Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แยมเสร็จสทบูรณื

แยมเสร็จสทบูรณื

Published by จันทิมา ปุมะ, 2021-02-25 08:52:36

Description: แยมเสร็จสทบูรณื

Search

Read the Text Version

การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์แยมเบต้าแคโรทีน Product development of Jam Bete-carotene จันทมิ า ปมุ ะ ธีราภรณ์ เป็ งใจ โครงการนเี้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ ประเภทวชิ าคหกรรม วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปี การศึกษา 2563

การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์แยมเบต้าแคโรทนี Product development of Jam Bete-carotene จนั ทิมา ปมุ ะ ธีราภรณ์ เป็ งใจ โครงการนี้เป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ ประเภทวชิ าคหกรรม วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ปี การศึกษา 2563

ก ใบรับรองโครงการ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ เร่ือง โครงการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีน โดย นางสาวจนั ทิมา ปุมะ รหสั 6234040176 นางสาวธีราภรณ์ เป็งใจ รหสั 6234040179 ไดร้ ับการรับรองใหน้ บั เป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ช้นั สูง สาขาวิชา อาหารและโภชนาการ ประเภทวิชา คหกรรม ……………………………………หวั หนา้ แผนกวชิ า ....…………………………รอง ผอู้ านวยการฝ่ ายวิชาการ (นายผดุงพงศ์ ศรีคา ) (นายณรงคศ์ กั ด์ิ ฟองสินธุ์ ) วนั ท่ี 23 เดือน กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ 2564 วนั ที่ 23 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ 2564 คณะกรรมการสอบโครงการ …………………………………………....... ประธานกรรมการ ( นางภาชณุมาศ ทองคา ) ……………………………………………... กรรมการ

ข กิตตกิ รรมประกาศ กกกกกก การจดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เร่ือง การพฒั นาผลิตภณั ฑ์แยมเบตา้ แคโรทีน ของ นักศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ปวส.2/5 สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ ประเภท วิชาคหกรรม วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่ คร้ังน้ีสาเร็จไปได้ดว้ ยดีจากความกรุณาของ ท่าน ผอู้ านวยการ สมบตั ิ นาหลวง รองวชิ าการ ณรงคศ์ กั ด์ิ ฟองสินธุ์ คณะครูแผนกอาหารและโภชนาการ ครูที่ปึ กษาโครงการนางภาชณุมาศ ทองคา และคณะครูอาจารย์ ให้คาเสนอแนะแนวคิดตลอดจน แกไ้ ขความบกพร่องต่าง ๆ จนโครงการเล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์ ผวู้ จิ ยั จึงขอกราบขอบพระคุณอยา่ งสูง คณะผวู้ ิจยั ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาท่ีให้ความอนุเคราะห์เอ้ือเฟ้ื อสถานท่ีจน โครงการเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดีและขอบคุณเพื่อน ๆ ท่ีให้ความช่วยให้คาแนะนาเกี่ยวกบั โครงงานเล่มน้ีและใหก้ ารสนับสนุนอยู่เบ้ืองหลงั ทาให้โครงการสาเร็จลุล่วงไปไดจ้ ึงขอขอบคุณ เป็นอยา่ งยง่ิ จนั ทิมา ปุมะ ธีราภรณ์ เป็งใจ

ค ช่ือ : นางสาวจนั ทิมา ปุมะ, นางสาวธีราภรณ์ เป็งใจ ช่ือโครงการ : การพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน สาขาวชิ า : อาหารและโภชนาการ ประเภทวชิ า : คหกรรม อาจารย์ประจาวชิ าโครงการ : นางภาชณุมาศ ทองคา อาจารย์ที่ปรึกษาวชิ าโครงการ : นางภาชณุมาศ ทองคา ปี การศึกษา : 2563 บทคดั ย่อ โครงกานเรื่ อง ผลิตภัณฑ์แยมเบต้าแคโรทีน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสูตร มาตรฐานของแยมเบตา้ แคโรทีน 2) เพ่อื ศึกษากระบวนการการผลติ แยมเบตา้ แคโรทีน 3) เพื่อศกึ ษา การยอมรับการพฒั นาผลิตภณั ฑ์แยมเบตา้ แคโรทีน ดาเนินการโดยศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกับการใช้ ประโยชนจ์ ากฟักทอง เสาวรส มะละกอ แครอท จากงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ผลการศกึ ษาพบว่า การวิจยั ทาผลิตภณั ฑโ์ ครงการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีนซ่ึงมีการประเมินลกั ษณะเน้ือ สมั ผสั รูปร่าง สี กลิ่น และรสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน จากกลุม่ ตวั อยา่ ง 100 คน ข้ึนไปพบวา่ ผล การยอมรับ ดา้ นรสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรที่ 1 คิดเป็ นร้อยละ 16.24 สูตรที่ 2 คิดเป็ นร้อย ละ 16.54 สูตรที่ 3 คิดเป็ นร้อยละ 17.06 ดา้ นกล่ินของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 1 คิดเป็ นร้อยละ 15.32 สูตรท่ี 2 คิดเป็ นร้อยละ 15.78 และสูตรท่ี 3 คิดเป็ นร้อยละ 16.26 ดา้ นเน้ือสัมผสั แยมเบตา้ แค โรทีน สูตรที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 16.7 สูตรที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 16.7 และสูตรท่ี 3 คิดเป็นร้อยละ 16.84 และดา้ นสีสนั ลกั ษณะของแยมเบตา้ แคโรทีนตสั ูตรท่ี 1 คิดเป็นร้อยละ 15.64 16.26 สูตรท่ี 2 คิดเป็น ร้อยละ 16.26 และสูตรท่ี 3 คิดเป็ นร้อยละ 17.12 สรุปไดว้ ่าในการพฒั นาแยมเบต้าแคโรทีน ผูท้ ี่ ทดลองชิมประเมินให้สูตรท่ี 3 ไดร้ ับความนิยมและช่ืนชอบมากที่สุดในดา้ นลกั ษณะเน้ือสัมผสั รูปร่าง สี กลิ่น และรสชาติ

ง Name : Jantima Puma and Teeraporn Pengai Project name : Product development of Jam Bete-carotene Branch : Food and Nutrition Subject type : Home Economics Teacher : Pachanumas Thongkam Academic year : 2020 Abstract Project Beta- carotene jam products Have a purpose 1) to study the standard formulation of beta-carotene jam. 2) To study the production process of beta-carotene jam. 3) To study the acceptanceof development of beta-carotene jam products. By studying information about Utilization of Pumpkin, Passion Fruit, Papaya, Carrot from Related Research. The study found that Beta- carotene jam development project. The characteristics, texture, shape, color, smell and taste of beta-carotene jam were assessed. From a sample of 100 or more, it was found that the acceptance results Beta-carotene product development. Formula 1 accounted for 16.24% Formula 2 accounted for 16.54% Formula 3 accounted for 17.06%,The flavor of beta-carotenejam, Formula 1 accounted for 15.32 percent, Formula 2 accounted for 15.78 percent and Formula 3, accounting for 16.26 percent. Beta-carotene jam texture, Formula 1 accounted for 16.7%, Formula 2 accounted for 16.7% and Formula 3 accounted for 16.84%. And the color, characteristics of beta- carotene jam, Formula 1 accounted for 15.64% 16.26 Formula 2 accounted for 16.26% and Formula 3 accounted for 17.12% In conclusion, in the development of beta-carotene jam Test takers rated Recipe 3 the most popular and loved for its texture, shape, color, aroma and taste.

