาระหนที้ ตี่ อ้ งจา่ ย การวางแผนการเงิน ต้องวางแผนการเงินอย่างรัดกุม ต้ังงบประมาณ สาหรับค่าใช้จ่ายแต่ละประเภทและพยายามใช้จ่ายไม่ให้เกินงบ เพ่ือ ป้องกันปัญหาเงินไม่พอใช้ นอกจากน้ี ควรวางแผนการเงินเพ่ือ วัยสรา้ งครอบครวั การศึกษาบุตร และลงมือทาตามแผนการเงินเพื่อใช้จ่ายในวัยชรา อยา่ งจริงจงั ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีรายได้ลดลงหรือไม่มีรายได้เลย ภาระหน้ี อาจหมดไปแล้วหรือเหลือไม่มากนัก แต่รายจ่ายในชีวิตประจาวัน ยงั มอี ยู่ และอาจมคี ่ารกั ษาพยาบาลเพม่ิ ข้นึ การวางแผนการเงิน วางแผนใช้จ่ายให้ไม่เกินเงินที่มีอยู่ จากัดวงเงิน ในการใช้ จ่ ายแต่ ละประเภท และกั นเงิ นส่ วนหนึ่ งไว้ เป็ น ค่ารักษาพยาบาล แต่ทางที่ดีควรออมเงินเพื่อใช้ในยามชราและควร วยั ชรา เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม เ ร่ื อ ง ส วั ส ดิ ก า ร ห รื อ ก า ร ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พ ต้ั ง แ ต่ ยงั หนุม่ สาวจะไดม้ ีชวี ิตในวัยชราอยา่ งสขุ สบาย ขนั้ ตอนการวางแผนการเงิน การวางแผนการเงนิ สามารถทาไดจ้ าก 5 ข้ันตอน ดงั น้ี 1) ประเมินฐานะการเงินของตนเอง เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แล้วใช้ข้อมูลดังกล่าวเพ่ือกาหนดเป้าหมายการเงินในขั้นตอนต่อไป ซึ่งรายละเอียดจะกล่าว ในเรอื่ งที่ 2 2) ตั้งเป้าหมายการเงนิ เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติ โดยเป้าหมายท่ีดีจะต้องชัดเจน และสอดคลอ้ งกบั ความสามารถทางการเงิน ซ่ึงรายละเอยี ดจะกลา่ วในเรื่องที่ 4 3) จัดทาแผนการเงิน เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายการเงิน ทต่ี ง้ั ไว้ ซ่งึ รายละเอียดจะกล่าวในเร่อื งที่ 4 ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
56 4) ปฏิบัติตามแผนอย่างเคร่งครัด เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ ซึ่งเป็นช่วงที่ ต้องมีวินัยเป็นอย่างมาก เพราะถึงแม้จะตั้งเป้าหมายไว้ดีอย่างไร แต่หากขาดการปฏิบัติจริงจัง และตอ่ เนื่อง ก็อาจเผลอใจไปกับสง่ิ ทีอ่ ยนู่ อกแผนได้ 5) ตรวจสอบและปรับแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ บางคร้ังสถานการณ์ การเงินของเราอาจแย่ลง ทาให้ไม่สามารถปฏิบัติตามแผนได้ ก็ควรทบทวนแล้วปรับแผนเพ่ือให้ สามารถปฏบิ ตั ิตามแผนและบรรลเุ ป้าหมายโดยไมร่ ้สู ึกกดดันจนเกินไปได้ แต่ขณะเดียวกัน หาก สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีดีขึ้น เช่น สามารถออมเงินได้มากข้ึน ก็ควรปรับแผน ใหอ้ อมมากขนึ้ กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนการเงนิ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 1 ทส่ี มุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
57 เรอ่ื งที่ 2 การประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง การประเมินฐานะการเงินเป็นข้ันตอนแรกในการวางแผนการเงิน โดยเร่ิมจาก การพิจารณาว่าเรามีฐานะทางการเงินในปัจจุบันเป็นอย่างไร ซ่ึงจะช่วยให้เข้าใจสถานการณ์ การเงินของตนเอง และสามารถวางแผนการเงนิ สาหรับอนาคตได้ การประเมนิ ฐานะการเงนิ การประเมินฐานะการเงินสามารถทาได้หลายด้าน ซึ่งแต่ละด้านจะมีเครื่องมือ ทช่ี ว่ ยประเมนิ แตกต่างกันไป การประเมินฐานะทางการเงินทส่ี าคญั มีดงั น้ี 1. การประเมินฐานะการเงิน (ภาพรวม) สามารถประเมินฐานะการเงินโดย คานวณหาความมง่ั คงั่ สุทธิ ซึ่งก็คอื มลู ค่าท่ีเหลอื อยู่หลังจากที่นาทรัพย์สินทั้งหมดลบด้วยหน้ีสิน ทัง้ หมด ความม่ังค่ังสุทธิ จะบอกฐานะท่ีแท้จริงของเราว่ามีสินทรัพย์ท่ีเป็นของเราจริง ๆ เท่าไร โดยสามารถคานวณความม่งั คงั่ สทุ ธิไดต้ ามขนั้ ตอนดงั น้ี 1) คานวณมลู ค่าสินทรัพยท์ ง้ั หมดทม่ี ีอยโู่ ดยจดรายการสนิ ทรัพย์แยก ออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ สินทรพั ยส์ ภาพคลอ่ ง คือ เงินสด และสินทรพั ย์ท่ีเปลีย่ นเป็นเงิน สดได้งา่ ย เชน่ เงินฝากธนาคาร สนิ ทรัพย์เพ่อื การลงทนุ คือ สนิ ทรพั ยท์ ี่ถอื ครองเพอ่ื ม่งุ หวัง ผลตอบแทนจากการลงทนุ เช่น สลากออมทรพั ย์ พันธบัตรรฐั บาล หนุ้ กู้ กองทนุ รวม กองทุนสารองเล้ียงชีพ โดยบนั ทึกในราคาตลาด (ราคาซือ้ ขายในปจั จบุ นั ) ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
58 สินทรัพย์ส่วนตัว คือ สินทรัพย์ที่มีไว้เพ่ือใช้ในชีวิตประจาวันหรือ เพ่ือสะสม เช่น ท่ีอยู่อาศัย รถยนต์ เส้ือผ้า เคร่ืองประดับ โดย บันทึกในราคาตลาดแล้วรวมมูลคา่ ของสนิ ทรพั ยท์ ง้ั 3 ประเภท 2) คานวณมูลค่าหน้ีสินทั้งหมดที่มีอยู่ โดยแยกหนี้สินออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หนี้สินระยะสั้น ได้แก่ หน้ีท่ีต้องจ่ายคืนภายในเวลาไม่เกิน 1 ปี ซ่ึง ส่วนใหญ่เป็นหน้ีที่เกิดจากการอุปโภคบริโภค เช่น หนี้บัตรเครดิต หรือการซ้อื สนิ ค้าเงินผ่อน หน้ีสินระยะยาว ได้แก่ หน้ีท่ีมีเวลาผ่อนชาระนานกว่า 1 ปี เช่น หนท้ี เี่ กิดจากการซอื้ บา้ นและรถยนต์ โดยใช้ตัวเลขของจานวนหน้ี ที่เหลอื อยู่ แล้วรวมมลู คา่ ของหนี้สนิ ทงั้ 2 ประเภท 3) คานวณความมั่งคั่งสุทธิ เมื่อได้มูลค่าสินทรัพย์ทั้งหมดแล้วให้นาไป หักออกด้วยมูลค่าหน้ีสินท้ังหมด ส่วนท่ีเหลืออยู่ก็จะเป็น “ความม่ังคั่ง สุทธิของเรา” ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
59 ตัวอยา่ งการคานวณความม่ังค่ังสทุ ธิ 2. การประเมินด้านหนี้ สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนภาระหน้ีต่อรายได้ ต่อเดือน ซ่ึงเป็นสัดส่วนการชาระหนี้ต่อรายได้ นอกจากจะทาให้ทราบภาระหนี้ท่ีต้องจ่าย ต่อเดือนแล้ว ยังสามารถใช้ประเมินความสามารในการชาระหน้ีหากต้องการกู้เงินในอนาคต อกี ดว้ ย อัตราส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ สามารถคานวณได้จากนาจานวนหน้ีท่ีต้องจ่าย ต่อเดือนหารด้วยจานวนรายได้ท่ีได้รับในแต่ละเดือน ผลลัพธ์ที่ได้จะบอกว่า เราจ่ายหนี้เป็น สดั สว่ นเท่าไร ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
60 ตัวอย่าง นาง ก มีรายไดจ้ ากการขายของในตลาดเดือนละ 9,000 บาท และมีหนี้ค่าผ่อนทีวี รุน่ ใหม่ลา่ สดุ อกี เดือนละ 4,950 บาท อัตราส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ของนาง ก มีค่าเท่าไร และมี ความหมายอยา่ งไร อตั ราส่วนภาระหน้ีตอ่ รายได้ = 4,950 ÷ 9,000 = 0.55 หรอื 55% จากการคานวณ อัตราส่วนภาระหนี้ต่อรายได้ของนาง ก มีค่าเท่ากับ 55% น่ันหมายความว่า หากมีรายได้ 100 บาท นาง ก ต้องใช้เงินจ่ายหน้ีถึงเดือนละ 55 บาท เหลอื ใชเ้ พยี งแคเ่ ดอื นละ 45 บาทเทา่ น้ัน 3. การประเมินด้านการออม สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนเงินออม ตอ่ รายได้ต่อเดอื น อัตราส่วนนี้คานวณได้จากนาจานวนเงินที่ออมต่อเดือนหารด้วยจานวนรายได้ ทีไ่ ด้รบั ในแตล่ ะเดือน ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้จะบอกว่า เรานารายไดท้ ม่ี ีไปเปน็ เงินออมเป็นสัดส่วนเท่าไร ตัวอย่าง นาง ก มีรายได้จากการขายของในตลาดเดือนละ 9,000 บาท และออมเงิน เดอื นละ 450 บาท อตั ราส่วนเงินออมตอ่ รายได้ของนาง ก มีคา่ เท่าไรและมคี วามหมายอยา่ งไร อตั ราสว่ นเงนิ ออมต่อรายได้ = 450 ÷ 9,000 = 0.05 หรือ 5% จากการคานวณ อัตราส่วนเงินออมต่อรายได้ของนาง ก มีค่าเท่ากับ 5% น่ันหมายความว่า หากมรี ายได้ 100 บาท นาง ก นาไปเปน็ เงินออมแค่ 5 บาท 4. การประเมินด้านรายรับ-รายจ่าย สามารถประเมินได้จากการบันทึก รายรับ-รายจ่าย แล้วสังเกตดูว่าในแต่ละเดือนมีรายรับ-รายจ่ายอะไรบ้าง ซ่ึงรายละเอียดจะ กล่าวในเร่ืองที่ 3 ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
61 ลักษณะของการมีสขุ ภาพการเงนิ ท่ีดี การมีสุขภาพทางการเงินที่ดี จะทาให้มีความม่ันคงทางการเงิน ลดความเส่ียง ทจี่ ะเกิดปัญหาการเงิน หรือปญั หาเงินไมพ่ อใช้ โดยลกั ษณะของการมีสุขภาพการเงินทด่ี ีมดี ังน้ี 1) มีอัตราส่วนหน้ีต่อรายได้ไม่เกิน 33% หรือมีภาระหน้ีต่อเดือนไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ ซ่ึงเป็นสัดส่วนของหน้ีท่ีคนทั่วไปพอจะจ่ายไหว แต่หากมีอัตราส่วนหนี้ ตอ่ รายได้มากกว่าหรอื น้อยกว่าลกั ษณะของการมสี ุขภาพการเงนิ ที่ดี อาจมคี วามหมายดังนี้ อัตราเปรยี บเทยี บ ความหมาย คาแนะนา 1. อัตราส่วนภาระหนี้ มีหน้ีมากเกินไป จนอาจ ควรวางแผนการจ่ายหนี้ให้ดี และ ต่อรายได้มากกว่า ท า ใ ห้ เ งิ น ไ ม่ พ อ ใ ช้ จ่ า ย เม่ือมีเงินได้ ควรแบ่งเงินไว้เป็น 33% ในชีวิตประจาวัน หรือซื้อ เงินออมเพื่อใช้จ่ายยามเกิดเหตุ ของที่อยากได้ และยังมี ฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหนี้เพิ่มจน โอกาสท่ีจะเกิดปัญหาทาง กลายเป็นปญั หาทางการเงิน การเงินได้ 2. อัตราส่วนภาระหนี้ มีภาระหนี้ไม่มากนัก ทาให้ ควรออมเงินไว้สาหรับเหตุการณ์ ต่อรายได้น้อยกว่า การใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน ฉกุ เฉิน เพ่ือหลกี เลี่ยงการกอ่ หนี้เพ่ิม 33% ไ ม่ติ ด ขั ด แ ละ สามารถ และอาจออมเงิน เพ่ือเป้าหมาย กั นเงิ นส่วน หนึ่งไ ว้เป็ น อื่น ๆ เช่น เพื่อใช้จ่ายในยามท่ี เงนิ ออมได้ ไม่สามารถหาเงนิ ได้ รหู้ รือไมว่ ่า เราสามารถคิดง่าย ๆ ได้ว่า “เราไม่ควรมีหน้ีท่ีต้องจ่ายต่อเดือนเกิน 1 ใน 3 ของรายได้” เชน่ นาง ก มีรายได้เดอื นละ 9,000 บาท นาง ก ก็ไม่ควรมหี นท้ี ่ตี ้องจ่ายคนื ในแต่ละเดอื นเกิน = รายได้ ÷ 3 = 9,000 ÷ 3 = 3,000 บาท ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
62 2) มีอัตราส่วนเงินออมต่อรายได้อย่างน้อย 25% หรือมีเงินออมต่อเดือน อย่างน้อย 1 ใน 4 ของรายได้ ซึ่งเป็นสัดส่วนของเงินออมที่คนทั่วไปควรมีไว้เพ่ือวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ แต่หากมอี ตั ราส่วนเงนิ ออมต่อรายได้มากกวา่ หรอื นอ้ ยกว่านี้ อาจมคี วามหมายดงั น้ี อัตราเปรยี บเทียบ ความหมาย คาแนะนา 1. อัตราส่วนเงินต่อ ออมเงินในระดับท่ีดี แต่หาก อาจแบ่งส่วนเงินออมไว้เป็น ร า ย ไ ด้ ม า ก ก ว่ า มากไปจนต้องใช้จ่ายอย่าง ส่วน ๆ เพื่อเป้าหมายต่าง ๆ เช่น 25% กระเบียดกระเสียร อาจทาให้ เพื่อลงทุน หรือออมไว้ใช้จ่ายใน เกิดความรู้สึกกดดันจนทาให้ วัยชรา หากมีเงินออมเผื่อฉุกเฉิน ชีวติ ไม่มีความสุขได้ แล้ว ก็อาจแบ่งเงินออมส่วนหนึ่ง ไว้ทาความฝันของตัวเองให้เป็น ความจริง 2. อัตราส่วนเงินออม ออมเงินน้อยเกินไป เมื่อ ควรออมเงินให้มากขึ้น อาจเริ่ม ต่อรายได้น้อยกว่า ต้องการซื้ออะไรก็อาจต้อง ออมจานวนท่ีไม่มาก แล้วค่อย ๆ 25% ก่อหนี้ เพิ่มทีละนิด เช่น เริ่มท่ี 10% ของรายได้ แล้วพยายามเพิ่มให้ ไดจ้ นถึง 25% รู้หรือไมว่ า่ เราสามารถคิดง่าย ๆ ได้ว่า “เราควรออมเงินเดือนละ 1 ใน 4 ของรายได้” เชน่ นาง ก มีรายไดจ้ ากการขายของในตลาดเดอื นละ 9,000 บาท นาง ก ก็ควรออมเงินเดือนละ = รายได้ ÷ 4 = 9,000 ÷ 4 = 2,250 บาท 3) มีเงินออมเผื่อฉุกเฉินอย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็นต่อเดือน เงินออมเผื่อฉุกเฉินเป็นเงินท่ีเก็บไว้ใช้ยามจาเป็น เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันหรือเหตุการณ์ ท่ีเกิดข้ึนอย่างกะทันหันและต้องใช้เงินจานวนมาก เช่น เจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุท่ีต้องรักษาตัว ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
63 ในโรงพยาบาล รายได้ลดกะทันหัน หรือตกงาน ซึ่งควรมีอย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็น ตอ่ เดือน ตัวอย่าง นาง ก มีรายได้จากการขายของในตลาดเดือนละ 9,000 บาท มีค่าใช้จ่ายจาเป็น ตอ่ เดือนละ 4,000 บาท นาง ก ควรมีเงินออมเผอื่ ฉกุ เฉนิ อยา่ งนอ้ ยเท่าไร นาง ก ควรมเี งนิ ออมเผอื่ ฉกุ เฉินอยา่ งน้อย = ค่าใชจ้ า่ ยจาเปน็ ตอ่ เดือน x 6 = 4,000 x 6 = 24,000 บาท เมื่อมีความจาเป็นต้องนาเงินออมเผื่อฉุกเฉินออกมาใช้ ก็ควรออมเงินคืนให้อยู่ ในระดับเดิมโดยเร็ว เพราะเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน ก็จะสามารถนาเงินออกมาใช้ได้อีก โดยเงินออม เผื่อฉุกเฉินควรเก็บไว้ในท่ีท่ีสามารถนาออกมาใช้ได้ง่าย เช่น ฝากในบัญชีออมทรัพย์ เพื่อให้ สามารถถอนออกมาใช้ได้สะดวก ทันเวลา และไม่ติดเงื่อนไขการฝากถอน ท้ังนี้ ควรแยกบัญชี เงินออมเผ่ือฉุกเฉินจากบัญชีเงินเดือนเพ่ือป้องกันการนาเงินออมออกมาใช้โดยไม่ตั้งใจหรือเพื่อ เหตทุ ีไ่ ม่จาเปน็ รหู้ รือไม่ว่า เราสามารถดูจานวนค่าใช้จ่ายจาเป็นของเราจากการบันทึกรายรับ -รายจ่าย โดยต้องทาการบันทึกรายรับ-รายจ่ายอย่างน้อย 1 เดือน และแยกรายการรายจ่ายเป็น “รายจ่ายจาเป็น” และ “รายจา่ ยไมจ่ าเป็น” ซ่ึงสามารถดรู ายละเอียดเพิ่มเติมได้ในเรื่องท่ี 3 กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 2 การประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง (ให้ผเู้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร้)ู ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
64 เรอ่ื งที่ 3 การบันทกึ รายรับ-รายจ่าย การบันทกึ รายรับ–รายจา่ ย เปน็ เครือ่ งมือหนง่ึ ในการประเมินตนเองเพ่ือวางแผน การเงิน โดยการบันทึกรายรับ-รายจ่ายจะทาให้ทราบถึงลักษณะของรายได้และนิสัยการใช้จ่าย ของผบู้ นั ทึก ซง่ึ จะเป็นประโยชนใ์ นการวางแผนการเงนิ ข้นั ตอนการจดั ทาบนั ทกึ รายรับ-รายจ่าย การทาบันทึกรายรับ-รายจ่ายไม่มีกฎหรือข้อบังคับตายตัว แต่หากจะทาเพื่อให้ เกิดประโยชนใ์ นการวางแผนการเงิน การบนั ทึกรายรบั -จ่ายควรมีขั้นตอนดงั นี้ 1. กาหนดระยะเวลาท่ีจะบันทึก เช่น 1 เดือน 1 ปี หรือตลอดไป โดยจะต้อง เลือกระยะเวลาท่ีสามารถทาได้จริงและสามารถบันทึกได้ทุกวัน และเพื่อประโยชน์ในการ วางแผนการเงนิ ควรบันทกึ ทุกวันติดตอ่ กันอย่างนอ้ ย 1 เดือน ซ่ึงจะทาให้ทราบพฤติกรรมใช้จ่าย ทแ่ี ทจ้ รงิ 2. เลือกสมุดเพ่ือใช้บันทึกรายรับ-รายจ่าย โดยควรเลือกสมุดเล่มเล็กท่ีสามารถ พกพาได้สะดวก หรืออาจใช้วิธีจดลงในสมุดเล่มเล็กระหว่างวัน แล้วกลับมาเขียนลงในสมุด บนั ทกึ รายรับ-รายจ่ายตวั จริงทีบ่ ้าน หรืออาจบนั ทกึ ลงในสมาร์ตโฟนผ่านแอปพลิเคชนั ต่าง ๆ 3. จดการรับและจ่ายเงินทุกครั้งลงในบันทึกรายรับ-รายจ่าย ไม่ว่าจะเป็น เงินจานวนมากหรือเงินจานวนน้อย ก็ไม่ควรละเลย และไม่ควรปรับเปลี่ยนตัวเลขหรือรายการ ทั้งน้ี ก็เพ่ือให้ทราบพฤติกรรมการใช้จ่ายท่ีแท้จริง โดยจะต้องแยกรายจ่ายออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ รายจ่ายจาเป็น และรายจา่ ยไม่จาเป็น 1) รายจ่ายจาเป็น หมายถึง รายจ่ายท่ีจะต้องจ่าย ไม่สามารถตัดออกได้ เพราะเป็นค่าใช้จ่ายที่สาคัญสาหรับชีวิต เช่น ค่าอาหาร ค่าผ่อนหรือเช่าที่อยู่อาศัย ค่าใช้จ่ายใน การเดนิ ทางไปทางาน ค่ารักษาพยาบาล ค่าเทอม 2) รายจ่ายไม่จาเป็น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่มีบทบาทสาคัญต่อชีวิต จะจ่าย หรือไม่จ่ายก็ยังสามารถมีชีวิตอยู่ได้ เป็นแค่เพียงความต้องการ เช่น ค่าอุปกรณ์แต่งรถ ค่าหวย ค่าเสือ้ ผา้ ทซ่ี ้อื มาเพยี งเพราะว่าเห็นวา่ สวยดีแต่ไม่ไดใ้ ช้ ค่าเหลา้ คา่ บุหรี่ 4. รวมยอดเงินของรายรับ เงินออม รายจ่ายท่ีจาเป็น และรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น ท้งั หมดเพอื่ ใช้วิเคราะหพ์ ฤติกรรมการใช้จ่ายของตนเอง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