ค สารบญั หน้า ก เรื่อง ข ใบรับรองโครงการ ค กิตตกิ รรมประกาศ จ บทคดั ยอ่ ฉ สารบญั ตาราง สารบญั ภาพ 1 บทท่ี 1 บทนา 2 2 1.1 ท่ีมาและความสาคญั 2 1.2 จุดมุง่ หมายของการวจิ ยั 2 1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 1.4 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 3 1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 7 2.1 แยม 2.2 สารเบตา้ แคโรทีน 8 2.3 บรรจุภณั ฑ์ 8 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจยั 8 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 10 3.2 อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการวิจยั 11 3.3 การดาเนินการวิจยั 3.4 การเกบ็ รวบร่วมขอ้ มูล 12 3.5 การวเิ คราะห์และสรุปผล 13 บทที่ 4 ผลการศกึ ษาทดลอง 14 4.1 สรุปผลการวิจยั และการศกึ ษาการทดลองสูตรมาตรฐานของแยมเบตา้ แคโรทีน 4.2 สรุปผลการวจิ ยั กระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์แยมเบตา้ แคโรทีน 4.3 สรุปผลการวจิ ยั การยอมรับการพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน

ง สารบญั (ต่อ) เรื่อง หน้า บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา 15 5.2 ปัญหาและอุปสรรค 16 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 16 บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบนาเสนอโครงการ ภาคผนวก ข แบบประเมินความพ่งึ พอใจการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทนี ภาคผนวก ค ตารางสรุปแบบประเมนิ ความพ่งึ พอใจการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโร ทีน ภาคผนวก ง รูปภาพประกอบการดาเนินงาน ประวตั ผิ ้จู ดั ทา

จ สารบญั ตาราง หน้า 11 ตารางท่ี 12 ตารางที่ 3.5 การวเิ คราะห์และสรุปผล 13 ตารางที่ 4.1 ผลการวิจยั และทดลองสูตรมาตรฐานแยมเบตา้ แคโรทีน 14 ตารางท่ี 4.2 การวจิ ยั กระบวนการพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีนท้งั 3 สูตร ตารางที่ 4.3 การทดลองทาผลติ ภณั ฑโ์ ครงการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีน

สารบัญภาพ ฉ ภาพท่ี หน้า ภาพที่ 2.1 ผลิตภณั ฑแ์ ยม 3 ภาพที่ 2.2 บรรจุภณั ฑแ์ ยม 7 ภาพท่ี 3.2 อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 8 ภาพที่ 3.3 การดาเนินการวจิ ยั 9

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ทมี่ ำและควำมสำคญั แยม เป็ นผลิตภณั ฑ์จากเน้ือผลไมก้ บั สารที่ให้ความหวานอาจผสมกบั น้าผลไมห้ รือน้า ผลไมเ้ ขม้ ขน้ แลว้ ทาใหม้ ีความขน้ เหนียว มีลกั ษณะก่ึงแข็งก่ึงเหลวพอเหมาะสาหรับใหม้ ี สี กล่นิ รส ตามชนิดของผลไมท้ ี่ใชผ้ ลิต นิยมบริโภคโดยการรับประทานกบั ขนมปังหรือแต่งหนา้ เคก้ ปัจจุบนั ผลิตภณั ฑแ์ ยมในทอ้ งตลาดไดร้ ับความนิยมเพิ่มข้ึน เนื่องจากแยมมีรูปแบบผลิตภณั ฑ์และสีสนั ท่ี สวยงาม มรี สชาติหวาน แต่แยมท่ีพบตามทอ้ งตลาดบางยหี่ อ้ มกั เป็นแยมปรุงแต่ง มนี ้าตาลเยอะ มี สารกนั บูด สารเคมี ปนเป้ื อนอยทู่ าใหส้ ารตกคา้ งในร่างกายและก่อใหเ้ กิดโรค ตามมา ทาใหเ้ กิดผล กระทบต่อร่ างกาย ทาให้ได้สารอาหารท่ีไม่ดีต่อสุขภาพ ซ่ึงแยมในปัจจุบันมีหลากหลาย รสชาติ โดยแยมส่วนมากท่ีนามาขายมากที่สุดตามทอ้ งตลาด คือ แยมสตอเบอร์รี่ มรี าคาค่อนขา้ ง แพงแต่ถงึ ยงั ไงกเ็ ป็นที่นิยมตามทอ้ งตลาด “เบตา้ แคโรทีน” เป็นสารตา้ นอนุมลู อิสระอยู่ในเน้ือสีเหลืองของฟักทอง สามารถช่วยลดการ เกิดมะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหัวใจได้ เป็ นสารช่วยต้านความชรา ป้องกนั โรคผวิ หนัง บรรเทาอาการปวดเม่ือยของข้อเข่า บ้นั เอวไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ในผกั ผลไมท้ ี่มีสารเบตา้ แคโรทีนยงั มี สารสาคญั คือสาร “ฟอลคารินอล” (falcarinol) ซ่ึงช่วยต่อตา้ นเซลลม์ ะเร็ง มสี ารต่อตา้ นอนุมูลอสิ ระ ซ่ึงมีส่วนช่วยในการชะลอวยั การเกิดริ้วรอยแห่งวยั ช่วยรักษาโรคความดนั โลหิตสูง ยบั ย้งั ต่อตา้ น การเกิดโรคมะเร็ง ช่วยลดระดบั คอเลสเตอรอลในร่างกาย ช่วยสร้างภูมิตา้ นทานโรคของร่างกายให้ แขง็ แรงยงิ่ ข้ึน นอกจากน้ีสารเบตา้ แคโรทีนยงั อดุ มไปดว้ ยวติ ามินและแร่ธาตุรวมหลายชนิด ไดแ้ ก่ วิตามินเอ วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินซี กรดโฟริ ก แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เหลก็ สงั กะสี และคาร์โบไฮเดรต แถมยงั มีใยอาหารในปริมาณมาก ทาใหม้ สี ่วนช่วย เสริมสร้างร่างกาย มสี ารต่อตา้ นอนุมลู อสิ ระ จึงช่วยชะลอวยั ลดการเกิดริ้วรอยแห่งวยั สารเบตา้ แค โรทีนมีอยมู่ ากในผกั ผลไม้ จาพวกฟักทอง เสาวราส มะละกอ แครอท จะเห็นไดว้ า่ ผกั ผลไมท้ ่ีกลา่ ว มาในขา้ งตน้ น้นั เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคญั สามารถหาไดต้ ามทอ้ งตลาด จากความสาคญั ดงั กล่าวทางคณะผวู้ ิจยั จึงมคี วามสนใจจะทาแยม ที่ไดจ้ ากฟักทอง เสาวรส มะละกอ แครอท มาพฒั นาเป็ นผลิตภณั ฑ์แยมท่ีต่างจากทอ้ งตลาดโทยไป ไดท้ ้งั ความอร่อย และ คุณประโยชน์ เป็นทางเลอื กใหก้ บั ผบู้ ริโภคท่ีรักสุขภาพ

2 1.2 จุดม่งุ หมำยของกำรศึกษำค้นคว้ำ 1.2.1 เพ่อื ศกึ ษาสูตรมาตรฐานในการผลติ แยมเบตา้ แคโรทีน 1.2.2 เพ่อื พฒั นาสูตรแยมใหเ้ ป็นทางเลอื กใหผ้ บู้ ริโภคท่ีรักสุขภาพ 1.2.3 เพือ่ ศกึ ษาอายกุ ารเกบ็ รักษาของผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน 1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ 1.3.1 ขอบเขตเชิงปริมาณ ครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรียนและนักศึกษาวิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่ จานวนท้งั ส้ิน 100 คน 1.3.2 ขอบเขตเชิงคุณภาพ การทาโครงการในคร้ังน้ีเพื่อตอ้ งการนาฟักทอง และเสาวรส มาทาเป็นแยมโดยเพ่มิ รสชาติ กลิ่น สี คุณประโยชนด์ ว้ ยการเติม มะละกอ แครอท ใหเ้ ป็นผลิตภณั ฑ์ แยมเบตา้ แคโรทีนท่ีใหค้ วามอร่อย มีประโยชน์ และเป็นที่นิยมมากข้ึนโดยไมเ่ สียสุขภาพ 1.3.3 ระยะเวลาและสถานที่ในการดาเนินงาน ต้งั แต่วนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2563 ถึง วนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564 สถานท่ีดาเนินงาน วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ 1.4 ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รับ 1.4.1 ศึกษาสูตรมาตรฐานในการผลติ แยมเบตา้ แคโรทีนได้ 1.4.2 พฒั นาสูตรแยมใหเ้ ป็นทางเลือกใหผ้ บู้ ริโภคที่รักสุขภาพได้ 1.4.3 ศกึ ษาอายกุ ารเก็บรักษาของผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีนได้ 1.5 นยิ ำมศัพท์ แยมเบตา้ แคโรทีน หมายถงึ แยม ที่มสี ่วนผสมของฟักทอง เสาวรส เป็นวตั ถดุ ิบหลกั มี มะละกอ แครอท ซ่ึงเป็ นพืชที่มีสารเบตา้ แคโรทีนเป็ นองค์ประกอบ เป็ นวตั ถุดิบท่ีเพิ่มสี รสชาติ เน้ือ สมั ผสั และกล่ิน