65 รู้หรอื ไม่ว่า การพิจารณาว่ารายจ่ายใดเป็นรายจ่ายจาเป็นหรือไม่จาเป็น ข้ึนอยู่กับ ลักษณะการใช้ชีวิตของแต่ละบุคคล เพราะรายจ่ายจาเป็นของคนหน่ึงอาจเป็นรายจ่าย ไม่จาเป็นของอีกคนหน่ึง หรือรายจ่ายไม่จาเป็นของคนหน่ึงอาจมีความจาเป็นสาหรับอีกคน หนึ่งก็ได้ เช่น ผู้ท่ีมีอาชีพรับจ้างขนของ รถก็เป็นรายจ่ายที่จาเป็นมาก แต่สาหรับอาชีพครูที่ สอนอยู่โรงเรียนใกล้บ้าน รายจ่ายเก่ียวกับรถอาจเป็นส่ิงไม่จาเป็นเลยก็ได้ ดังนั้น การ พิจารณาว่าสิ่งใดเป็นรายจา่ ยจาเปน็ หรอื ไมจ่ าเปน็ จงึ แตกตา่ งกันไปในแต่ละบคุ คล สว่ นประกอบทสี่ าคญั ของบันทกึ รายรบั -รายจา่ ย การบันทึกรายรับ-รายจ่ายสามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ผู้บันทึกสามารถ ออกแบบตารางบันทกึ ไดต้ ามความถนัดหรือตามท่ีตนเองช่ืนชอบ แต่การบันทึกรายรับ-รายจ่าย ในแตล่ ะเดอื นนัน้ ควรมสี ว่ นประกอบดังนี้ 1. ส่วนของการบันทึกรายรับ-รายจ่าย ควรเป็นตารางท่ีมีความยาวเพียงพอ ต่อการบันทึกตลอดระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือน (อาจใช้กระดาษมากกว่า 1 หน้า) โดยจะต้อง ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ดงั น้ี วันที่ – กรอกวันทีท่ ม่ี รี ายรับหรอื รายจ่ายเกดิ ขึน้ รายการ – กรอกรายการรายรับหรือรายจ่ายท่ีเกิดข้ึน และหากมี คาอธิบายเพ่มิ เติมก็สามารถกรอกลงในช่องน้ไี ด้ รายรบั – กรอกจานวนเงินสาหรับรายการท่ีเปน็ รายรับ เงนิ ออม – กรอกจานวนเงินสาหรบั รายการท่กี ารออมเงิน รายจ่าย – กรอกจานวนเงินสาหรับรายการท่ีเป็นรายจ่าย ซึ่งผู้บันทึก ต้องแยกระหว่างรายจ่ายจาเป็นและรายจ่ายไม่จาเป็น โดยพิจารณาถึง ความจาเป็นของรายจา่ ยนั้นตอ่ การดารงชวี ิต ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
66 ตัวอยา่ งส่วนของการบนั ทกึ รายรับ-รายจ่าย 2. ส่วนของการสรุปรายรับ-รายจ่าย เป็นสรุปการใช้จ่ายในแต่ละเดือนเพ่ือให้ ทราบว่า ผู้บันทึกใช้จ่ายเกินรายรับท่ีได้รับมาหรือไม่ สามารถคานวณได้จากนายอดรวมของ รายรับตลอดทั้งเดือน ลบออกด้วยเงินออมและรายจ่ายท้ัง 2 ประเภทท่ีเกิดขึ้นตลอด ระยะเวลา 1 เดอื น หากผลลพั ธ์ท่ีไดเ้ ป็นบวก แสดงว่ามีการใช้จ่ายน้อยกว่ารายรับท่ีมีอยู่ จึงยังมี เงินเหลือตามจานวนท่ีคานวณได้ และเมื่อพบว่าเงินเหลือ ก็ควรวางแผนจัดสรรว่าจะนาเงินน้ัน ไปทาอะไร เช่น นาไปเป็นเงินออมเพิ่มเติมจากท่ีออมไปแล้วเมื่อมีรายได้เข้ามา นาไปบริจาค หรือตง้ั เปน็ เงนิ ออมอกี กอ้ นหนง่ึ เพอื่ นาเงนิ ไปลงทุน แต่หากผลลัพธ์ติดลบ แสดงว่ามีการใช้เงินเกินรายรับท่ีมีอยู่ตามจานวน ที่ติดลบ จึงต้องหาสาเหตุของการใช้เงินเกิน เช่น อาจมีค่าใช้จ่ายบางประเภทมากเกินไปหรือ มากกวา่ ปกติ ดงั น้ัน จะต้องวางแผนลดรายจา่ ย โดยเร่ิมพิจารณาจาก “รายจ่ายไม่จาเป็น” ว่ามี รายการใดที่สามารถลดได้ หรือพิจารณาจาก “รายจ่ายจาเป็น” ว่ามีรายจ่ายท่ีไม่จาเป็น แอบแฝงอย่หู รือไม่ ตวั อยา่ งสว่ นของการสรปุ รายรบั -รายจ่าย ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
67 3. ส่วนของการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย เป็นการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย ท่ีเกิดข้ึนตลอดระยะเวลา 1 เดือน โดยผู้บันทึกสามารถวิเคราะห์บันทึกรายรับ -รายจ่าย ของตนเองได้ 4 ดา้ นดังนี้ 1) รายรับ ให้พิจารณาถึงจานวนและความถ่ีของรายรับ เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน เพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนใช้เงินว่า เงินท่ีได้รับน้ันจะต้องใช้ อกี กวี่ ัน จึงจะไดร้ ับเงนิ รอบใหม่ หากมคี า่ ใชจ้ ่ายเกิดขึ้นในวันท่ียังไม่ได้รับเงิน จะนาเงินส่วนไหน ออกมาใช้จา่ ย และหากจาเป็นตอ้ งหารายได้เพิ่ม จะหารายไดเ้ พิ่มจากแหล่งใด 2) เงินออม ให้พิจารณาถึงจานวนและความถ่ีของการออม เช่น ออมทุกวัน วันละ 20 บาท หรือออมสัปดาห์ละคร้ัง คร้ังละ 500 บาท หรือเดือนละคร้ัง ครั้งละ 2,500 บาท ซ่ึงจะทาให้ทราบความสามารถในการออมว่า สามารถออมได้เท่าไร และสามารถออมได้ทุกวัน สัปดาห์ละครั้ง หรือเดือนละคร้ัง โดยข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ ตอ่ การวางแผนการออม นอกจากน้ี ยอดรวมของเงินออมสามารถนาไปใช้คานวณอัตราส่วนเงินออม ต่อรายได้เพ่ือบอกว่า ณ ปัจจุบันผู้บันทึกมีเงินออมเพียงพอแล้วหรือยัง ถ้าหากพบว่ายังมีไม่พอ ก็ควรวางแผนออมเพิม่ โดยการลดรายจา่ ยหรือหารายได้เพิ่ม ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
68 รหู้ รอื ไม่วา่ การออมเงนิ ทนั ทที ไี่ ดร้ ับเงนิ จะทาให้สามารถบรรลเุ ปา้ หมายไดง้ ่ายกว่า เพราะ หากนาเงนิ ไปใช้จ่ายก่อน กจ็ ะมคี วามเสี่ยงทจ่ี ะใชห้ มดจนไม่มเี งินออม 3) รายจ่ายไม่จาเป็น โดยเปรียบเทียบกับรายจ่ายจาเป็นว่ารายจ่ายไหน สูงกว่ากัน หากมี “รายจ่ายไม่จาเป็น” สูงกว่า “รายจ่ายจาเป็น” น่ันแสดงว่า ควรลดรายจ่าย ไม่จาเป็นลง ดังน้ัน ควรวางแผนลดรายจ่ายไม่จาเป็น โดยเร่ิมดูว่ามีรายจ่ายไหนในกลุ่มรายจ่าย นี้สามารถลดได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหร่ี ค่ากาแฟ และลองคานวณดูว่าหากลด รายจา่ ยเหล่านีแ้ ล้ว ใน 1 เดือนจะมเี งินเหลอื เทา่ ไร 4) รายจ่ายจาเป็น ให้ทบทวนรายจ่ายจาเป็นอีกคร้ังว่า ทุกรายการ เป็นรายจ่ายจาเป็นทั้งหมดจริงหรือไม่ หากบางรายการสามารถลดหรือซื้อของที่ถูกกว่า มาทดแทนได้ ก็ควรลองลดหรือซ้ือของที่ถูกกวา่ มาใช้แทน ตัวอยา่ งสว่ นของการวิเคราะหร์ ายรับ-รายจ่าย ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
69 ประโยชน์ของการบันทึกรายรับ-รายจ่าย บันทึกรายรับ-รายจ่ายท่ีมีข้อมูลครบถ้วน และบันทึกติดต่อกันอย่างน้อย 1 เดอื น จะมีประโยชน์ดังนี้ 1. ทาให้รูพ้ ฤติกรรมการใชจ้ ่ายทอี่ าจทาให้เกดิ ปัญหาเงินไม่พอใช้ การบันทึก รายจ่ายที่เกิดขึ้นทุกครั้ง จะทาให้ทราบว่าใช้จ่ายเงินไปกับส่ิงใดบ้าง เช่น จ่ายค่าสังสรรค์หรือ ค่าเหล้าเดือนละ 2,000 บาท (1 ปีก็เป็นเงิน 24,000 บาท) ซื้อหวยงวดละ 1,000 บาท (แต่ใน ระยะเวลา 2 ปี ถูกรางวัลแค่ 1 คร้ัง ได้เงินรางวัลน้อยกว่าค่าหวยที่เสียไป) เมื่อทราบว่า เงินหายไปไหน ก็สามารถวางแผนให้มีเงินพอใช้ได้ เช่น ลดค่าเหล้าเหลือเดือนละ 1,000 บาท (กจ็ ะไดเ้ งินเก็บปีละ 12,000 บาท) หรืองดเหล้าไปเลย เลิกซื้อหวยเดือนละ 1,000 บาทแล้วนา เงินมาออมแทน (ส้นิ ปีกเ็ หมือนถกู รางวลั 24,000 บาท 4 ปีก็มีเงินเก็บเกือบแสน) 2. ทาใหส้ ามารถวางแผนการเงนิ ที่เหมาะสมกับพฤตกิ รรมของตนเองได้ การ บนั ทึกจะทาให้ทราบลกั ษณะของรายรับและรายจ่ายว่ามีความถ่ีแค่ไหน จานวนเท่าไร ซ่ึงข้อมูล เหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนจัดสรรเงินที่ได้รับ ให้มีพร้อมและเพียงพอต่อรายจ่ายท่ี เกิดข้ึนในแต่ละเดือน และหากพบว่ารายรับไม่เพียงพอกับรายจ่าย ก็สามารถวางแผนลด รายจา่ ยหรือหารายได้เพิ่มได้ 3. ทาให้เห็นสัญญาณของปัญหาทางการเงินและสามารถวางแผนแก้ไขได้ การบนั ทึกรายรับ-รายจ่ายเปน็ ประจา จะทาใหท้ ราบทันทหี ากมีสญั ญาณของปัญหาการเงิน เช่น มรี ายจา่ ยเกินรายรับติดต่อกันหลายเดือนจนตอ้ งก่อหนี้ (เงนิ ไมพ่ อใช้อยแู่ ลว้ พอก่อหนี้เพิ่มก็ไม่มี เงินจ่ายหน้ี) ต้องจ่ายหนี้มากกว่า 1 ใน 3 ของรายรับ (อาจทาให้ไม่มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอ่ืน ๆ จนตอ้ งก่อหน้ีเพมิ่ หน้ีก็มีมากอยู่แล้ว ก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้นจนเงินไม่พอจ่าย) ไม่มีเงินออมเลย (เม่ือมี ความจาเป็นต้องใช้เงินก้อน ก็ต้องก่อหนี้) และเม่ือทราบสัญญาณของปัญหา ก็จะสามารถ วางแผนแกไ้ ขก่อนที่จะกลายเปน็ ปัญหาใหญโ่ ต หลกั การจดั ลาดบั ความสาคญั ของรายจ่าย ส่ิงสาคัญในการวางแผนการเงินคอื วางแผนการใช้จ่ายให้อยู่ภายใต้รายได้ที่มีอยู่ แต่เม่ือบันทึกรายรับ-รายจ่ายแล้ว มักพบว่ารายจ่ายมีมากจนบางคร้ังมากกว่ารายรับที่มี จึง จาเปน็ ท่ีจะต้องจดั ลาดับความสาคัญของรายจ่าย ซงึ่ สามารถทาได้ดังนี้ 1. ให้จ่าย “รายจ่ายจาเป็นและไม่สามารถรอได้” ก่อน โดยพิจารณาว่า รายจ่ายน้ันเป็นรายจ่ายจาเป็นต่อการดารงชีวิตชีวิตหรือไม่ และต้องจ่ายวันนี้หรือในเร็ววันนี้ ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