3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวข้อง การจดั ทาโครงงานเร่ือง ผลิตภณั ฑ์แยมเบตา้ แคโรทีน ในคร้ังน้ี คณะผูจ้ ดั ทาไดศ้ ึกษา เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ งดงั น้ี 2.1 แยม 2.2 เบตา้ แคโรทีน 2.3 บรรจุภณั ฑ์ 2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 2.1 แยม ภาพท่ี 2.1 ผลิตภณั ฑแ์ ยม แยม เป็ นผลิตภณั ฑ์ท่ีมีลกั ษณะก่ึงแข่งก่ึงเหลว มีรูปแบบผลิตภณั ฑ์และสีสนั ท่ีสวยงาม มี รสชาติหวาน ทามาจากส่วนผสมที่เป็ นผกั ผลไม้ 45 ส่วน ผสมกบั น้าตาลทราย 55 ส่วน ตม้ เค่ียวที่ อุณหภูมิสูงถึงจุดเดือด จนกระทง่ั มีลกั ษระหนืดเหนียวก่ึงแข็งก่ึงเหลว ผลิตภณั ฑท์ ่ีเรียกวา่ แยมน้นั ใชผ้ กั ผลไมท้ ้งั น้าและเน้ือ (สุกลั ยา นาคะพงศ์ : เอกสารประกอบการสอน) ตามขอ้ กาหนดของ สานกั งานมาตรฐานการผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในปี พุทธศกั ราช 2521 ได้ กาหนดมาตรฐานของผลิตภณั ฑแ์ ยม โดยใหค้ าจากดั ความวา่ “แยมเป็นผลิตภณั ฑจ์ ากเน้ือผกั ผลไม้ กบั สารให้ความหวาน อาจผสมน้าผลไมห้ รือผลไมเ้ ขม้ ขน้ แลว้ ทาให้มีความขน้ เหนียวพอเหมาะ สาหรับใชท้ า (spreadibility) มี สี กล่ิน รส ตามชนิดของผลไมท้ ีใชท้ าอาจใชส้ ีผสมอาหารที่ไดร้ ับ อนุญาตใหใ้ ชใ้ นการปรุงแต่งได”้ 2.1.1 ประเภทของแยม สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ประเภทท่ีมีเน้ือผลไมท้ ้งั หมดไม่ ต่ากว่าร้อยละ 45 ของน้าหนกั และประเภทที่มเี น้ือผลไมไ้ ม่ต่า กว่าร้อยละ 33 ของน้าหนกั ผลไมท้ ่ี ใชอ้ าจใชผ้ ลไมช้ นิดเดียวหรือผลไมผ้ สมหลายชนิด กรณีท่ี ใชผ้ ลไมช้ นิดเดียว ถา้ ใชฝ้ รั่งตอ้ งมเี น้ือ ผลไมไ้ ม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 18 ถา้ ใชเ้ น้ือมะม่วงหิมพานต์ ตอ้ งมีเน้ือผลไมไ้ ม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 ถา้ ใช้

4 กระเจ๊ียบ ขิง มะม่วง จะตอ้ งมีเน้ือผกั ผลไมไ้ ม่น้อย กว่าร้อยละ 25 กรณีท่ีใชผ้ ลไม้ ชนิด จะตอ้ งมี ส่วนที่เป็ นผลไมช้ นิดหลกั ร้อยละ 50 ถึง 75 ของน้าหนักส่วนท่ีเป็ นผลไมท้ ้ังหมด ยกเวน้ ผลไม้ จาพวกแตง มะละกอ อาจมีไดถ้ ึงร้อยละ 95 ของน้าหนกั ส่วนที่เป็นผลไมท้ ้งั หมด สาหรับมะนาว ขิง จะตอ้ งมีเน้ือผกั ผลไมไ้ ม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยท่ีส่วนผสมหลกั อาจมากกว่าร้อยละ 75 กรณีที่ใช้ ผลไม3้ ชนิด จะตอ้ งมีส่วนที่เป็ นผลไม้ หลกั ร้อยละ 33.3 ถึง 75 ของส่วนที่เป็ นผลไมท้ ้งั หมด เพื่อ ประโยชน์ในการปฏิบตั ิตามประกาศน้ี คาว่า \"ผลไม\"้ ให้หมายความรวมถึงและกรณีที่ใช้ ผลไม้ 4 ชนิด จะตอ้ งมีส่วนที่เป็ นผลไมร้ ้อยละ 25 – 75 ของส่วนมี่เป็ นผลไมท้ ้งั หมดผกั ที่พอเหมาะสมใน การใชท้ าแยม และเยลล่ีซ่ึงสด ไม่เน่าเสีย ไม่เป็ นโรคหรือมีรา ลา้ งกาจดั ผงฝ่ นุ ละอองสารป้องกนั และกาจดั ศตั รูพชื และส่ิงอื่นที่ติดปนมาดว้ ยแลว้ 2.1.2 มาตรฐานการผลิตแยม แยม เยลลี่ และมาร์มาเลด ตอ้ งมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดงั ต่อไปน้ี (1) มีกล่ินรสตามลกั ษณะเฉพาะของแยม เยลล่ี หรือมาร์มาเลดแลว้ แต่กรณี (2) มสี ารท่ีละลายไดไ้ ม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 65 ของน้าหนกั (3) มคี ่าความเป็นกรด-ด่าง อยรู่ ะหวา่ ง 2.8 ถงึ 3.5 (4) ไมม่ ีจุลนิ ทรียท์ ี่ทาใหเ้ กิดโรค (5) ไม่มสี ารเป็นพษิ จากจุลนิ ทรียห์ รือสารเป็นพษิ อน่ื ในปริมาณที่อาจเป็นอนั ตรายต่อ สุขภาพ (6) ตรวจพบแบคทีเรียชนิดโคลฟิ อร์มนอ้ ยกวา่ 3 ต่อแยม เยลลี่ หรือมาร์มาเลด 1 กรัม แลว้ แต่กรณี โดยวธิ ี เอม็ พี เอน็ (Most Probable Number) (7) ไมม่ วี ตั ถุท่ีใหค้ วามหวานชนิดอื่นนอกจากน้าตาล (8) ตรวจพบสารปนเป้ื อนดงั ต่อไปน้ีไดไ้ ม่เกิน (8.1) ตะกว่ั 1 มลิ ลิกรัม ต่อแยม เยลล่ี หรือมาร์มาเลด 1 กิโลกรัม (8.2) ดีบกุ 250 มลิ ลิกรัม ต่อแยม เยลลี่ หรือมาร์มาเลด 1 กิโลกรัม (คานวณเป็น Sn) ขอ้ 5 แยม เยลลี่ และมาร์มาเลด นอกจากตอ้ งมีคุณภาพหรือมาตรฐานตามขอ้ 4 แลว้ ให้ มคี ุณภาพหรือมาตรฐานดงั ต่อไปน้ีดว้ ย คือ (1) แยมท่ีทาจากผลไมช้ นิดเดียว ใหม้ สี ่วนทเี่ ป็นผลไมไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 30 ของ น้าหนกั เวน้ แต่ผลไมด้ งั ต่อไปน้ีใหม้ สี ่วนท่ีเป็นผลไมต้ ามที่กาหนดดงั น้ี (1.1) ฝร่ัง ใหม้ ไี ม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 15 ของน้าหนกั (1.2) เน้ือมะมว่ งหิมพานต์ ใหม้ ไี มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 20 ของน้าหนกั (1.3) กระเจ๊ียบ ขิง มะม่วง ใหม้ ไี มน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 27 ของน้าหนกั

5 (2) แยมที่ทาจากผลไม้ 2 ชนิด ใหม้ ีส่วนที่เป็นผลไมห้ ลกั ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 แต่ไม่ เกินร้อยละ 75 ของผลไมท้ ี่เป็นส่วนประกอบท้งั หมด (3) แยมที่ทาจากผลไม้ 3 ชนิด ใหม้ ีส่วนที่เป็นผลไมห้ ลกั ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 33.33 แต่ ไม่เกินร้อยละ 75 ของผลไมท้ ี่เป็นส่วนประกอบท้งั หมด (4) แยมที่ทาจากผลไมต้ ้งั แต่ 4 ชนิด ใหม้ ีส่วนท่ีเป็นผลไมห้ ลกั ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 25แต่ ไม่เกินร้อยละ 75 ของผลไมท้ ่ีเป็นส่วนประกอบท้งั หมด (5) เยลลี่ ใหม้ ีน้าผลไมห้ รือน้าที่สกดั ไดจ้ ากผลไมท้ ี่ใชท้ าไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 20 ของ น้าหนกั (6) มาร์มาเลตใหม้ ปี ริมาณผลไมท้ ี่ใชท้ าโดยรวมท้งั เน้ือ น้า หรือส่วนน้าท่ีสกดั ไดไ้ ม่ นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของน้าหนกั โดยไม่รวมเปลอื ก ขอ้ 6 การใชว้ ตั ถเุ จือปนอาหาร สีผสมอาหาร หรือวตั ถุแต่งกลน่ิ รสอาหารในแยม เยลล่ี และมาร์มาเลด ใหใ้ ชไ้ ดต้ ามชนิดและปริมาณที่กาหนดไวใ้ นบญั ชีทา้ ยประกาศน้ี ขอ้ 7 ผผู้ ลิตหรือผนู้ าเขา้ แยม เยลล่ี และมาร์มาเลด เพ่อื จาหน่ายตอ้ งปฏิบตั ิตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุขวา่ ดว้ ยเร่ือง วธิ กี ารผลิต เคร่ืองมอื เครื่องใชใ้ นการผลติ และการเก็บรักษา อาหาร ขอ้ 8 การใชภ้ าชนะบรรจุแยม เยลลี่ และมาร์มาเลดใหป้ ฏบิ ตั ิตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขว่าดว้ ยเรื่อง ภาชนะบรรจุ ขอ้ 9 การแสดงฉลากของแยม เยลล่ี และมาร์มาเลดใหป้ ฏบิ ตั ิตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขวา่ ดว้ ยเรื่อง ฉลาก ขอ้ 10 ใหใ้ บสาคญั การข้ึนทะเบียนตารับอาหารหรือใบสาคญั การใชฉ้ ลากอาหารตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 89 (พ.ศ.2528) เร่ือง แยม เยลลี่ และมาร์มาเลด ในภาชนะ บรรจุที่ปิ ดสนิท ลงวนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ.2528 ซ่ึงออกใหก้ ่อนวนั ท่ีประกาศน้ีใชบ้ งั คบั ยงั คงใช้ ต่อไปไดอ้ กี สองปี นบั แต่วนั ที่ประกาศน้ีใชบ้ งั คบั ขอ้ 11 ใหผ้ ผู้ ลติ ผนู้ าเขา้ แยม เยลลี่ และมาร์มาเลด ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทที่ไดร้ ับ อนุญาตอยกู่ ่อนวนั ท่ีประกาศน้ีใชบ้ งั คบั ยน่ื คาขอรับเลขสารบบอาหารภานในหน่ึงปี นบั แต่วนั ที่ ประกาศน้ีใชบ้ งั คบั เมอื่ ยนื่ คาขอดงั กล่าวแลว้ ใหไ้ ดร้ ับการผอ่ นผนั การปฏิบตั ิตามขอ้ 7 ภายในสอง ปี นบั แต่วนั ที่ประกาศน้ีใชบ้ งั คบั และใหค้ งใชฉ้ ลากเดิมท่ีเหลอื อยตู่ ่อไปจนกวา่ จะหมดแต่ตอ้ งไม่ เกินสองปี นบั แต่วนั ท่ีประกาศน้ีใชบ้ งั คบั

6 ขอ้ 12 ประกาศน้ี ใหใ้ ชบ้ งั คบั เม่ือพน้ กาหนดหน่ึงร้อยแปดสิบวนั นับแต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจาณุเบกษาเป็นตน้ ไป (ราชกิจจาณุเบกษาฉบบั ประกาศทวั่ ไป เลม่ 103 ตอนพเิ ศษ 6 ง. ลงวนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2544) 2.2 สารเบต้าแคโรทีน ปัจจุบนั มีคนจานวนมากท่ีให้ความสาคญั กบั การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ เช่น การคานึงถึงความสะอาด ปลอดภยั ไร้สารพิษเจือปน รวมท้งั อาหารที่มีสมุนไพรบารุงสุขภาพ ต่อตา้ นและป้องกนั โรคภยั ไขเ้ จ็บไดด้ ว้ ย หรือท่ีเรียกวา่ “อาหารเป็นยา” จึงไดม้ ีผศู้ ึกษาคน้ ควา้ และ วิจยั เกี่ยวกบั อาหารสมุนไพรกนั มากข้ึน โดยหน่ึงในพืชท่ีมกี ารกล่าวถงึ คือ ฟักทอง ซ่ึงฟักทองเป็ น พืชท่ีหาไดง้ ่ายมีการปลูกอย่างมากมาย ผลของฟักทองมีขนาดใหญ่ให้เน้ือมาก ซ่ึงมีการวิจยั ท่ี รายงานว่าฟักทองสามารถช่วยบรรเทาอาการหอบหืดที่เกิดจากหลอดลมอกั เสบในผูส้ ูงอายไุ ด้ เน้ือ ฟักทอง มีวิตามินเอสูง รวมท้งั ฟอสฟอรัส แคลเซียม วิตามินซี แป้ง และที่จะลืมไปไม่ไดเ้ ลยก็คือ “เบตา้ แคโรทีน” ซ่ึงเป็นสารตา้ นอนุมูลอิสระอยใู่ นเน้ือสีเหลืองของฟักทอง สามารถช่วยลดการเกิด มะเร็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหัวใจได้ นอกจากน้ีเบต้าแคโรทีน ยงั ช่วยตา้ นความชรา ป้องกนั โรคผวิ หนงั บรรเทาอาการปวดเมื่อยของขอ้ เข่า และบ้นั เอวไดเ้ ป็นอยา่ งดี ส่วนเสาวรสถอื ว่า เป็นพชื ทอ้ งถิ่นของไทยที่อุดมไปดว้ ยวิตามินและแร่ธาตุรวมหลายชนิด ไดแ้ ก่ วิตามินเอ วิตามนิ บี 2 วิตามนิ บี 3 วติ ามินซี กรดโฟริก แคลเซียม แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เหลก็ สงั กะสี และ คาร์โบไฮเดรต แถมยงั มีใยอาหารในปริมาณมาก ทาใหเ้ สาวรสมีส่วนช่วยเสริมสร้างร่างกาย มีสาร ต่อตา้ นอนุมูลอิสระ จึงช่วยชะลอวยั ลดการเกิดร้ิวรอยแห่งวยั คนส่วนใหญ่มกั นาเอาเน้ือเยื่อของ เสาวรสมารับประทาน หรือทาเป็ นเคร่ืองดื่มที่มีปะโยชน์ และนอกจากฟักทองแลว้ ก็ยงั มีพืชอยา่ ง อ่ืนที่อุดมไปดว้ ยคุณค่า ซ่ึงก็ไดแ้ ก่ มะละกอ มีสารต่อตา้ นอนุมูลอิสระอยหู่ ลายชนิด ซ่ึงช่วยให้ สุขภาพของคุณแข็งแรง ช่วยบารุงผิวพรรณให้เปล่งปลง่ั สดใสอยู่เสมอ ช่วยในการชะลอวยั ลด เลือน และ ป้องกนั การเกิดริ้วรอยต่าง ๆ และช่วยเสริมสร้างระบบภูมคิ ุม้ กนั ใหแ้ ข็งแรงยง่ิ ข้ึน และ แครอทอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ เช่น เบตาแคโรทีน วิตามินเอ วิตามินบี 1 วิตามนิ บี 2 วิตามินซี วติ ามนิ อี ธาตุแคลเซียม ธาตุโพแทสเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหลก็ และยงั มี สารสาคญั คือสาร “ฟอลคารินอล” (falcarinol) ซ่ึงช่วยต่อตา้ นเซลลม์ ะเร็ง มสี ารต่อตา้ นอนุมูลอสิ ระ ซ่ึงมีส่วนช่วยในการชะลอวยั และการเกิดร้ิวรอยแห่งวยั ช่วยรักษาโรคความดนั โลหิตสูง ยบั ย้งั ต่อตา้ นการเกิดโรคมะเร็ง ช่วยลดระดบั คอเลสเตอรอลในร่างกาย และช่วยสร้างสร้างภูมิตา้ นทาน โรคของร่างกายใหแ้ ข็งแรงยงิ่ ข้ึน