70 หรือไม่ หากเป็นรายจ่ายจาเป็นและไม่สามารถรอได้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ให้จ่ายรายจ่ายนี้ ก่อน และหากมีเงินไม่พอจ่าย ก็อาจต้องกู้ยืมแต่จะต้องวางแผนจ่ายเงินคืนอย่างรัดกุม เพื่อ ปอ้ งกนั ไม่ใหก้ อ่ ใหเ้ กิดปัญหาหนตี้ ามมาภายหลัง 2. ใหอ้ อมเงินเพือ่ จา่ ย “รายจ่ายจาเป็นแตส่ ามารถรอได้” เช่น ค่าเรียนภาษา ที่สาม หรือตู้เย็นเครื่องใหม่ที่จะต้องซ้ือมาแทนของเดิมที่กาลังจะเสีย โดยออมเงินให้ครบก่อน แล้วจึงจะซื้อ หรืออาจนาเงินออมท่ีมีอยู่แล้วมาจ่ายก่อนได้และจะต้องออมเงินคืนให้เงินออม มจี านวนเท่าเดมิ โดยเร็ว แตท่ ้งั น้ี ไมค่ วรกอ่ หนี้เพ่อื นาเงนิ มาจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยเหล่าน้ี 3. ให้พยายามตัดใจจาก “รายจ่ายไม่จาเป็น” ซึ่งเป็นรายจ่ายที่ไม่มีผลต่อ การดารงชีวิต ถึงแม้จะไม่จ่าย ก็ยังสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แต่หากรู้สึกไม่มีความสุขที่ไม่ได้ซื้อ หรือจ่ายเงินสาหรับของนั้น ให้ออมเงินให้ครบก่อนแล้วจึงจะซ้ือ และท่ีสาคัญ จะต้องไม่ก่อหนี้ เพื่อรายจ่ายประเภทนี้ เพราะเม่อื ถึงคราวจาเป็น อาจกู้เงินได้ยากขึ้นหรือหากกู้ได้ ก็อาจทาให้มี ภาระหนี้มากเกนิ ไป จนไม่สามารถจ่ายไหวได้ กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 การบันทกึ รายรับ-รายจ่าย (ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 3 ที่สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นร้)ู ชดุ วิชาการเงนิ เพือ่ ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ
71 เรอ่ื งที่ 4 การต้ังเปา้ หมายและจดั ทาแผนการเงิน เม่ือประเมินฐานะการเงินของตนเองแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการคานวณอัตราส่วน ต่าง ๆ หรือการจัดทาบันทึกรายจ่าย จะทาให้ทราบถึงจานวนรายรับ รายจ่าย หน้ี และ ความสามารถในการออม ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการตั้งเป้าหมายและจัดทาแผนการเงินที่เป็น สว่ นสาคัญในการวางแผนการเงนิ การต้งั เป้าหมายการเงิน การต้ังเป้าหมายการเงินเป็นการกาหนดจุดหมายด้านการเงินท่ีต้องการไปให้ถึง ซง่ึ เป็นขน้ั ตอนหน่ึงในการวางแผนการเงนิ โดยจะต้องอาศัยข้อมูลจากการประเมินฐานะการเงิน เพื่อให้ได้เป้าหมายการเงินที่สอดคล้องกับความสามารถทางการเงินของผู้วางแผนการเงิน ซึ่ง การตง้ั เป้าหมายการเงินทด่ี ีจะมปี ระโยชนด์ งั นี้ 1. ทาให้จัดทาแผนการเงินได้ง่ายขึ้น เช่น มีเป้าหมายท่ีจะปลดหนี้จานวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ก็จะสามารถจัดทาแผนการเงินเพ่ือการปลดหนี้ได้ว่า ต้องเก็บเงินเพื่อ จ่ายหนเ้ี ดอื นละ 1,000 บาทนาน 12 เดอื น เพ่อื ใหค้ รบ 12,000 บาท 2. ทาให้เกิดความมุ่งมั่นและบรรลุสิ่งที่ต้องการง่ายข้ึน เป้าหมายและ แผนการเงินทช่ี ดั เจนเปรยี บเสมือนแผนทน่ี าทางชีวิตเพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายโดยไม่เสียเวลาไปกับ สิ่งล่อใจอ่ืน ๆ เช่น มีเป้าหมายปลดหนี้จานวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ซ่ึงในระหว่างนี้อาจมี ส่ิงล่อใจให้ซื้อหรือก่อหนี้เพิ่ม เช่น ทีวีใหม่ โทรศัพท์มือถือเครื่องใหม่ แต่เมื่อต้ังเป้าหมายว่า จะปลดหนี้แล้ว ก็จะเกิดการยับยั้งช่ังใจข้ึน แทนท่ีจะซ้ือของเหล่านั้นเลย ก็อาจเล่ือนไปซ้ือ หลงั จากปลดหน้แี ลว้ หรอื ไม่ซื้อเลย 3. ทาให้ทราบถึงอุปสรรคที่อาจทาให้ไม่บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ เช่น มเี ปา้ หมายเก็บเงินเพื่อไปเท่ียวจานวน 24,000 บาทภายใน 1 ปี จึงจัดทาแผนออมเงินเดือนละ 2,000 บาท แต่นึกขึ้นได้อีกว่าในอีก 4 เดือนข้างหน้าจะต้องจ่ายค่าชุดนักเรียนใหม่ จึงอาจต้อง ปรับเปา้ หมายการท่องเท่ยี วหรือต้ังเปา้ หมายออมเงนิ เพื่อซอื้ ชุดนกั เรยี นเพ่มิ เติมด้วย 4. ช่วยให้บรรลุเป้าหมายด้านอื่น ๆ เช่น อยากมีรถไว้ขับรับจ้างเป็นอาชีพ ก็สามารถต้ังเป้าหมายทางการเงินว่าจะเก็บเงินเพื่อซ้ือรถ หรืออยากไปเที่ยวพักผ่อน ก็อาจ ตง้ั เปา้ หมายออมเงินเพอื่ พักผอ่ นได้ ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
72 เปา้ หมายการเงนิ ทีค่ วรมีในชีวติ การต้ังเป้าหมายการเงินสามารถตง้ั ไดห้ ลายด้าน ซึง่ มีตัวอยา่ งดงั นี้ เปา้ หมายด้านรายรบั เป้าหมายด้านการออม เพม่ิ รายไดจ้ ากการทาอาชีพเสริม เชน่ ออมเผื่อเหตุฉุกเฉนิ ทาขนมขาย รบั จา้ งเย็บผ้า ออมเพอ่ื เปน็ ค่าเล่าเรยี น ซ่อมเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้า ออมเพอื่ แตง่ งาน ฯลฯ ออมเพื่อซ้ือรถ/บ้าน ออมเพื่อลงทนุ เป้าหมายดา้ นรายจ่าย ออมเพอ่ื ใชจ้ า่ ยในวัยชรา ลดรายจ่ายค่าของใช้ไมจ่ าเปน็ เชน่ ออมเพื่อซ้ือของท่อี ยากได้ ฯลฯ ลดคา่ หวย ลดคา่ เหล้า ลดคา่ บุหร่ี งดรายจ่ายไมจ่ าเปน็ เช่น งดค่าน้า เป้าหมายดา้ นหน้ีสิน สมนุ ไพรดบั กระหาย งดค่าหวย เพ่ือปลดหน้รี ถ/บ้าน/อื่น ๆ ลดรายจา่ ยจาเปน็ โดยใชส้ ินคา้ ทร่ี าคา เพ่ือลดหน้ี (จ่ายหนี้ให้มากขน้ึ เพื่อให้ ถกู กว่าแทน เชน่ ใชส้ บู่ธรรมดาแทน หนหี้ มดเรว็ ขึน้ ) สบู่นาเขา้ จากต่างประเทศราคาแพง งดใช้บัตรผ่อนสินค้าหรือบัตรเครดิต ฯลฯ ก่อหนเี้ ฉพาะรายจา่ ยจาเป็น ฯลฯ คนเราสามารถมเี ป้าหมายการเงินได้มากกว่าหน่ึงเป้าหมาย เช่น บุคคลหน่ึงอาจ มเี ปา้ หมายทจ่ี ะเก็บเงนิ เพื่อซือ้ โทรศัพทม์ อื ถอื เพอ่ื ซ้อื ตู้เยน็ เพ่ือซื้อทวี ี หรือเพ่ือซ้ืออะไรหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน แต่ความสามารถด้านการเงินของแต่ละคนมีจากัด จึงยากท่ีจะบรรลุ หลายเป้าหมายในเวลาเดียวกัน ดังนั้น เราจาเป็นที่จะต้องเลือกและจัดลาดับเป้าหมายการเงิน ในชวี ิตทคี่ วรมี เพือ่ ใหส้ ามารถบรรลเุ ป้าหมายการเงนิ ได้ ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
73 การเลือกและจดั ลาดบั เปา้ หมายการเงินจะพิจารณาจากปจั จัยดงั ต่อไปนี้ 1. ความสาคัญของเป้าหมาย พิจารณาว่าเป้าหมายน้ันมีผลกระทบต่อ การดารงชีวิตหรือไม่ หากมีผล อาจจะจัดลาดับให้เป็นเป้าหมายท่ีจะต้องบรรลุเป็นอันดับแรก เช่น เป้าหมายในการเก็บเงินเพ่ือจ่ายหน้ีก็ย่อมมีความสาคัญมากกว่าการออมเงินเพ่ือซ้ือ โทรศัพท์มือถือใหม่ เพราะหากไม่จ่ายหนี้ ก็อาจทาให้ยอดหน้ีเพ่ิมขึ้นเพราะดอกเบ้ีย และหาก เป็นเงนิ กูน้ อกระบบ ก็มีความเสี่ยงทจ่ี ะถกู ทวงถามหน้ีอยา่ งโหดรา้ ย 2. ความสามารถด้านการเงิน พิจารณาจากการประเมินฐานะการเงินของ ตนเองว่า มีความสามารถท่ีจะออมเงินหรือใช้จ่ายเงินตามเปา้ หมายนน้ั หรือไม่ เช่น มีเป้าหมายที่ จะซื้อโทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น ทีวี และรถยนต์ แต่มีรายรับเดือนละ 9,000 บาท ดังนั้น อาจจะ ต้องเลือกเป้าหมายที่มีความสาคัญและอาจจะพอเป็นไปได้ก่อน เช่น เลือกซื้อตู้เย็นใหม่แทน เครอื่ งเดิมทเี่ สยี แล้ว ตัวอย่างการเลอื กและจัดลาดับเป้าหมายการเงิน กรณีทีม่ หี น้ี... กรณที ไี่ มม่ หี น้ี... 1. ปลดหน้ีไปพรอ้ ม ๆ กับออมเผ่ือ 1. ออมเผื่อฉกุ เฉนิ ฉกุ เฉนิ เพื่อปอ้ งกนั การก่อหนีเ้ พ่ิมใน 2. ออมเพื่อใช้จ่ายในวยั ชรา กรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉนิ 3. ออมเพื่อซอ้ื ของที่อยากได้ 4. ออมเพ่อื ลงทุน 2. ลดคา่ ใชจ้ ่ายเพื่อกนั เงินไว้จา่ ยหนี้ 5. ฯลฯ 3. ออมเงนิ เพื่อใช้จา่ ยในวัยชรา 4. ออมเพ่ือซื้อของที่อยากได้ 5. ออมเพอ่ื ลงทุน 6. ฯลฯ ทั้งน้ี หากมคี วามสามารถทางการเงินมาก กอ็ าจมีหลายเป้าหมายพร้อม ๆ กันได้ แต่ควรจัดสรรเงินให้ดี เพื่อไม่ให้การออมที่มากเกินไปสร้างความกดดันในการใช้ชีวิตด้านอ่ืน ๆ เช่น ออมเงินจนไม่มีเงินเพ่ือซื้ออาหารท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย หรือออมเงินจนต้องไป เบียดเบยี นคนอ่นื ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