7 2.3 บรรจภุ ัณฑ์ ภาพที่ 2.2 บรรจภุ ณั ฑแ์ ยม บรรจุภณั ฑ์ หมายถึง กิจกรรรมที่เกี่ยวกบั การออกแบบและการผลิตภาชนะท่ีใช้บรรจุหรื อ ห่อหุ้มผลิตภัณฑ์ (Kotler, 2003, 436) วิธีการที่ทาให้ผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกันแตกต่างกัน เพ่ือ ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ ริโภค (Peter & Donnelly, 2001, 95) 2.3.1 บรรจุภณั ฑป์ ระเภทแกว้ แกว้ จาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 2.3.1.1 ขวดแก้ว ท่ีออกแบบฝาและปากขวดพอดีกนั มีวสั ดุกันรั่ว (sealing compound) ชนิดท่ีปากขวดมเี กลยี ว (Thread or Lug) ปิ ดดว้ ยฝาท่ีมสี ่วนประกอบเป็นโลหะท่ีมีวสั ดุ รองฝาที่ออกแบบ พอดีกนั และมวี สั ดุยดื หยนุ่ ทา้ หนา้ ท่ีเป็นกนั รั่ว (sealing compound) บางคร้ังเรียก Gasket หรือ Liner หรือเป็ นวสั ดุ ที่หล่อติดกบั ฝาโดยตรงเรียก Plastisal ช่วยใหผ้ นึกแน่นจนอากาศ ไมส่ ามารถเขา้ ออกได้ 2.3.1.2 ขวดแกว้ ท่ีปิ ดผนึกดว้ ยฟิ ลม์ พลาสติกหรืออลูมเิ นียมฟอยลล์ ามิเนต ยดึ ติด ด้วยการปิ ดผนึก ด้วยความร้อน (Heat Sealing) การปิ ดผนึกด้วยฟิ ล์มพลาสติกหรื อ อลมู เิ นียมฟอยดโ์ ดยใชค้ วามร้อน (Heat Sealing) กรณี ถุงรีทอร์ทเพาชจ์ ะ ใหค้ วามร้อนทา้ ใหฟ้ ิ ลม์ ช้นั ในสุดหลอมติดกนั และกรณีถาด/ถว้ ยพลาสติกจะใหค้ วามร้อนเพื่อทา้ ใหฟ้ ิ ลม์ ซ่ึงเป็นฝาหลอม ติดกบั ตวั ถาดหรือถว้ ย 2.3.2 การบรรจุแบบพาสเจอร์ไรส์ การพาสเจอร์ไรส์เป็ นกระบวนการให้ความร้อนที่ไม่รุนแรงนัก มกั จะทาที่ อุณหภูมิต่ากว่า 100°C เพื่อยืดอายุของผลิตภณั ฑ์อาหารให้นานหลายวนั เช่น นม หรือหลายเดือน เช่น ผลไมบ้ รรจุขวด วิธีน้ีสามารถใชใ้ นการถนอมอาหารไดโ้ ดยการยบั ย้งั การทางานของเอน็ ไซม์ และทาลายเช้ือจุลินทรียท์ ่ีมคี วามทนทานต่อความร้อนต่า เช่น เช้ือแบคที่เรียท่ีไม่สร้างสปอร์ ยสี ต์

8 และรา และจะทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงดา้ นประสาทสมั ผสั และคุณค่าของอาหารนอ้ ยท่ีสุด ความ รุนแรงของการใหค้ วามร้อนกบั ผลการยดื อายผุ ลิตภณั ฑก์ าหนดไดโ้ ดย pH ของอาหาร วตั ถปุ ระสงค์ หลกั สาหรับอาหารที่มีความเป็ นกรดต่า (pH > 4.5) คือการทาลายจุลินทรียท์ ี่ก่อให้เกิดโรค ส่วน วตั ถุประสงคห์ ลกั สาหรับอาหารท่ีมีความเป็นกรดสูง (pH < 4.5) คือการทาลายจุลนิ ทรียท์ ่ีก่อใหเ้ กิด การเน่าเสียและยบั ยง้ั การทางานของเอน็ ไซม์ ช่อลดั ดา เที่ยงพุก (2551) สูตรการทาแยมมะละกอกลนิ่ มะนาวน้าตาลต่าประกอบดว้ ย เน้ือมะละกอสุก 310 กรัม น้ามะนาว 90 กรัม น้าตาลทรายขาว 330 กรัม เกลือ 0.20 กรัม ผงบุก 5 กรัม แบะแซ 100 กรัม) ไดร้ ับคะแนนความชอบรวมดา้ นเน้ือสมั ผสั และรสชาติจดั อยใู่ นระดบั ชอบ ปานกลาง เสาวลกั ษณ์ เรืองอ่อน (2560) การศึกษาตวั ทาละลายท่ีเหมาะสมสาหรับสกดั สารเบตา้ แคโรทีนจากส่วนต่าง ๆ ของผลฟักทองท่ีสกดั ดว้ ย ตวั ทาละลาย 3 ชนิด พบว่าตวั ทาลายเฮกเซน และอะซีโทนสามารถสกดั สารเบตา้ แคโรทีนไดม้ ากท่ีสุดและสารเบตา้ แคโรทีนส่วนใหญ่พบใน ส่วนเน้ือของผลฟักทองมากกว่าส่วนเปลือกและเมลด็ เม่อื เปรียบเทียบปริมาณเบตา้ แคโรทีนท่ีสกดั ไดจ้ ากเน้ือฟักทอง ใหป้ ริมาณเบตา้ แคโรทีนสูงที่สุดเท่ากบั 7.197 และ 6.482 มลิ ลิกรัมต่อกรัม จาก การสกดั ดว้ ย เฮกเซนและอะซีโตน ตามลาดบั สาหรับฤทธ์ิตา้ นอนุมูลอิสระจากสารสกดั เบตา้ แคโร ทีนท่ีสกดั ไดจ้ ากส่วนต่าง ๆ ของเน้ือฟักทองมฤี ทธต์ า้ นอนุมูลอิสระท่ีค่า IC50 อยใู่ นช่วงเท่ากบั 1.86 ถงึ 8.66 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร จากการวจิ ยั ดงั กลา่ วจะเห็นไดว้ า่ ในฟักทองมีสารเบตา้ แคโรทีนอยู่ จริงและมีในปริมาณท่ีมาก

8 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินกำรศึกษำทดลอง กกกโครงการผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาสูตรมาตรฐานของแยม เบตา้ แคโรทีน เพ่ือศึกษากระบวนการการผลิตแยมเบตา้ แคโรทีน และเพ่ือศึกษาการยอมรับการ พฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน ซ่ึงคณะผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการศกึ ษาดงั น้ี 3.1 ประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง กลมุ่ เป้าหมาย ไดแ้ ก่ นกั เรียนนกั ศึกษาคณะครูอาจารย์วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ ภาคเรียน ท่ี 2 ปี การศึกษา 2563 จานวน 100 คนข้ึนไป 3.2 อุปกรณ์ทใี่ ช้ในกำรวจิ ยั เครื่องช่งั อ่างผสม หม้อ มีด ชอ้ นตวง เขียง กระชอน เครือ่ งปัน่ อา่ งผสม ทัพพี 3.3 กำรดำเนนิ กำรวจิ ยั กรรมวธิ ีการทาแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรที่ 1

9 1 นาฟักทอง แครอทตม้ สุก 2 นาขอ้ 1 มาชงั่ ในปริมาณดงั น้ี 3 นาส่วนผสมที่ได้ มา เค่ียวร่วมกนั จนไดเ้ น้ือ และมะละกอมาปั่นแยกพกั ไว้ ฟักทอง :เสาวรส :แครอท สมั ผสั เป็นแยม คนั่ น้าเสาวรส เกลือ น้าตาลมา มะละกอ :น้าตาล :เกลอื ใน ชง่ั ตวงในปรินมาณท่ีต่างกนั ปริมาณ100 :70 :10 :10 :40 :1.3 เตรียมไว้ กรัม กรรมวิธีการทาแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 2 1 นาฟักทอง แครอทตม้ สุก 2 นาขอ้ 1 มาชง่ั ในปริมาณดงั น้ี 3 นาส่วนผสมท่ีได้ มา และมะละกอมาป่ันแยกพกั ไว้ ฟักทอง :เสาวรส :แครอท เคี่ยวร่วมกนั จนไดเ้ น้ือ คนั่ น้าเสาวรส เกลอื น้าตาลมา ชงั่ ตวงในปรินมาณท่ีต่างกนั มะละกอ :น้าตาล :เกลอื ในปริมาณ สมั ผสั เป็นแยม เตรียมไว้ 100 :70 :20 :20 :40 :1.3 กรัม กรรมวิธกี ารทาแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 3

10 1 นาฟักทอง แครอทตม้ สุก 2 นาขอ้ 1 มาชงั่ ในปริมาณดงั น้ี 3 นาส่วนผสมที่ได้ มา และมะละกอมาปั่นแยกพกั ไว้ ฟักทอง :เสาวรส :แครอท เคี่ยวร่วมกนั จนไดเ้ น้ือ คน่ั น้าเสาวรส เกลือ น้าตาลมา ชงั่ ตวงในปรินมาณท่ีต่างกนั มะละกอ :น้าตาล :เกลือในปริมาณ สมั ผสั เป็นแยม เตรียมไว้ 100 :70 :30 :30 :40 :1.3 กรัม 3.4 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.4.1 ศึกษาสูตรมาตรฐานในการผลิตแยมเบตา้ แคโรทีน 3 สูตร ไดแ้ ก่ สูตรที่ 1 สูตรท่ี 2 และ สูตรที่ 3 นามาศึกษาคุณภาพดา้ นกรรมวิธีการผลิตผลิตภณั ฑ์แยมเบต้าแคโรทีน 3สูตรที่ โดยศึกษา กรรมวธิ ีการผลติ แยมเบตา้ แคโรทีน ในอตั ราส่วนท่ีแตกต่างกนั 3 สูตร ผลติ เป็นแยม 3สูตรท่ี และทาการ วิเคราะห์คุณสมบตั ิทางโภชนาการและหาสูตรมาตรฐานของผลิตภณั ฑ์แยมเบต้าแคโรทีน แลว้ นาไป ทดสอบการยอมรับของนกั เรียนนกั ศกึ ษาคณะครู บุคลากรในวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ จานวน100 คน ข้ึนไป โดยการประเมนิ แบบ 9 ระดบั (Hedonic scaling test) บนั ทึกผลการทดลองท่ีได้ 9 = ชอบมากท่ีสุด 8 = ชอบมาก 7 = ชอบปานกลาง 6 = ชอบเลก็ นอ้ ย 5 = บอกไมไ่ ดว้ ่า ชอบหรือไม่ชอบ 4 = ไมช่ อบเลก็ นอ้ ย 3 = ไม่ชอบปานกลาง 2 = ไม่ชอบมาก 1 = ไม่ชอบมากที่สุด ระดบั ความคิดเห็นวิเคราะห์โดยคิดค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แลว้ นาผลท่ีไดม้ าแปลผล ตามความหมายของค่าเฉลีย่ ดงั น้ี หมายถงึ ระดบั ชอบมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 8.51 – 9.00 หมายถงึ ระดบั ชอบมาก ค่าเฉล่ยี 7.51 – 8.00 หมายถงึ ระดบั ชอบปานกลาง ค่าเฉลยี่ 6.51 – 7.00 หมายถึง ระดบั ชอบเลก็ นอ้ ย ค่าเฉลย่ี 5.51 – 6.00 หมายถึง ระดบั บอกไม่ไดว้ ่าชอบหรือไม่ชอบ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดบั ไม่ชอบเลก็ นอ้ ย ค่าเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถงึ ระดบั ไม่ชอบปานกลาง

11 ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดบั ไมช่ อบมาก ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดบั ไม่ชอบมากที่สุด 3.5 กำรวเิ ครำะห์และสรุปผล จากการศึกษาและทาการทดลองสูตรมาตรฐานของ ท้งั 3 สูตรที่ โดยนกั เรียนนกั ศกึ ษาคณะ ครูบุคลากรในวิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่ จานวน 100 คน ข้ึนไปผลปรากฎว่า ตวั อยา่ ง ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ท่ี 1 มีรสชาติที่ไดจ้ าก มะละกอแครอทนอ้ ยเกินไป และควรเพม่ิ เน้ือสมั ผสั ใหม้ ากข้ึน แต่ มีกล่ินหอของเสารสมากกว่าสูตรอนื่ 2 มีรสชาติหวานนอ้ ยไป สีกลนิ่ รสชาติที่ไดจ้ ากมะละกอแครอทนอ้ ยไป ทาใหไ้ มน่ ่า รับประทานเท่าไหร่ 3 มรี สชาติที่อร่อยอเน่ืองจากมมี ะละกอแครอทมากกวา่ สูตรที่ 1 และ 2 นอก จากน้ียงั มคี วามน่ารับประทานมากกวา่ สูตรอน่ื ๆ ตารางที่ 3.5 การวเิ คราะห์และสรุปผล จากการทดสอบชิมสูตรแยมเบตา้ แคโรทีน ท้งั 3 สูตร แลว้ ผลปรากฏว่านักเรียนนกั ศึกษา คณะครูบุคลากรในวิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงใหม่ จานวน 100 คน ข้ึนไป มีความคิดเห็นไปในทาง เดียวกนั ว่าแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 1 มีมีรสชาติที่ไดจ้ าก มะละกอแครอทนอ้ ยเกินไป และควรเพม่ิ เน้ือสมั ผสั ให้มากข้ึน แต่มีกลิ่นหอของเสารสมากกว่าสูตรอ่ืน สูตรที่ 2 มีมีรสชาติหวานนอ้ ยไป สี กลิ่นรสชาติท่ีไดจ้ ากมะละกอแครอทน้อยไป ทาให้ไม่น่ารับประทานเท่าไหร่ และสูตรที่ 3 ได้ รสชาติท่ีอร่ อยเน่ืองจากมีมะละกอแครอทมากกว่าสูตรที่ 1 และ 2 นอกจากน้ียงั มีความน่า รับประทานมากกวา่ สูตรอ่นื ๆ

12 บทที่ 4 ผลการวจิ ยั จากการศกึ ษาคร้ังน้ี สามารถแสดงผลการวิจยั และวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดด้ งั น้ี 4.1 สรุปผลการวจิ ยั และการศึกษาการทดลองสูตรมาตรฐานของแยมเบต้าแคโรทนี จากการศึกษาและทาการทดลองสูตรมาตรฐานในการผลิตแยมเบตา้ แคโรทีนไดท้ ้งั 3 สูตร โดยใหผ้ ทู้ ดสอบชิมเป็นนกั เรียน นกั ศึกษา คณะครูบุคลากรในวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ จานวน 100 คน ข้ึนไปผลปรากฎว่า ตารางท่ี 4.1 ผลการวจิ ยั และทดลองสูตรมาตรฐานแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี ส่วนผสมของแยมเบตา้ แคโรทีน ท้งั 3 ตวั อยา่ ง ลกั ษณะที่เกิดข้ึน ฟักทองป่ัน 43.23 % มีรสชาติ เค็มไปเล็กน้อย ได้ 1 น้าเสาวรส 30.26 % รสชาติ มะละกอ แครอทน้อย มะละกอ 4.32 % เกินไป ควรเพ่ิมเน้ือสัมผสั ใหม้ าก แครอท 4.32 % ข้ึ น แ ต่ มี ก ลิ่ น ห อข อง เ สารส น้าตาล 17.29 % มากกว่าสูตรอื่น เกลือ 0.56 % ฟักทองปั่น 39.79 % มรี สชาติ สีกลน่ิ ที่ไดจ้ ากมะละกอ 2 น้าเสาวรส 27.85 % แ ค ร อท น้อย ไ ป ท า ให้ไ ม่ น่ า มะละกอ 7.95 % รับประทานเท่าไหร่ แครอท 7.95 % น้าตาล 15.91 % เกลือ 0.51 % ฟักทองป่ัน 36.89 % ได้รสชาติท่ีอร่ อยอเนื่องจากมี 3 น้าเสาวรส 25.80 % มะละกอแครอทมากกว่าสูตรท่ี 1 มะละกอ 10.77 % และ 2 นอกก แครอท 10.77 % จากน้ียงั มีความน่ารับประทาน น้าตาล 14.71 % มากกวา่ สูตรอืน่ ๆ เกลือ 0.41 % จากตารางที่ 4.1 ผลการวิจยั และทดลองสูตรมาตรฐาน ผลปรากฏว่า สูตรท่ี1ฟักทองป่ัน 43.23 % น้าเสาวรส 30.26 % มะละกอ 4.32 % แครอท 4.32 % น้าตาล 17.29 % เกลอื 0.56 % มีรสชาติเค็มไป เลก็ นอ้ ย ไดร้ สชาติ มะละกอ แครอทนอ้ ยเกินไป ควรเพมิ่ เน้ือสมั ผสั ใหม้ ากข้ึน แต่มกี ลิน่ หอของเสา