74 ประเภทของเป้าหมายการเงิน เป้าหมายการเงินสามารถแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. เป้าหมายระยะสั้น เป็นเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ในเวลา 1 ปี เช่น ออมเงนิ เผ่อื ฉุกเฉินให้ได้จานวน 30,000 บาท ออมเงินเพอื่ ซ้ือโทรศพั ทม์ ือถอื 2. เป้าหมายระยะกลาง เป็นเป้าหมายที่สามารถบรรลุได้ในระยะเวลา 1 – 3 ปี เชน่ ซื้อมอเตอร์ไซค์ หรือออมเงนิ เพอื่ ดาวน์รถยนต์ 3. เป้าหมายระยะยาว เปน็ เปา้ หมายทตี่ ้องใชร้ ะยะเวลามากกวา่ 3 ปีเพื่อบรรลุ เป้าหมาย เช่น ออมเงนิ เพื่อดาวนบ์ า้ น ออมเงนิ ไวใ้ ช้ในยามสงู วยั การต้ังเปา้ หมายการเงนิ ทดี่ ีตามหลกั SMART เป้าหมายการเงินจะเป็นตัวกาหนดแผนการเงินเพื่อให้ไปถึงจุดหมายท่ีต้ังไว้ ดังน้ัน เป้าหมายการเงินจะต้องชัดเจนและสอดคล้องกับความสามารถทางการเงิน โดยเป้าหมายการเงินทีด่ ีจะตอ้ งมลี กั ษณะดังนี้ S 1. ต้องระบุให้ชัดเจนว่าจะทาอะไร เพื่ออะไร เช่น ต้องการ เกบ็ เงินเพื่อซอ้ื ทีวี Specific 2. ต้องวัดผลได้โดยกาหนดเป็นตัวเลข เช่น ซื้อทีวีราคา M 8,400 บาท Measurable 3. ต้องรู้ว่าควรทาอย่างไรเพ่ือไปให้ถึงเป้าหมาย เช่น ออม เงนิ เพม่ิ เดอื นละ 700 บาท A 4. ต้องมีความเป็นไปได้ ไม่ใช่เร่ืองเพ้อฝัน เช่น จริง ๆ แล้ว Achievable อยากซ้ือทีวีเคร่ืองละ 100,000 บาท แต่เก็บเงินเพิ่มได้ เพียงเดอื นละ 700 บาท จึงเลอื กซ้อื ทีวีราคา 8,400 บาท R แทน Realistic T 5. ต้องกาหนดระยะเวลาที่ชัดเจน เพื่อให้วางแผนได้ตาม Time Bound กาหนด เชน่ ต้องการซ้อื ทีวรี าคา 8,400 บาทใน 1 ปี ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
75 ตัวอยา่ งการตั้งเปา้ หมายการเงิน เปา้ หมาย ด/ี ไม่ดี เหตุผล ฉนั จะเก็บเงนิ ให้ได้ภายในปนี ี้ ระบไุ มช่ ัดวา่ ต้องเกบ็ เงนิ เพ่ืออะไร ไมส่ ามารถวดั ผลได้ เพราะไมไ่ ดร้ ะบุจานวน เงนิ ฉันจะซื้อคฤหาสน์ราคา 10 ล้านภายในปีหน้า ไม่มคี วามเปน็ ไปได้ (รายไดเ้ ดือนละ 20,000 บาท) ฉันจะเก็บเงิน 1,000 บาททุก เป้าหมายชดั เจน วัดผลได้ เดือนเป็นระยะเวลา 2 ปี เพ่ือ สามารถทาสาเรจ็ ได้ มีความเป็นได้ เปน็ เงินออมเผื่อฉกุ เฉิน มรี ะยะเวลาแน่ชดั การวางแผนการเงนิ การวางแผนการเงิน เป็นการวางแผนเตรียมเงินและ/หรือใช้จ่ายอย่างไร ในอนาคตเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทต่ี ั้งไว้ โดยจดั ทาเปน็ แผนการเงนิ เพ่อื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ ขัน้ ตอนการจัดทาแผนการเงิน แผนการเงินอาจจดั ทาได้หลากหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับความถนัดและความชอบ ของผวู้ างแผน แตค่ วรมีข้นั ตอนหลกั ๆ ดงั นี้ 1. ระบุเป้าหมายการเงิน เพื่อบอกจุดมุ่งหมายของแผนท้ังหมด โดยจะต้อง เปน็ ไปตามหลักเป้าหมายการเงนิ ที่ดี (SMART) 2. ระบุจานวนเงินที่ตอ้ งการเพือ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมาย โดยจะต้องระบุเป็นจานวน เงนิ หรือตวั เลขใหช้ ัดเจนว่าตอ้ งใชเ้ งนิ เทา่ ไร 3. ระบุระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเงิน โดยระบุเป็นจานวน วัน เดือน หรือปี ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ
76 4. คานวณจานวนเงินที่ต้องออมตอ่ เดือน โดยคานวณว่าต้องออมเงินเดือนละ เท่าไรเพ่ือให้ได้จานวนตามที่ต้องการ สามารถคานวณได้จากนาจานวนเงินท่ีต้องการหารด้วย ระยะเวลา (เดือน) ก็จะทาให้ทราบว่าควรเก็บเงินเดือนละเท่าไรเพ่ือให้ได้เงินตามจานวนท่ี ต้องการ ตัวอยา่ ง นาง ก ต้องการซอ้ื ทวี ีราคา 8,400 บาทในอกี 12 เดอื น นาง ก จะตอ้ งออมเงนิ เดอื นละ = จานวนเงนิ ท่ีต้องการ ÷ ระยะเวลา (เดือน) = 8,400 ÷ 12 = 700 บาท ดังน้ัน แผนการออมของนาง ก ก็คือ จะต้องออมเงินเดือนละ 700 บาทเพ่ือให้ ไดซ้ อ้ื ทวี มี ูลค่า 8,400 บาทในอกี 12 เดือนขา้ งหนา้ 5. จดั ทาแผนการออม โดยกาหนดแหล่งเงินท่ีจะใช้เป็นเงินออมในแต่ละเดือน ซึ่งสามารถทาได้ทั้งการเพิ่มรายรับและลดรายจ่าย โดยพิจารณารายจ่ายจากการบันทึก รายรับ-รายจ่ายว่ามีรายจ่ายไม่จาเป็นใดที่สามารถลดหรือเลิกแล้วนามาเป็นเงินออมได้หรือไม่ เช่น ลดค่ากาแฟจากท่ีด่ืมทุกวันเป็นด่ืมวันเว้นวัน หากกาแฟราคา 30 บาทต่อแก้ว ลดค่ากาแฟ จานวน 15 วัน จะได้เงนิ 450 บาท (30x15) ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
77 ตัวอยา่ งแผนการเงิน แผนการเงินของ........น...า.ง.....ก............... จดั ทา ณ วนั ท.่ี ...1....ม..ก..ร..า..ค..ม.....2.5..X...X.... เปา้ หมายการเงิน: ซอ้ื ทีวี จานวนเงินที่ต้องการ: 8,400 บาท ระยะเวลา: 12 เดือนขา้ งหน้า คานวณจานวนเงนิ ที่ต้องออมต่อเดอื น: ……น…า…ง…ก……จ…ะต…้อ…ง…ออ…ม…เง…ิน…เด…อื …น…ละ……………=……จา…น…วน…เ…งิน…ท…่ีต…้อ…งก…า…ร……÷ …ร…ะย…ะ…เว…ลา……(เ…ด…อื น…)….… ……………………………………………………………=……8,…40…0……÷…1…2…………………………………………….… ……………………………………………………………=……7…00……บ…าท………………………………………………….… ……ด…ัง…น…้ัน…น…า…ง……ก…จ…ะ…ตอ้…ง…อ…อม…เง…ิน…เด…อื…น…ล…ะ…7…0…0…บ…า…ท……เป…น็ …ระ…ย…ะเ…วล…า……12……เด…ือ…น…………….… แผนการออม: 1. ลดคา่ กาแฟจากทกุ วนั เหลือวนั เวน้ วนั (กาแฟแกว้ ละ 30 บาท 450 บาท ลด 15 วนั ) ได้เงนิ 200 บาท 60 บาท 2. ลดค่าหวยจากงวดละ 300 บาท เหลืองวดละ 200 บาท (ลดงวดละ 100 บาท จานวน 2 งวดต่อเดอื น) ไดเ้ งนิ 3. หารายไดเ้ พ่ิมโดยรับจ้างปกั ผ้าผืนละ 15 บาท จานวน 4 ผืน ได้เงิน ได้เงนิ ออมรวมตอ่ เดือนเท่ากบั 710 บาท กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 4 การตั้งเปา้ หมายและจดั ทาแผนการเงนิ (ใหผ้ ้เู รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 4 ท่ีสมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนร)ู้ ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
78 เรือ่ งท่ี 5 การออม การออมเป็นสิ่งท่ีทุกคนคุ้นเคยกันดี แต่มักจะละเลยท่ีจะทา เพราะต้องใช้ เวลานานกว่าจะเห็นผล บางคนมองว่าการออมเป็นเร่ืองของเด็ก แต่แท้จริงแล้วการออมเป็น จดุ เริ่มตน้ ของความมนั่ คงทางการเงนิ และเปน็ เหมือนวรี บุรษุ ทีช่ ว่ ยเหลอื เราเม่ือมปี ญั หาการเงนิ ความหมายของการออม การออมเป็นการแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งในปัจจุบันไปเก็บสะสมไว้ใช้ในอนาคต ซึ่ง สามารถทาได้หลายรูปแบบ ต้ังแต่การเก็บสะสมด้วยตนเอง เช่น หยอดกระปุกออมสิน เก็บสะสมไว้ที่บ้าน ไปจนถึงการนาไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน ซ่ึงมักอยู่ในรูปแบบท่ีมีความ เส่ียงต่อการสูญเสียเงินต้นต่า และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนักเมื่อเทียบกับการลงทุน เช่น การฝากในบญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์ บัญชเี งินฝากประจา การซ้ือสลากออมทรัพย์ ประโยชน์ของการออม การออมอย่างสม่าเสมอจะทาให้ผู้ออมมีเงินก้อนสะสมเก็บไว้ ซึ่งมีประโยชน์ หลายประการ เช่น 1. ช่วยแบ่งเบาภาระเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหนี้หรือขอความ ชว่ ยเหลอื จากบคุ คลอน่ื 2. ช่วยลดความเสี่ยงท่ีจะมีปัญหาการเงิน เม่ือมีเหตุทาให้เงินที่มีไม่พอต่อ ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึน ก็สามารถนาเงินออมออกมาใช้ก่อนได้ ช่วยลดปัญหาเงินไม่พอใช้ซึ่งเป็น สาเหตหุ น่งึ ของปญั หาการเงนิ ได้ 3. ช่วยทาให้ความฝันเป็นความจริง เงินออมท่ีมีอาจนาไปเป็นเงินทุนเพ่ือ ทากิจการของตนเอง เรียนเพิ่มทักษะ คอมพิวเตอร์ ภาษา หรือปริญญาโท เป็นเงินดาวน์บ้าน ดาวน์รถ หรือเพื่อสร้างครอบครวั เชน่ เพ่อื จดั งานแต่งงาน เพ่ือการศึกษาบุตร เพ่ือท่องเท่ียวกับ ครอบครัว 4. ช่วยสร้างโอกาสให้มีรายได้มากขึ้น เช่น นาเงินออมไปซื้อหุ้น พันธบัตร กองทนุ รวม หรือนาไปลงทุนซือ้ ห้องแถวให้เชา่ ก็มีโอกาสท่ีจะทาใหเ้ งินที่มีอยู่งอกเงยมากข้ึน ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
79 เป้าหมายการออม การออมไม่ต่างจากการทาเร่ืองอื่นที่จะต้องมีเป้าหมายท่ีชัดเจน นอกจากจะเป็น ประโยชน์ในการจัดทาแผนการเงินแล้ว ยังเป็นแรงผลักดันในการทาให้สาเร็จหรือไม่นาเงินออม ไปใช้ในเรอื่ งอน่ื กอ่ นถงึ เปา้ หมาย เป้าหมายการออมสามารถต้ังได้หลายด้านและอาจมีหลาย ๆ เป้าหมายในเวลา เดยี วกันได้ ซงึ่ เปา้ หมายการออมทีส่ าคญั มีดังน้ี 1. เงินออมเพื่อใช้ในยามฉุกเฉิน เป็นเงินท่ีออมไว้ใช้จ่ายหากเกิดเร่ือง ไม่คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ เจ็บป่วย หรือรายได้ลดกะทันหัน ซึ่งควรมีเงินออมก้อนนี้อย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็นตอ่ เดือน เงนิ ออมเผ่อื ฉกุ เฉนิ = รายจา่ ยจาเปน็ ต่อเดอื น x 6 สาหรับผู้ท่ียังไม่เคยมีเงินออมเผื่อฉุกเฉิน อาจเริ่มต้ังเป้าหมายท่ี 3 เท่าของ ค่าใช้จ่ายจาเป็นต่อเดือนก่อน เพื่อเป็นกาลังใจในการออม แล้วค่อย ๆ ออมเพ่ิมไปให้ถึง จานวน 6 เทา่ ของรายจ่ายจาเปน็ ต่อเดือน และหากมีเหตุให้ต้องนาเงินออมเผ่ือฉุกเฉินออกไปใช้ ควรหาเงนิ มาออมเพ่ือให้เงนิ กอ้ นนก้ี ลับมาอยู่ในระดับเดมิ โดยเร็ว 2. เงินออมเพ่ือใช้จ่ายในยามชรา เป็นเงินที่ออมไว้ใช้จ่ายในยามท่ีไม่มีรายได้ แล้ว หลายคนคิดว่าเป็นเร่ืองไกลตัว แต่จานวนเงินท่ีต้องใช้จ่ายในยามชราน้ันค่อนข้างสูง จงึ ออมเงินไวเ้ พ่อื ใชจ้ า่ ยในยามชราต้งั แต่ตอนท่ียงั มีรายรบั อยู่ จานวนเงินทจ่ี ะตอ้ งใชใ้ นยามชรา สามารถประมาณการอย่างคร่าว ๆ ได้ดงั น้ี เงนิ ทค่ี วรมี = คา่ ใชจ้ ่ายต่อเดือนในยามชรา x 12 เดอื น x จานวนปที ค่ี าดว่าจะมีชวี ติ หลงั จากทไ่ี มม่ ีรายได้ เงินออมเพื่อค่าใชจ้ ่ายจาเปน็ ท่ีเปน็ กอ้ นใหญ่ การวางแผนล่วงหนา้ จะทาให้ทราบจานวนเงนิ ท่ี ตอ้ งใชจ้ ่ายและวางแผนออมเงนิ ได้ทนั เวลา เชน่ ค่าเทอมบตุ ร คา่ ดาวน์บ้าน ค่าซอ่ มบ้าน ซง่ึ การ วางแผนออมแตเ่ นน่ิ ๆ จะทาให้เรามีเวลาพอสมควรที่จะทยอยออมและ ทาให้ยอดออมต่อครั้ง (เช่น ตอ่ เดือน) ไม่สงู เกินกาลัง ทาให้ออมเงินได้ง่ายขน้ึ และไม่สรา้ ง ความรูส้ ึกกดดันจนเกนิ ไป และเมือ่ ถงึ เวลาทต่ี อ้ งจ่าย คา่ ใช้จ่ายน้นั กจ็ ะไมเ่ ปน็ ภาระและไมต่ อ้ งกู้ เงนิ เพอื่ ค่าใชจ้ า่ ยเหล่าน้นั ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
80 ตัวอยา่ ง นาง ก ต้องจา่ ยค่าเทอมของลกู จานวน 12,000 บาทในอกี 6 เดือนข้างหน้า นาง ก กค็ วรออมเงินเดอื นละ = จานวนเงนิ ที่ต้องการใช้ ÷ ระยะเวลา = 12,000 ÷ 6 = 2,000 บาท ดังน้ัน นาง ก ควรออมเงินเดือนละ 2,000 บาทเพ่ือให้มีเงินจ่ายค่าเทอมลูก จานวน 12,000 บาทในอกี 6 เดอื นข้างหน้า เปรียบเทียบกับกรณีที่นาง ก มีเวลาเหลือเพียงแค่ 2 เดือน นาง ก จะต้องออม มากถึง 6,000 บาทตอ่ เดือน 3. เงินออมเพ่ือการลงทุน เป็นออมเงินเพ่ือนาไปลงทุนให้เงินงอกเงย ซึ่งทาได้ ตั้งแต่ลงทุนซื้อห้องแถวหรือเคร่ืองมือต่าง ๆ เพื่อให้เช่า หรือลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ ซ่ึงการ ลงทุนบางประเภทอาจต้องใช้เงินก้อนในการลงทุน และการลงทุนมีความเส่ียงต่าง ๆ เช่น การขาดทุน การได้ผลตอบแทนน้อยกว่าท่ีคาดหวัง ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาให้รอบคอบก่อน ตดั สินใจลงทุน 4. เงนิ ออมเพือ่ ของทอี่ ยากได้ เปน็ การออมเพือ่ นาเงินไปใช้จ่ายในส่ิงที่ต้องการ เชน่ ท่องเท่ียว ซ้อื เครื่องเสียง เครื่องประดับสวย ๆ ซึ่งส่วนมากมักเป็นรายจ่ายไม่จาเป็น ดังนั้น จึงควรออมเงินก่อนซ้ือและไม่ควรก่อหน้ีเพื่อซื้อของเหล่าน้ี แต่ควรจะต้องตั้งเป้าหมายการออม เพอ่ื ซอ้ื ของเหลา่ น้ีให้ชดั เจน และหากออมเงินไมค่ รบ กไ็ มค่ วรซ้ือ 5. เงินออมเพ่ือปลดหน้ี เป็นการออมเพ่ือนาเงินที่ได้ไปจ่ายหนี้เพิ่ม เพ่ือลด จานวนเงนิ ตน้ และดอกเบย้ี และทาใหจ้ ่ายหนี้หมดได้เร็วขึ้น นอกจากนี้ เราควรออมเงินอยา่ งนอ้ ย 1 ใน 4 ของรายได้หรอื 25% ของรายได้ เม่อื มีรายรับ ก็ควรออมทนั ทโี ดยแบ่งไปตามเป้าหมายท่ีตัง้ ไว้ว่าเป็นเงินออมเพ่ืออะไร แต่สาหรับ ผู้ที่เร่ิมต้นออมที่รู้สึกกดดันกับการออมเงิน 25% ของรายได้ อาจเริ่มออมท่ี 10% ของรายได้ กอ่ น แลว้ คอ่ ย ๆ ออมเพ่มิ ขึ้น และควรออมอยา่ งสม่าเสมอ หลักการออมใหส้ าเรจ็ การออมสามารถทาได้หลายวิธี ผู้ออมอาจเลือกใช้วิธีการออมท่ีตนเองถนัดและ เหมาะสมกับรายรับ-รายจ่ายของตนเอง แต่ท้งั นี้ ควรมีหลักการออมดังนี้ 1. ออมก่อนใช้ เมื่อได้รับเงินมา ควรแบ่งเงินไปออมไว้ทันที เพราะหากใช้ ก่อนออม สดุ ท้ายอาจไมเ่ หลอื เงนิ ออมตามที่ตั้งใจไว้ ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
81 2. แบ่งเงินเป็นส่วน ๆ ตามเป้าหมายที่ต้องการใช้ เช่น เงินออมเผ่ือฉุกเฉิน เงินออมเพ่ือใช้จ่ายในยามชรา เงินออมเพ่ือซ้ือของที่อยากได้ และใช้เงินตามวัตถุประสงค์นั้น ๆ ไม่ปะปนกัน ท้ังนี้ ควรเปิดบัญชีสาหรับออมเงินโดยเฉพาะ เพื่อแยกเงินที่ต้องการออมและ เงินสาหรับใช้จ่ายออกจากกัน และอาจเพิ่มความยากในการถอนเงิน เช่น ไม่ทาบัตรเดบิต หรือ ฝากเงินไว้ในบัญชีท่ีจากัดจานวนคร้ังในการถอน (ถ้าถอนเกินจานวนครั้งท่ีกาหนดจะถูกปรับ) ยกเว้นบญั ชีเงนิ ออมเผื่อฉกุ เฉนิ ท่จี ะตอ้ งถอนง่าย 3. มีวินัยในการออม โดยใช้เทคนิคการออมท่ีสนุกสนาน ทาได้ง่าย เพื่อสร้าง แรงจงู ใจในการออมให้ไดต้ ามท่ีต้งั ใจไว้ เชน่ หยอดกระปกุ กอ่ นออกจากบ้านวนั ละ 10 บาท ผูกการออมกบั พฤตกิ รรมทช่ี อบทา เชน่ เล่นเกมชัว่ โมงละ 10 บาท ไดแ้ บงก์ 50 มาเม่อื ไหร่ ก็เกบ็ ไวไ้ ปหยอดกระปกุ ไมน่ ามาใช้ ไม่ชอบพกเหรียญเพราะมันหนัก พอได้เหรียญทอนมาก็หยอดกระปุก ให้หมด ซื้อของไม่จาเป็นไปเท่าไร ก็ให้นาเงินมาออมเท่านั้น เช่น ถ้าซ้ือของ ไม่จาเป็น 1,000 บาท ก็ตอ้ งออมเงนิ ใหไ้ ด้ 1,000 บาท ออมให้พอ ที่เหลือใช้ให้เรียบ คือ การต้ังเป้าหมายว่าจะออมเดือนละ เท่าไร แล้วนาไปออมหรือลงทุนเท่าท่ีวางแผนไว้ เงินที่เหลือก็ใช้ได้ตาม สบาย ต้ังคาส่ังหักเงินเดือนอัตโนมัติไปฝากเข้าบัญชีเงินออมหรือซื้อหุ้น สหกรณ์ ความรูเ้ บื้องต้นเกยี่ วกบั กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นกองทุนสาหรับประชาชนท่ีมีอายุตั้งแต่ 15 – 60 ปี ซ่ึงไม่อยู่ในระบบบาเหน็จบานาญภาครัฐหรือเอกชนหรือกองทุนตามกฎหมายอ่ืนท่ี ไดร้ ับเงินสมทบจากรัฐหรือนายจา้ ง ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ
82 หลกั การออมเงินของ กอช. หลักการออมแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินท่ีสมาชิกออม และเงินท่ีรัฐจ่ายสมทบ ซ่ึง สมาชิกทุกคนไม่จาเป็นต้องส่งเงินสะสมเข้ากองทุนทุกเดือน ในกรณีท่ีส่งเงินสะสมต้องไม่ต่ากว่า คร้ังละ 50 บาท สูงสุดไมเ่ กิน 13,200 บาทต่อปี และรัฐจะจา่ ยสมทบให้ตามช่วงอายุ ดงั น้ี ชว่ งอายุ 15 – 30 ปี 30 – 50 ปี 50 – 60 ปี จานวนเงิน 50% ของเงนิ สะสม 80% ของเงินสะสม 100% ของเงินสะสม ท่ีจา่ ยสมทบ (ไมเ่ กิน 600 บาทตอ่ ปี) (ไมเ่ กิน 960 บาทต่อปี) (ไม่เกิน 1,200 บาทต่อป)ี ทั้งน้ีหากเดือนใดสมาชิกไม่สง่ เงินเขา้ กองทนุ รฐั กจ็ ะไม่จ่ายสมทบใหเ้ ช่นกนั การได้รบั เงนิ คนื ของ สมาชิก กอช. 1) กรณีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (รวมทั้งสมาชิกที่มีอายุต้ังแต่ 50 ปี ขึ้นไป เมื่อครบระยะเวลา 10 ปี หรือลาออกเมื่ออายุครบ 60 ปี) หากคานวณเงินบานาญได้ ตามเกณฑ์ท่กี าหนด จะไดร้ บั เงนิ บานาญตลอดชีวติ หากไดน้ อ้ ยกวา่ เกณฑ์จะได้รับเป็นเงินดารงชีพ เดือนละ 600 บาทจนกว่าเงนิ ในบัญชจี ะหมด 2) กรณีทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี สามารถเลือกได้ว่าจะรับเงิน ท่ีสมาชิกสะสมเองพร้อมดอกผลท้ังจานวนหรือบางส่วน โดยขอรับได้เพียงครั้งเดียว และเงิน ส่วนท่ีรัฐจ่ายสมทบพร้อมดอกผลจะจ่ายเป็นเงินบานาญหลังอายุครบ 60 ปี หากยังมีเงินสะสม เหลืออยูใ่ นกองทนุ กจ็ ะนามาคานวณการจ่ายบานาญด้วย 3) ก ร ณี ล า อ อ ก จ า ก ก อ ง ทุ น จ ะ ไ ด้ รั บ เ งิ น ท่ี ส ม า ชิ ก ส่ ง ส ะ ส ม เ อ ง พร้อมดอกผลท้ังจานวน แตเ่ งินส่วนทรี่ ัฐสมทบจะตกเป็นของกองทุน 4) กรณีเสียชีวิต ผู้รับผลประโยชน์ท่ีสมาชิกแจ้งชื่อไว้จะได้รับเงิน ในบัญชที ้งั หมด กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 5 การออม (ให้ผเู้ รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 5 ที่สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรยี นรู)้ ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
83 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 สินเชื่อ สาระสาคญั เมื่อเจอสถานการณ์ท่ีจาเป็นต้องใช้เงิน แต่เงินที่เก็บออมมีไม่เพียงพอ อาจ ทาให้ต้องไปใช้ทางเลือกอ่ืน ๆ ซ่ึงส่วนใหญ่มักเลือกการก่อหนี้ ทาให้เกิดเป็นภาระหน้ี ดังน้ัน ควรไตร่ตรองถึงความจาเป็นก่อนก่อหน้ี ซ่ึงหนี้ท่ีจะก่อน้ันควรเป็นหนี้ท่ีดี คือเป็นหน้ี ที่ชว่ ยสรา้ งรายได้ และประเมินความสามารถในการชาระหนี้ของตนเองด้วยว่าสามารถชาระหนี้ ได้หรือไม่ และเมื่อพร้อมที่จะก่อหนี้แล้ว ก็ควรมีความรู้ในเรื่องสินเช่ือ เพื่อให้สามารถเลือก สินเช่ือทีต่ รงตามความตอ้ งการ เม่ือได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้ว ก็ควรมีวินัยทางการเงิน เพ่ือให้จ่ายคืนได้ตรงเวลา เต็มจานวน และมีประวัติเครดิตดี หรือหากเกิดปัญหาไม่สามารถชาระหนี้ได้ ก็ควรรู้วิธีในการ แก้ไขปัญหาหนี้ด้วยตนเอง หรือขอคาปรึกษาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การเป็นหน้ี ไมส่ ร้างปัญหาตอ่ การดารงชวี ิตประจาวนั ตวั ช้วี ัด 1. บอกความหมายของ “หนดี้ ี” และ “หนพ้ี งึ ระวงั ” 2. บอกลักษณะของสนิ เช่ือรายยอ่ ย 3. บอกประเภทและวธิ คี านวณดอกเบยี้ เงนิ กู้ 4. บอกความหมายและบทบาทหน้าที่ของเครดิตบูโร และวิธีการตรวจสอบ ข้อมลู เครดิตของตนเอง 5. บอกวธิ ีการป้องกนั ปญั หาหน้ี 6. บอกวิธีการแกไ้ ขปัญหาหน้ี 7. บอกหน่วยงานท่ีให้คาปรึกษาเรอ่ื งวิธแี กไ้ ขปญั หาหนี้ ขอบข่ายเนือ้ หา เร่ืองท่ี 1 การประเมนิ ความเหมาะสมก่อนตัดสินใจกอ่ หน้ี เรอ่ื งท่ี 2 ลักษณะของสินเชือ่ รายยอ่ ยและการคานวณดอกเบ้ยี เรอ่ื งที่ 3 เครดิตบูโร เรือ่ งที่ 4 วิธีการป้องกนั ปัญหาหน้ี เรอ่ื งที่ 5 วธิ กี ารแก้ไขปัญหาหน้ี เรอ่ื งที่ 6 หนว่ ยงานทใี่ หค้ าปรึกษาวิธีการแกไ้ ขปญั หาหนี้ ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เชื่อ
84 เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา 36 ชั่วโมง สอ่ื ประกอบการเรียนรู้ 1. ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ิต 2 2. หนงั สือรู้รอบเรอื่ งการเงินของศนู ยค์ ้มุ ครองผูใ้ ช้บริการทางการเงิน ตอน เปน็ หน้อี ย่างเป็นสุข 3. เว็บไซต์ www.1213.or.th เฟซบกุ๊ www.facebook.com/hotline1213 ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สนิ เชื่อ
85 เรื่องที่ 1 การประเมนิ ความเหมาะสมกอ่ นตดั สินใจกอ่ หนี้ ความสุขในชีวิตอย่างหน่ึงของคนเราคือการไม่เป็นหนี้ แต่ใช่ว่าเมื่อเป็นหน้ีแล้ว จะมคี วามสุขไม่ได้ ถา้ หากเราร้จู ักก่อหนี้เพื่อสิ่งจาเป็น และไม่เกินความสามารถในการชาระหน้ีคืน แต่หากเป็นหนี้เพ่อื สงิ่ ไมจ่ าเปน็ หรอื เกนิ กาลัง วันหนง่ึ อาจจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ในชวี ติ ได้ หนแ้ี บ่งออกเปน็ 2 ประเภทตามประโยชนท์ ีจ่ ะได้รบั ดงั นี้ 1. หน้ีดี คือ หน้ีที่ช่วยสร้างรายได้และสร้างความม่ันคงในอนาคต เช่น หน้ีเพื่อ การศึกษา หนีเ้ พ่ือการประกอบอาชีพ หนเ้ี พ่อื ทอี่ ยอู่ าศยั 2. หนี้พึงระวัง คือ หนี้ท่ีเกิดจากการนาเงินไปซ้ือของท่ีไม่จาเป็นหรือ ของฟุ่มเฟือย และไม่สร้างรายได้ในอนาคต เช่น หนี้ท่ีเกิดจากการซ้ือของใช้ราคาแพงเกินฐานะ หนท้ี ่ีเกดิ จากการพนัน ประเมนิ ความเหมาะสมกอ่ นตดั สินใจก่อหนี้ เม่ือพูดถึงหน้ี เชื่อว่าหลายคนคงไม่อยากมี แต่อาจมีความจาเป็นของชีวิตหรือ ถูกกระตุ้นจากสิง่ ล่อใจภายนอก ดังนน้ั ก่อนจะคดิ เปน็ หนี้ควรไตรต่ รองใหด้ ี โดยมีหลกั ในการจัดลาดับ การตัดสนิ ใจก่อนเปน็ หนี้ ดงั นี้ 1. พจิ ารณาความจาเปน็ 1.1 ส่ิงที่จาเป็น คือ สิ่งที่ต้องใช้ในการดารงชีวิต เช่น ปัจจัยสี่ (ท่ีอยู่อาศัย เส้ือผ้า อาหาร และยารกั ษาโรค) 1.2 ส่ิงที่ไม่จาเป็น คือ สิ่งที่หากไม่มีก็ยังสามารถดารงชีวิตอยู่ต่อไปได้ หรือมีสิ่งอื่นทดแทนกันได้ เชน่ ตอ้ งการมโี ทรศัพทม์ ือถือรุ่นใหม่ลา่ สดุ ทง้ั ทีเ่ คร่ืองเดิมยงั ใชไ้ ด้อยู่ 2. พิจารณาความเร่งด่วน ไตร่ตรองดูว่าสามารถรอได้หรือไม่ มีความเร่งด่วน มากนอ้ ยแค่ไหน 2.1 หากเป็นสง่ิ ทม่ี ีความจาเป็น ให้พจิ ารณาว่ามีความเร่งดว่ นหรือไม่ สามารถรอไดห้ รอื ไม่ - หากรอได้ กค็ ่อยวางแผนทยอยเก็บเงนิ จนครบแลว้ คอ่ ยซ้ือ - หากรอไม่ได้ กค็ วรเลือกนาเงินออมเผ่อื ฉกุ เฉนิ ออกมาใช้ แล้วรีบเกบ็ เงินเตมิ เข้าไปใหม่ หากไมเ่ พียงพอจงึ คอ่ ยกยู้ ืม ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สินเชอื่
86 2.2 หากเป็นสิ่งไม่จาเป็น ก็ควรตัดใจไม่ซ้ือ หรือหากจะซ้ือ ก็ควรเป็น การเกบ็ เงนิ เพื่อซื้อแทนการกอ่ หน้ี 3. ประเมนิ ความสามารถในการชาระหน้ี นอกจากพิจารณาตามความจาเป็น และความเร่งด่วนแล้ว ควรต้องประเมิน ความสามารถในการชาระหนี้ด้วย โดยภาระหน้ีที่ต้องผ่อนต่อเดือน (หนี้เก่าบวกหน้ีใหม่) ไมค่ วรเกนิ 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดอื น ตัวอย่าง หากได้รับเงินเดือน 15,000 บาท ภาระหน้ีท่ีต้องจ่ายก็ไม่ควรเกิน 5,000 บาท ตอ่ เดอื น (15,000 ÷ 3) เพื่อให้สามารถชาระหนี้ได้โดยไม่กระทบกับการใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน และทาให้สุขภาพจิตของตนเองดี ไม่ต้องเครียดว่าจะมีเงินพอใช้ตลอดท้ังเดือนหรือไม่ นอกจากน้ี หากเรามหี นีม้ ากในขณะท่ีภาระค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวันก็มีมากอยู่แล้ว อาจทาให้ เรามีปญั หาการเงนิ และต้องไปก่อหนี้เพ่ิมข้ึนอกี กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 การประเมินความเหมาะสมก่อนตัดสนิ ใจกอ่ หนี้ (ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 ทีส่ มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้) ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เชอ่ื
87 เรอื่ งท่ี 2 ลกั ษณะของสนิ เชอ่ื รายยอ่ ยและการคานวณดอกเบยี้ สินเชื่อเป็นบริการทางการเงินของสถาบันการเงินท่ีสาคัญอย่างหนึ่งในระบบ เศรษฐกิจของประเทศ เพราะเป็นแหล่งเงินทุนที่สาคัญ ท้ังสาหรับผู้บริโภครายย่อยที่ต้องการ เงินเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค เช่น สินเช่ือบ้าน สินเช่ือบัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล หรือ ท้ังสาหรับผู้ประกอบการธุรกิจท่ีต้องการเงินทุนไปขยายกิจการ ในบทเรียนนี้จะกล่าวถึงสินเช่ือ รายย่อย เน่ืองจากเป็นสินเชือ่ ทีใ่ กลต้ ัวและเกีย่ วขอ้ งในชีวติ ประจาวันของประชาชน ทาความรู้จกั สินเช่ือรายย่อย สินเชื่อรายย่อยเป็นสินเช่ือที่ให้แก่บุคคลธรรมดา เพ่ือนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ เช่น ซื้อบ้าน เช่าซื้อรถ ซ่ึงโดยส่วนใหญ่จะไม่ได้นาไปใช้ในการประกอบธุรกิจ ในท่ีน้ี ขอกล่าวถึงสินเช่ือรายย่อยและผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ ที่ช่วยให้ผู้ใช้บริการได้รับสินค้าและบริการก่อน โดยยงั ไมต่ ้องจ่ายเงินท้ังก้อนในทนั ที ดงั น้ี 1. สินเช่อื เพ่อื ที่อยอู่ าศยั เป็นสินเช่ือที่สถาบันการเงินให้แก่บุคคลธรรมดา กู้ยืมเพ่ือใช้ในการจัดหาที่อยู่อาศัย เช่น ซื้อที่ดินและสร้างท่ีอยู่ อาศัย ซ้ือที่ดินพร้อมที่อยู่อาศัย ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัย ซ้ือห้องชุด เปน็ สนิ เชอื่ ทใ่ี ห้วงเงนิ กสู้ งู ดังนั้น ระยะเวลาผ่อนชาระจึงนานกว่า สนิ เชอ่ื ประเภทอนื่ ลกั ษณะของสินเช่อื ท่ีอยู่อาศยั 1) วงเงิน โดยทั่วไปสถาบันการเงินจะให้สินเช่ือประมาณ 80% ของมูลค่า หลักประกัน (เช่น ทีด่ นิ พร้อมส่ิงปลูกสรา้ ง ห้องชดุ ) 2) อัตราดอกเบย้ี สถาบันการเงนิ แต่ละแหง่ จะกาหนดอตั ราดอกเบ้ยี แตกต่าง กันไป แต่ส่วนใหญม่ ักจะใชอ้ ัตราดอกเบ้ยี คงที่ และอตั ราดอกเบี้ยลอยตวั อัตราดอกเบี้ยคงท่ี (fixed rate) คือ อตั ราดอกเบ้ยี ท่ีกาหนดไวเ้ ป็นตัวเลข คงที่ในชว่ งเวลาทีก่ าหนด เชน่ ดอกเบ้ียคงท่ี 5% ตอ่ ปเี ป็นระยะเวลา 3 ปี ดอกเบย้ี คงที่ 5% ตอ่ ปีตลอดอายสุ ัญญา อัตราดอกเบี้ยลอยตัว (floating rate) คือ อัตราดอกเบ้ียท่ีเปล่ยี นแปลงไป ตามตน้ ทนุ ของสถาบันการเงิน อัตราดอกเบ้ยี ลอยตัวทเ่ี ห็นได้บอ่ ย คอื อตั ราดอกเบี้ยอ้างอิงของ ธนาคารพาณิชย์ เช่น MLR MOR MRR ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 สินเช่อื
88 ตวั อย่าง ธนาคาร A กาหนดอตั ราดอกเบยี้ สาหรบั สนิ เชื่อเพ่อื ที่อย่อู าศัย ดังน้ี - ปีท่ี 1 - 3 คดิ อัตราดอกเบยี้ แบบคงท่ี 2.5% ต่อปี - ปีท่ี 4 เปน็ ต้นไป คิดอัตราดอกเบีย้ MRR - 1% ตอ่ ปี หากในปีที่ 4 ธนาคาร A ประกาศอัตราดอกเบ้ียอ้างอิงของธนาคาร โดย MLR เท่ากับ 4% MOR เท่ากับ 5% และ MRR เท่ากับ 6% ธนาคารจะคิดอัตราดอกเบ้ีย เท่ากับ 5% ตอ่ ปี (6% - 1%) ท้ังนี้ ผู้ขอสินเช่ือสามารถดูประกาศอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงได้ ซ่ึงจะ ติดประกาศไว้ ณ ทีท่ าการ หรอื ในเวบ็ ไซต์ของสถาบนั การเงิน 3) วิธีการคิดดอกเบ้ีย คิดดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก (effective rate) ซ่ึงเป็น การคิดดอกเบ้ียจากฐานเงินต้นท่ีลดลง กล่าวคือ เมื่อเงินต้นลดดอกเบี้ยก็จะลดลงด้วย ถ้าผู้ให้ สินเชื่อกาหนดให้ต้องผ่อนงวดละเท่า ๆ กัน จะต้องคิดดอกเบ้ียท่ีต้องจ่ายงวดนั้นก่อน จากน้ัน จงึ นาค่างวดทผ่ี ่อนชาระหักด้วยดอกเบี้ยท่ีต้องจ่าย ก็จะได้จานวนเงินต้น แล้วนามาหักออกจาก เงินต้นที่ยังมีอยู่ท้ังหมด ก็จะได้เงินต้นคงเหลือเพื่อนาไปใช้คานวณดอกเบ้ียในงวดถัดไป โดยมี หลักการคานวณดังน้ี ข้ันท่ี 1 คานวณดอกเบ้ียที่ต้องจ่ายในงวดนน้ั โดยมีสตู รคานวณ ดงั นี้ * จานวนวันใน 1 ปี สถาบันการเงินอาจใช้ 360 วัน หรือ 365 วัน หรือ 366 วันก็ได้ แต่ไม่ว่าจะกาหนด จานวนวันเป็นเท่าใดก็ตาม สถาบันการเงินจะต้องใช้จานวนวันเดียวกันสาหรับการคานวณท้ังดอกเบี้ยจ่าย เชน่ เงนิ ฝาก และดอกเบย้ี รบั เชน่ สินเชอื่ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สนิ เชอื่
89 ข้ันที่ 2 คานวณเงินต้นที่ลดลงในงวดนั้น ข้ันตอนน้ีให้นาเงินค่างวดท่ีต้อง จ่ายในงวดน้นั หกั ออกด้วยดอกเบย้ี จา่ ยทค่ี านวณได้จากในขั้นที่ 1 ยอดทไ่ี ด้ก็คือ เงินต้นที่ได้จ่าย ไปในงวดนน้ั ขั้นที่ 3 คานวณเงินต้นคงเหลือ ขั้นตอนน้ีเพื่อหาเงินต้นคงเหลือเพื่อใช้ใน การคานวณดอกเบ้ยี ที่ต้องจา่ ยในงวดถดั ไป ทั้งนี้ หากเป็นการผ่อนชาระด้วยจานวนเงินต้นเท่ากันทุกเดือน หรือมีการ กาหนดจานวนเงนิ ต้นท่ีตอ้ งจ่ายไวแ้ น่นอน ก็สามารถใช้สูตรในขั้นที่ 1 คานวณหาดอกเบี้ยที่ต้อง จา่ ยได้เชน่ กนั ตวั อย่าง การคานวณอัตราดอกเบ้ยี แบบลดต้นลดดอก ขอเงินกู้ 12,000 บาท ธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ย 24 % ต่อปี (แบบลดต้นลดดอก) กาหนดให้ชาระหน้ี 6 งวด งวดละ 2,150 บาท ยกเว้นงวดสุดท้ายให้ชาระ 2,093 บาท จงคานวณว่า จะเสียดอกเบ้ยี เงินกูเ้ ปน็ จานวนเงนิ เท่าใด ชดุ วชิ าการเงนิ เพือ่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สินเช่อื
90 ข้างต้นเป็นการคานวณสาหรับงวดที่ 1 ซ่ึงจะต้องคานวณของงวดต่อ ๆ ไปตามขั้นตอน ข้างต้น (ข้นั ท่ี 1 - 3) จนครบทกุ งวด จะไดผ้ ลลัพธ์ตามตาราง งวด จานวนผอ่ นชาระต่องวด ชาระดอกเบ้ีย ชาระเงนิ ตน้ เงนิ ต้นคงเหลอื (1) (2) (1) - (2) 0 12,000 1 2,150 245 1,905 10,095 2 2,150 186 1,964 8,131 3 2,150 166 1,984 6,147 4 2,150 121 2,029 4,118 5 2,150 84 2,066 2,052 6 2,093 41 2,052 0 รวม 843 12,000 สรปุ ดอกเบ้ียที่ต้องจา่ ยทง้ั หมดเท่ากับ 843 บาท ทั้งนี้ หากเป็นการผ่อนชาระด้วยจานวนเงินต้นเท่ากันทุกเดือน หรือกาหนด จานวนเงินต้นท่ีต้องจ่ายไว้แน่นอน ก็สามารถใช้สูตรในขั้นท่ี 1 คานวณหาดอกเบ้ียท่ีต้องจ่ายได้ เช่นกัน 4) การผ่อนชาระ ให้ระยะเวลาผอ่ นนาน แต่ไม่เกิน 30 ปี ก่อนตัดสินใจซื้อหรือสร้างบ้านด้วยการขอสินเช่ือ ควรต้องสารวจ ความพร้อมของตัวเอง ดังน้ี - เลือกบ้านท่ีไม่เกินความสามารถในการผ่อนชาระหน้ี และม่ันใจว่า จะสามารถผ่อนนานไดต้ ลอดรอดฝั่ง - ศึกษาและเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาผ่อนชาระ ค่าใช้จ่าย และเงื่อนไขอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้อง เพือ่ เลือกธนาคารท่ใี หเ้ ง่ือนไขทีร่ ับได้ - ควรมีเงินอย่างน้อย 20% ของราคาท่ีอยู่อาศัยเพื่อเป็นเงินดาวน์ (เงินดาวน์ คือ เงินส่วนหน่ึงที่ผู้จะซื้อบ้านจ่ายให้โครงการที่อยู่อาศัยก่อนท่ีจะจ่ายเงินก้อนใหญ่ เพื่อชาระค่าบา้ นท้งั หมด ซ่งึ โครงการท่ีอยู่อาศัยอาจให้ชาระเป็นก้อนเดียว หรือทยอยผ่อนชาระ เปน็ รายงวด โดยมกั กาหนดเงินดาวนไ์ วป้ ระมาณ 15 - 20% ของราคาทอี่ ย่อู าศยั ) ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สินเช่อื
91 - เตรียมเอกสารเพ่อื ทาเรื่องขอกใู้ ห้พร้อม - ตัง้ เป้าหมายเก็บเงิน เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายที่จะเกิดข้ึนในอนาคต (นอกจาก เงนิ ดาวน์และค่าผอ่ นบา้ น) เช่น 1) ค่าประเมินหลักประกัน เป็นค่าใช้จ่ายสาหรับการประเมินว่าบ้าน หรือหลกั ประกนั มมี ูลค่าเท่าไร ซ่ึงธนาคารจะใชเ้ ปน็ ตัวกาหนดวงเงินกใู้ หแ้ ก่ผู้ขอสินเชื่อ 2) ค่าจดจานองและคา่ อากรแสตมป์ ซึ่งต้องจ่ายให้แก่ส่วนราชการหรือ สานักงานท่ีดิน 3) ค่าประกันภัย เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงให้กับผู้ขอสินเช่ือ เช่น การทาประกันอัคคีภัย ซึ่งหากเกิดความเสียหายกับท่ีอยู่อาศัยก็ยังมีเงินก้อนหน่ึง จากการประกันภัยมาจ่ายค่าบ้าน ช่วยลดภาระแก่ผู้ขอสินเช่ือ (ศึกษารายละเอียดเร่ือง ประกันภัย ได้จากหน่วยการเรียนรู้ที่ 1) อย่างไรก็ดี ธนาคารไม่สามารถบังคับให้ผู้ขอสินเชื่อ ทาประกันภัยกบั บรษิ ทั ใดบริษทั หนึง่ โดยเฉพาะ เพราะผู้ขอสินเชื่อมีสิทธิท่ีจะเลือกทาประกันภัย ไดอ้ ย่างอสิ ระ 4) ค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ เก่ียวกับบ้าน เช่น ค่าตกแต่ง ค่าป๊ัมน้า ค่าน้า ค่าไฟ และคา่ ส่วนกลาง (ถา้ อย่ใู นหมบู่ า้ นจดั สรรหรอื คอนโดมิเนียม) 2. การเช่าซื้อ (Hire Purchase) มลี ักษณะคล้ายการให้สินเช่ือ โดยผู้เช่าซ้ือทาสัญญากับผู้ให้เช่าซื้อว่าจะชาระ ค่าสินค้าเป็นงวด ๆ ตามจานวนเงินและระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งระหว่างนั้นผู้เช่าซ้ือสามารถนา ทรัพย์สินที่เช่าซ้ือมาใช้งานได้ก่อน โดยที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินยังเป็นของผู้ให้เช่าซ้ือจนกว่า จะจา่ ยเงินครบตามสัญญาจึงจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นมาเป็นของผู้เช่าซื้อ เช่น การเช่า ซ้อื รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ การเชา่ ซอื้ รถ ในปัจจุบัน รถถือเป็นปัจจัยสาคัญท่ีทาให้ เดนิ ทางไดส้ ะดวกสบายยิง่ ข้ึน และยังเปน็ เครื่องมือในการ ประกอบอาชีพของคนบางคนด้วย ซ่ึงปัจจุบัน มีบริการให้เช่าซ้ือรถ ทั้งรถใหม่ และรถท่ีใช้ แล้วใหเ้ ลอื กใช้บรกิ าร ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เชอ่ื
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192