13 รสมากกวา่ สูตรอื่น สูตรท่ี 2ฟักทองป่ัน 39.79 % น้าเสาวรส 27.85 % มะละกอ 7.95 % แครอท 7.95 % น้าตาล 15.91 % เกลือ 0.51 % มีรสชาติ สีกล่ิน ที่ไดจ้ ากมะละกอ แครอทน้อยไป ทาใหไ้ ม่น่า รับประทานเท่าไหร่ สูตรท่ี3 ฟักทองป่ัน 36.89 % น้าเสาวรส 25.80 % มะละกอ 10.77 % แครอท 10.77 % น้าตาล 14.71 % เกลอื 0.41 % ไดร้ สชาติท่ีอร่อยอเนื่องจากมมี ะละกอแครอท มากกว่าสูตรท่ี 1 และ 2 นอกจากน้ียงั มคี วามน่ารับประทานมากกว่าสูตรอื่น 4.2 สรุปผลการวจิ ยั กระบวนการพฒั นาผลติ ภัณฑ์แยมเบต้าแคโรทีน สูตรที่ กระบวนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์แยมเบต้าแคโรทนี สรุปผลการวจิ ยั 1 จากการนาสูตรมาตรฐานที่ไดร้ ับการยอมรับมากที่สุดมา พฒั นาโดยการเพิ่มสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชน์ให้ดี ยิ่งข้ึน ด้วยการเพิ่ม มะละกอและแครอท ในปริมาณ อย่างละ 10 กรัม แยมท่ีได้ มี สี กลิ่นท่ีค่อนขา้ งอ่อนไม่ แตกต่างจากสูตรมาตรฐาน 2 จากการนาสูตรมาตรฐานที่ไดร้ ับการยอมรับมากท่ีสุดมา พฒั นาโดยการเพ่ิมสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชน์ใหด้ ี ยิ่งข้ึน ด้วยการเพ่ิม มะละกอและแครอท ในปริมาณ อยา่ งละ 15 กรัม แยมที่ได้ มี สี กล่ินรสชาติ ใกลเ้ คียงกบั สูตรที่หน่ึง มีเน้ือสมั ผสั ท่ีค่อนขา้ งเหลว ตอ้ งเค่ียวนาน กว่าสูตรอน่ื 3 จากการนาสูตรมาตรฐานที่ไดร้ ับการยอมรับมากท่ีสุดมา พฒั นาโดยการเพิ่มสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชน์ให้ดี ย่ิงข้ึน ดว้ ยการเพ่ิม มะละกอและแครอท ในปริมาณ อยา่ งละ 20 กรัม แยมท่ีไดม้ ีรสชาติที่ดี มีสีท่ีน่ารับปราะ ทาน มีเน้ือสัมผสั ท่ีเหมือนแยมตามท้องตลาด แต่มี คุณประโยชนท์ ี่เพ่ิมมากยงิ่ ข้ึน

14 จากตารางท่ี 4.2 การวจิ ยั กระบวนการพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีนท้งั 3 สูตร พบว่า สูตรที่ 1จากการนาสูตรมาตรฐานท่ีไดร้ ับการยอมรับมากท่ีสุดมาพฒั นาโดยการเพิ่มสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชนใ์ หด้ ียง่ิ ข้ึน ดว้ ยการเพมิ่ มะละกอและแครอท ในปริมาณ อยา่ งละ 10 กรัม แยม ที่ได้ มี สี กลิ่นท่ีค่อนขา้ งอ่อนไม่แตกต่างจากสูตรมาตรฐาน สูตรที่ 2 จากการนาสูตรมาตรฐานท่ี ไดร้ ับการยอมรับมากท่ีสุดมาพฒั นาโดยการเพิ่มสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชน์ให้ดียิ่งข้ึน ดว้ ยการ เพม่ิ มะละกอและแครอท ในปริมาณ อยา่ งละ 20 กรัม แยมท่ีได้ มี สี กลนิ่ รสชาติ ใกลเ้ คียงกบั สูตรที่ หน่ึง มีเน้ือสัมผสั ท่ีค่อนขา้ งเหลว ตอ้ งเคี่ยวนานกว่าสูตรอื่นสูตรที่ 3 จากการนาสูตรมาตรฐานที่ ไดร้ ับการยอมรับมากที่สุดมาพฒั นาโดยการเพิ่มสี กลิ่น รสชาติ คุณประโยชน์ใหด้ ีย่ิงข้ึน ดว้ ยการ เพ่มิ มะละกอและแครอท ในปริมาณ อยา่ งละ 30 กรัม แยมที่ไดม้ รี สชาติที่ดี มีสีท่ีน่ารับปราะทาน มี เน้ือสมั ผสั ท่ีเหมอื นแยมตามทอ้ งตลาด แต่มีคุณประโยชน์ที่เพิ่มมากยงิ่ ข้ึน 4.3 สรุปผลการวจิ ยั การยอมรับการพฒั นาผลติ ภัณฑ์แยมเบต้าแคโรทีน ตารางที่ 4.3 ผลการวิจยั การยอมรับการพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน สูตรที่ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม 1 มีเน้ือสมั ผสั ท่ีเหลวไปเลก็ นอ้ ย และควรลดเค็ม 2 มสี ีรสชาติหวานไปเลก็ นอ้ ย ควรเพ่ิมกลิน่ ของ มะกอและแครอท นิดหน่อย 3 มีรสชาติที่ดีและมีความหอมของหอมของเสาวรส มะละกอ แครอท ชดั เจน และเน้ือสมั ผสั มคี วามเหมือแยมท่ีขายตามทอ้ งตลาด จากตารางท่ี 4.3 การทดลองทาผลิตภณั ฑ์โครงการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีน ซ่ึงมีการ ประเมนิ ลกั ษณะเน้ือสมั ผสั รูปร่าง สี กลิน่ และรสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน จากกลุ่มตวั อยา่ ง 100 คน ข้ึนไปพบว่าผลการยอมรับ ดา้ นรสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 1 คิดเป็ นร้อยละ 16.24 สูตรท่ี 2 คิดเป็นร้อยละ 16.54 สูตรที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 17.06 ดา้ นกลิ่นของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 1 คิดเป็ นร้อยละ 15.32 สูตรที่ 2 คิดเป็ นร้อยละ 15.78 และสูตรท่ี 3 คิดเป็ นร้อยละ 16.26 ดา้ นเน้ือ สมั ผสั แยมเบตา้ แคโรทีน สูตรที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 16.7 สูตรที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 16.7 และสูตรท่ี 3 คิด เป็นร้อยละ 16.84 และดา้ นสีสนั ลกั ษณะของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี1 คิดเป็นร้อยละ 15.64 16.26 สูตรที่ 2 คิดเป็ นร้อยละ 16.26 และสูตรท่ี 3 คิดเป็ นร้อยละ 17.12 สรุปไดว้ ่าในการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีน ผทู้ ่ีทดลองชิมประเมินให้สูตรที่ 3 ไดร้ ับความนิยมและชื่นชอบมากที่สุดในดา้ นลกั ษณะ เน้ือสมั ผสั รูปร่าง สี กล่ิน และรสชาติ

15 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากรรมวิธีในการผลิตแยมเบตา้ แคโรทีน 2) เพื่อ พฒั นาสูตรแยมเบตา้ แคโรทีน 3) เพอ่ื วเิ คราะห์อายกุ ารเกบ็ รักษาของแยมเบตา้ แคโรทีน กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ ใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ีประกอบดว้ ยนกั เรียน นกั ศึกษาคณะครูอาจารย์ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ ภาค เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 จานวน 100 ข้ึนไป เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 9 ระดบั ผลของการวิจยั ดงั น้ี 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.1.1 สูตรมาตรฐานของแยมเบตา้ แคโรทีน คือสูตรท่ีมอี ตั ราส่วนของ ฟักทอง : เสาวสทท่ี 100 : 70 กรัม ในอตั ราส่วนของเกลือ ½ ชอ้ นชา และน้าตาล 40 กรัม มีรสชาติท่ีอร่อยอเน่ืองจากมี มะละกอแครอทมากกวา่ สูตรที่ 1 และ 2 นอกจากน้ียงั มีความน่ารับประทานมากกวา่ สูตรอื่น ๆ 5.1.2 การวิจยั กระบวนการพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน สูตรที่ไดรับความพ่ึงพอใจ มากที่สุดคือ สูตรที่ 3 ในอตั ราส่วนของเน้ือฟักทอง น้าเสาวรส น้าตาลและเกลือ ที่เหมาะสม ดาเนินการทดลองโดยนาเน้ือฟักทองและน้าเสาวรสมาผสมให้เขา้ กนั โดยใชเ้ กลือ ½ น้าตาล 40 กรัม มีเน้ือสมั ผสั กล่ิน สี รสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน ท่ีมีความหนืด เหนียว ดงั น้ันการพฒั นา ผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีนมคี วามหนืด เหนียวตามมาตรฐานการผลิตแยม ราชกิจจาณุเบกษาฉบบั ประกาศทวั่ ไป เลม่ 103 ตอนพเิ ศษ 6 ง. ลงวนั ท่ี 24 มกราคม พ.ศ.254 5.1.3 การทดลองทาผลิตภณั ฑโ์ ครงการพฒั นาแยมเบตา้ แคโรทีน ซ่ึงมกี ารประเมินลกั ษณะ เน้ือสมั ผสั รูปร่าง สี กลิ่น และรสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีน จากกลุ่มตวั อยา่ ง 100 คน ข้ึนไปพบวา่ ผลการยอมรับ สูตรที่ 3 มากที่สุดในทุก ๆ ดา้ น รสชาติของแยมเบตา้ แคโรทีนคิดเป็ นร้อยละ 17.06 ดา้ นกลน่ิ ของแยมเบตา้ แคโรทีน สูตรท่ี 3 คิดเป็นร้อยละ 16.26 ดา้ นเน้ือสมั ผสั แยมเบตา้ แคโรทีน คิด เป็นร้อยละ 16.84 และดา้ นสีสนั ลกั ษณะของแยมเบตา้ แคโรทีน คิดเป็นร้อยละ 17.12 ดา้ นความชอบ โดยรวมคิดเป็นร้อยละ 17.7

16 5.2 อภิปรายผลการศึกษา ช่อลดั ดา เที่ยงพุก ไดศ้ กึ ษาสูตรการทาแยมมะละกอกลนิ่ มะนาวน้าตาลต่าประกอบดว้ ย เน้ือมะละกอสุก 310 กรัม น้ามะนาว 90 กรัม น้าตาลทรายขาว 330 กรัม เกลือ 0.20 กรัม ผงบุก 5 กรัม แบะแซ 100 กรัม) ไดร้ ับคะแนนความชอบรวมดา้ นเน้ือสมั ผสั และรสชาติจดั อยใู่ นระดบั ชอบ ปานกลาง จากการวจิ ยั กระบวนการผลิตแยมเบตา้ แคโรทีน ท้งั 3 สูตร พบวา่ สูตรที่ 3 ในอตั ราส่วน ของเน้ือฟักทอง น้าเสาวรส น้าตาลและเกลือ ท่ีเหมาะสม ดาเนินการทดลองโดยนาเน้ือฟักทองและ น้าเสาวรสมาผสมให้เขา้ กนั โดยใชเ้ กลือ ½ น้าตาล 40 กรัม มีเน้ือสัมผสั กลิ่น สี รสชาติของแยม เบตา้ แคโรทีน ที่มีความหนืด เหนียว ดงั น้นั การพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีนมคี วามหนืดเหนียว ตามมาตรฐานการผลิตแยม ราชกิจจาณุเบกษาฉบบั ประกาศทวั่ ไป เล่ม 103 ตอนพิเศษ 6 ง. ลงวนั ที่ 24 มกราคม พ.ศ.254 5.4 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1.1 ควรพฒั นากรรมวิธีในการผลิตเพือ่ ใหผ้ ลิตภณั ฑส์ ามารถเกบ็ รักษาไวไ้ ดน้ านข้ึน 5.3.2 ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้ังต่อไป 5.3.2.1 ควรพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม้ หี ลากหลายรสชาติสามารถตอบสนองตามความตอ้ งการ ของผบู้ ริโภค 5.3.2.2 ควรมกี ารนาพืชชนิดอ่ืน เช่น เกรฟกดู๊ เบอรี่ ผลสุกตาลึง หรือพชื ผกั อ่นื ๆ ที่มคี ุณค่า ทางโภชนาการมาเป็ นส่วนผสม

บรรณานุกรม ช่อลดั ดา เท่ียงพกุ . 2551. สูตรการทาแยมมะละกอกลน่ิ มะนาวนา้ ตาลตา่ . มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.หนา้ 12-13. ไพโรจน์ วริ ิยจารี. 2545. การประเมนิ ทางประสาทสัมผสั (Sensory Evaluation) ภาควิชเทคโนโลยี การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พิมพค์ ร้ังที่ สงวน ลขิ สิทธ์ิ 2545. วิมลศรี พรรธนประเทศ (2559). นักทดลองวิทยาศาสตร์วจิ ยั ฝ่ ายเทคโนโลยอี าหาร สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ งประเทศไทย (วว.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.tistr.or.th/tistr/newsboard/shownews. สืบคน้ สืบคน้ 8 ธนั วาคม 2563. เสาวลกั ษณ์ เรืองอ่อน . 2560. การศึกษาตวั ทาละลายท่ีเหมาะสมสาหรับสกดั สารเบต้าแคโรทีน. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร. สืบคน้ 1 กุมภาพนั ธ์ 2563. แครอท. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://medthai.com. . สืบคน้ 18 พฤศจิกายน 2563. ฐานข้อมลู สมนุ ไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี. (2559) [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.phargarden.com/ สืบคน้ 8 ธนั วาคม 2563. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบั ท่ี 201) พ.ศ. 2543 เรื่อง แยม เยลล่ี มามาร์เลด. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www2.fda.moph.go.th/Exporters /law/Document/Food/ประกาศ กระทรวงสาธารณสุข 8 ธนั วาคม 2563. ฟักทอง. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก https://medthai.com. . สืบคน้ 18 พฤศจิกายน 2563. มะละกอ. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.il.mahidol.ac .สืบคน้ 18 พฤศจิกายน 2563. แยม. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://puechkaset.com. สืบคน้ 18 พฤศจิกายน 2563. เสาวรส. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki. สืบคน้ 18 พฤษภาคม 2563.

ประวัติผ้จู ัดทำ ชื่อ : นางสาวจนั ทิมา ปุมะ ชื่อโครงการ : การพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน สาขาวชิ า : อาหารและโภชนาการ ประเภทวชิ า : คหกรรม ประวตั ิ ประวตั สิ ่วนตวั วนั เดือน ปี ท่ีเกดิ อายุ : 20 มถิ ุนายน 2543 อายุ 20 ปี ท่ีอยู่ (ปัจจุบนั ) : 68 หมู่ 8 ตาบลเมืองแหง อาเภอเวียงแหง จงั หวดั เชียงใหม่ 50350 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ 2556-2559 : มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนเวยี งแหงวทิ ยาคม ปี พ.ศ 255-2562 : ปวช.สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างเชียงใหม่ ปี พ.ศ 2563-2564 : กาลงั ศกึ ษาระดบั ช้นั ปวส.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา เชียงใหม่

ประวตั ผิ ู้จัดทำ ช่ือ : นางสาวธีราภรณ์ เป็งใจ ช่ือโครงการ : การพฒั นาผลติ ภณั ฑแ์ ยมเบตา้ แคโรทีน สาขาวิชา : อาหารและโภชนาการ ประเภทวชิ า : คหกรรม ประวตั ิ ประวตั สิ ่วนตวั วนั เดือน ปี ท่ีเกิด อายุ : 07 ตุลาคม 2543 อายุ 20 ปี ท่ีอยู่ (ปัจจุบนั ) : 120/62 – 69 ม. หมู่ 10 ตาบลสุเทพ อาเภอเมอื ง จงั หวดั เชียงใหม่ 50200 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ 2556-2559 : มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียนบา้ นบ่อหลวง ปี พ.ศ 255-2562 : ปวช.สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ ปี พ.ศ 2563-2564 : กาลงั ศกึ ษาระดบั ช้นั ปวส.สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลยั อาชีวศกึ ษา เชียงใหม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook