แผนปฏิบตั ิการ ดา นระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญตั ริ ะบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ.2562 Primary Health System Act , B.E. 2019 สํานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ สํานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข
คาํ นํา ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาะปฐมภูมิ พุทธศักราช 2562 มาตรา 10(1) บัญญัติให คณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิมีหนาท่ีและอํานาจเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร และแผนเกี่ยวกับ บรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู แิ ละระบบสุขภาพปฐมภูมติ อคณะรัฐมนตรเี พอ่ื พิจารณาใหค วามเห็นชอบและให หนวยงานท่ีเกี่ยวของรับไปปฏิบัติ คณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบ สุขภาพปฐมภูมิ พุทธศักราช 2562 ไดจัดทําแผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 – 2575) เพื่อใหหนวยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค และหนวยงานอ่ืน ท่ีเกี่ยวของมีทิศทางการดําเนินงานพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิในระยะ 10 ป ที่ชัดเจน สามารถ ขับเคลื่อนการดําเนินงานและติดตามประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพใหบรรลุเปาหมายประชาชน สุขภาวะท่ดี ี อนั จะนาํ พาประเทศไปสคู วาม มนั่ คง มง่ั คั่ง ยงั่ ยนื จัดทําแผนปฏิบัตกิ ารดานระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 –2575) ไดวางกรอบแนวคิดใหมี ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ แผนแมบทเฉพาะกิจ ภายใตย ทุ ธศาสตรช าติอนั เปนผลมาจากสถานการณโ ควคิ -19 พ.ศ.2564 – 2565 แผนปฏิรูปประเทศ กจิ กรรมปฏริ ปู ทจี่ ะสงผลใหเ กิดการเปล่ยี นแปลงตอประชาชนอยางมนี ยั สาํ คัญ (Big Rock) แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 นโยบายคณะรัฐมนตรี และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดย แผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิฉบับนี้ประกอบดวย 5 เร่ือง คือ 1)เพ่ิมศักยภาพบริการ สุขภาพปฐมภูมิทุกรูปแบบที่ขับเคลื่อนโดยแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผูใหบริการสุขภาพ ปฐมภูมิใหสอดคลองกับบริบทของพื้นที่ 2)พัฒนาและสรางงกลไกเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร จัดการแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผูในบริการสุขภาพปฐมภูมิ 3)พัฒนาระบบสารสนเทศ การวิจัย และนวัตกรรมระบบสุขภาพปฐมภูมิ 4)พัฒนากลไกและกระบวนการสรางหลักธรรมาภิบาล ในการอภิบาลระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ 5)เสริมสรางการมีสวนรวมของภาคีเครือขายและชุมชน ในการจัดการสุขภาพ เพ่ือถายทอดและสรางความเขาใจรวมกันในการดําเนินงานดานระบบสุขภาพ ปฐมภูมใิ หแ กทกุ หนวยงานที่เกย่ี วของ ทั้งนี้คณะกรรมการระบบสุขภาพปฐมภูมิขอขอบคุณทุกทานท่ีมีสวนเก่ียวของกับการจัดทํา แผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 –2575) และหวังเปนอยางยิ่งวาแผนดังกลาว จะเปนเปาหมายและกรอบแนวทางการดําเนินงานของหนวยบริการในระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ หนวยงานอื่นท่ีเก่ียวของรวมกันไปสูเปาหมายของระบบสุขภาพปฐมภูมิ คือ “เปนระบบสุขภาพ ปฐมภูมิท่ีมีประสิทธิภาพสามารถจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิท่ีมีคุณภาพ ทําใหประชาชนเขาถึงบริการ อยางท่ัวถงึ เปนธรรม มคี วามเชือ่ มั่น ศรทั ธา และมุงสูการมีสุขภาวะที่ดีอยางยั่งยืน โดยการมีสวนรวม ของภาคเี ครือขาย ” สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กุมภาพันธ 2564
สารบญั คาํ นาํ หนา สารบัญ 4 กรอบแนวคดิ แผนยทุ ธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป ดา นสาธารณสุข ความเช่ือมโยงของยุทธศาสตรช าติ 20 ป และแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 5 เปาหมายยทุ ธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป ดานสาธารณสุข 6 บทท่ี 1 บทนํา วัตถุประสงคการจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการดา นระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 - 2575) 7 เปา หมายของการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการดา นระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 - 2575) 7 กระบวนการจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ ารดานระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ (พ.ศ.2564 - 2575) 7 ประเด็นยทุ ธศาสตร 8 บทที่ 2 สถานการณร ะบบสขุ ภาพปฐมภูมิ รูปแบบการจัดบริการปฐมภมู ิ 9 ขอมลู การข้ึนทะเบียนหนว ยบริการปฐมภมู ิ (PCU) และเครอื ขา ยหนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิ 11 (NPCU) ป 2564 แผนการขน้ึ ทะเบยี นหนว ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขายหนวยบริการปฐมภูมิ 10 ป) 11 สถานการณก าํ ลงั คนดานสขุ ภาพ 12 ปจ จยั ท่ีสงผลตอ ระบบสขุ ภาพ 13 สถานะสุขภาพ 18 ปจจยั เสยี่ งท่ีสาํ คญั 22 บทท่ี 3 แผนปฏิบตั กิ ารดานระบบสุขภาพปฐมภมู ิ (พ.ศ.2564-2575) วิสยั ทศั น 25 คา นยิ ม 25 พันธกจิ 26 เปา ประสงค 26 แผนปฏบิ ตั ิการดานระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ 27 การติดตามประเมนิ ผล 32 คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ 33 คณะทาํ งานขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรการพฒั นาระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ 34
แผนยทุ ธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป ดา นสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560 - 2579) ฉบับปรับปรุง คร้ังท่ี 1 (พ.ศ. 2561) ไดพัฒนาจากการวิเคราะหเงื่อนไข และสถานการณ ภายใตบริบทส่ิงแวดลอมของสังคมไทย และกระแสโลกในปจจุบันจนถึง แนวโนมความทาทายในอนาคตท่ีมีความเกี่ยวของกับสุขภาพของประชาชน โดยแผนยุทธศาสตรฯ นี้มีความสอดคลองและ เชื่อมโยงสูเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนขององคการสหประชาชาติ(Sustainable Development Goals: SDGs) เปนไปตาม แนวทางของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ปนโยบายรัฐบาล นโยบาย ประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ฉบับที่ 12 รวมทั้ง แนวนโยบายประชารัฐ และประเด็นเรงดวน เพื่อเปาหมายการปฏิรูปประเทศไทยของรัฐบาล ซึ่งเก่ียวของกับการปฏิรูป สาธารณสุข 10 ประเด็นสําคัญ ไดแก 1) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (พชอ.) 2) การพัฒนาคลินิก หมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) 3) การพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) 4) การดูแลผูสูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LTC) 5) นโยบายเจ็บปวยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกท่ี (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP)6) การพัฒนาศูนยปฏิบัติการฉุกเฉิน ดานการแพทยและสาธารณสุข (Emergency Operation Center: EOC) 7)การพัฒนา อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 8) การเพ่ิมประสิทธิภาพการขึ้นทะเบียน และใบอนุญาต 9) ยุทธศาสตร เขตสุขภาพพิเศษ และ 10) โครงการ GREEN & CLEAN Hospitalsโดยกรอบแนวคิดการจัดทําแผนยุทธศาสตรชาติฯ นี้ เปน กรอบการพัฒนาระยะยาว มุงเนนเพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทย มีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเปนองคกรหลักในการขับเคล่ือนที่ให ความสาํ คัญกับการมสี ว นรว มของประชาชนและภาคเี ครอื ขา ยตางๆ เพ่อื เปา หมายสงู สุดใหค นไทยมสี ุขภาพดี 4
5
6
บทที่ 1 บทนาํ วัตถุประสงคการจัดทําแผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 - 2575) เปนกรอบแนวทางการดําเนินงานของหนวยบริการ ในระบบสุขภาพปฐมภมู ิ และหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของรวมกันไปสู เปาหมายของระบบสุขภาพปฐมภูมิ คือ “เปนระบบสุขภาพ ปฐมภูมิท่ีมีประสิทธิภาพสามารถจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิท่ีมี คุณภาพ ทําใหประชาชนเขาถึงบริการอยางท่ัวถึง เปนธรรม มีความเช่ือมั่น ศรัทธา และมุงสูการมีสุขภาวะที่ดีอยางยั่งยืน โดยการมีสวนรว มของภาคีเครอื ขา ย” เปาหมายของการจัดทําแผนปฏิบัติการดานระบบ สุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 - 2575) เพอื่ ใหหนวยงานสังกดั กระทรวงสาธารณสุขท้ังสว นกลาง ส ว น ภู มิ ภ า ค แ ล ะ ห น ว ย ง า น อ่ื น ที่ เ ก่ี ย ว ข อ ง มี ทิ ศ ท า ง การดําเนินงานพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิในระยะ 10 ป ท่ีชัดเจน สามารถขับเคลื่อนการดําเนินงานและติดตาม ประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพใหบรรลุเปาหมายประชาชน มสี ขุ ภาวะทด่ี ี อนั จะนําพาประเทศไปสคู วามมัน่ คง มงั่ ค่งั ย่ังยนื กระบวนการจดั ทําแผนปฏิบัติการดานระบบ สขุ ภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564 - 2575) หลักการจัดทําแผนที่สําคัญ คือ เนนการมี สวนรวมของทุกภาคสวน ดวยกระบวนการและ กิจกรรมท่ีหลากหลาย อาทิ ประชุมระดมสมอง สัมภาษณ สนทนากลุม และเวทีประชาวิจารณในการ รับฟงขอคิดเห็น ขอสังเกต และขอเสนอแนะจาก บุคลากรแหละหนวยงานท่ีเก่ียวของอยางหลากหลาย จ น นํ า ไ ป สู ก า ร กํ า ห น ด ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ใ น ก า ร พั ฒ น า ขับเคลื่อนระบบสุขภาพปฐมภูมิ ซึ่งประกอบดวย 5 ประเด็นยทุ ธศาสตร ดังน้ี 7
5 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร 1 เพ่ิมศักยภาพบริการสุขภาพปฐมภูมิทุกรูปแบบที่ ขับเคลื่อนโดยแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะ ผใู หบริการสุขภาพปฐมภมู ิใหสอดคลองกบั บรบิ ทของพ้ืนที่ 2 พัฒนาและสรา งกลไกเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผูใหบรกิ ารสุขภาพ ปฐมภมู ิ 3 พัฒนาระบบสารสนเทศ การวจิ ัย และนวัตกรรมระบบ สขุ ภาพปฐมภมู ิ 4 พฒั นากลไกและกระบวนการสรา งหลกั ธรรมาภบิ าล ในการอภบิ าลระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ 5 เสริมสรางการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย และชุมชน ในการจัดการสุขภาพ ท้ังน้ี คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ และ คณะทาํ งานขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ไดกําหนดยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด และ แนวทางการพัฒนา จนไดแผน ฯ เพื่อดําเนินการตามตาม พระราชบัญญัติระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 ตอไป 8
บทที่ 2 สถานการณระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ รปู แบบการจัดบรกิ ารปฐมภูมิ การจัดระบบทีมในการดูแลสุขภาพประชาชนเพื่อใหประชาชนไดรับการดูแลตอเนื่อง โดยอาศัยทีมคณะ ผใู หบ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ (Primary health care provider team) ในพ้ืนท่ีเปนทีมหลักในการดูแลสุขภาพประชาชน จําเปนตองปรบั เปลย่ี นรปู แบบการดแู ลสขุ ภาพประชาชนจากเดิมใหเ ปนรปู แบบทม่ี แี พทยประจาํ ทมี สรางการทาํ งานและ การสื่อสารภายในใหเกิดการเปนทีมประจําตัวประชาชน โดยการจัดโครงสรางทีมอยางบูรณาการกับระบบงาน ในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทว่ั ไป และโรงพยาบาลศนู ย มงุ เนนทกี่ ารจัดใหแพทยสามารถมีพื้นที่และประชาชนรับผิดชอบ รว มกบั ทมี คณะผูใหบริการสุขภาพปฐมภมู ิ (Primary health care provider team) สําหรับการจัดระบบทีมในการดูแลสุขภาพประชาชนมีการจัดรูปแบบทีมตามบริบทและความพรอม ของแตล ะแหง ซึง่ สามารถแบงออกไดเปน 3 รปู แบบ ดงั นี้ 1. รปู แบบ Type I : Centralization 9
(2) Type II : Decentralization (3) Type III : Hybridge 10
ขอมูลการขึ้นทะเบียนหนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิ (PCU) และเครือขายหนว ยบรกิ ารปฐมภูมิ (NPCU) ป 2564 หนวยบริการปฐมภูมิ (PCU) เครือขา ยหนวยบริการปฐมภมู ิ (NPCU) PCU /NPCU พืน้ ที่ กรุงเทพมหานคร 984 แหง 1,282 แหง 178 แหง แหลง ขอ มลู : สํานกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ ขอ มลู ณ วันท่ี 24 ถุนายน พ.ศ. 2564 หมายเหตุ - หนว ยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit : PCU) หมายถึง หนวยบริการที่ไดขึ้นทะเบียนเพื่อให บริการสุขภาพปฐม ภมู ิตามพระราชบัญญัตนิ ี้ - เครอื ขา ยหนวยบริการปฐมภูมิ (Network of Primary Care Units : NPCU) หมายถึง หนวยบรกิ ารปฐมภูมิหรือหนวย บริการท่ีรวมตัวกนั และขน้ึ ทะเบียนเปน เครอื ขา ยหนว ยบริการปฐมภมู ิ เพ่อื ใหบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภูมติ ามพระราชบญั ญัติน้ี แ ผ น ก า ร ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ห น ว ย บ ริ ก า ร ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ เครอื ขา ยหนว ยบริการปฐมภูมิ 10 ป (พ.ศ.2564 - 2572) 2(,จห5าํ นน0ว วย0น) 3จ,าํ 0นว8น2 3(จห,าํ 6นนว 1วยน8) 4(จห,าํ 1นนว5วยน4) 5จ,าํ 7น6วน2 4(จห,ําน6นวว9ยน)0 6(จห,ําน7นวว0ยน)0 (หนวย) 6จ,ํา2น9วน8 (หนวย) 5(จห,ําน2นว ว2ยน)6 (หนว ย) 11
จาํ นวนบคุ ลากรสาธารณสขุ ในหนวยบรกิ ารปฐมภมู เิ ม่อื เปรียบเทยี บตามกรอบอตั รากําลังขน้ั ต่ํา ปง บประมาณ 2560 – 2564 ลําดบั ตาํ แหนง กรอบอัตรากําลงั ขั้นตํ่า จํานวนทีม่ ีอยู จํานวนทีย่ ังขาด 1 นักวิชาการสาธารณสขุ 29,322 22,939 6,383 2 พยาบาลวชิ าชีพ 20,645 14,625 6,020 3 เจา พนักงานทันตสาธารณสขุ 6,554 3,128 3,426 4 แพทยแ ผนไทย 1,097 940 157 แหลงขอมลู : กองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน กระทรวงสาธารณสขุ , 2562 จาํ นวนแพทยเวชศาสตรค รอบครัวจําแนกตามหลกั สตู รป พ.ศ.2553 – 2563 ลําดบั หลักสตู ร พ.ศ. รวม 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 1 การฝกอบรม 29 37 45 49 50 88 65 105 187 168 184 1,007 แพทยประจาํ บาน 1.1 วว. เวชศาสตร ครอบครัว 13 14 33 43 33 78 61 88 146 147 157 813 1.2 อว. เวชศาสตร 16 23 12 6 17 10 4 17 41 21 27 194 ครอบครัว 2 อบรมระยะสนั้ เวชศาสตร ครอบครัว สาํ หรับ - - - - - - 197 313 335 194 148 1,187 แพทยป ฏิบัติงาน ในคลนิ ิก หมอครอบครวั 3 Basic course of Family Medicine for - - - - - - - - - - 527 527 Primary Care Doctor รวม 29 37 45 49 50 88 262 418 522 362 859 2,721 แหลงขอ มูล: แพทยผไู ดร ับวุฒบิ ตั รสาขาเวชศาสตรค รอบครัวของแพทยสภา ป พ.ศ.2563 12
ประเทศไทยกําลังกา วเขา สูส งั คมผูสงู อายุอยางสมบูรณ (Aged Society) จากการคาดประมาณ ประชากรของประเทศไทยป 2553 - 2583 ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ(สศช.) พบวา ปจจุบันอัตราการเจริญพันธุรวมของประชากรไทยต่ํากวาระดับ ทดแทนอยทู อี่ ัตรา1.62 และ คาดการณวา ในป 2583 อัตราการเจริญพันธุรวมอาจลดลงเหลือเพียง 1.3 คน สังคมผสู ูงอายุ สง ผลใหโ ครงสรา งประชากรไทยมีการเปลยี่ นแปลงเขาสกู ารเปน สงั คมสงู วัย จากการใชแหลงทรัพยากรธรรมชาติในการพัฒนาประเทศอยางไมเหมาะสมและ ขาดประสิทธิภาพ สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติมีความเส่ือมโทรมอยางรวดเร็วและเกิดปญหา มลพิษตาง ๆ ตามมาไมวาจะเปนมลพิษทางอากาศ มลพิษทางนํ้า มลพิษทางดิน ปญหาขยะ ของเสยี อันตราย เปนตน ซ่งึ ปญหาสิง่ แวดลอมเหลานีไ้ ดสง ผลกระทบตอ สขุ ภาพของประชาชนโดยตรง สําหรับปญหามลพิษทางอากาศยังพบวาเกินมาตรฐานหลายแหงแตมีแนวโนมท่ีดีข้ึน ปญ หาส่ิงแวดลอม ในป 2561 พบมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ของประเทศและที่เปนปญหาสําคัญ ไดแก ฝนุ ละอองกา ซโอโซน และสารอนิ ทรียร ะเหยงา ย (Volatile organic compounds, VOCs) การเปลี่ยนแปลง จากการพัฒนาเศรษฐกิจและการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม อยางรวดเร็วทําใหเกิด สภาพภูมอิ ากาศ การสะสมของปริมาณกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศเพ่ิมสูงขึ้นสงผลใหอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น เกิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบของฤดูกาลการเกิดภัยพิบัติท่ีรุนแรงและบอยคร้ังขึ้น ความเส่ือมโทรม ของทรพั ยากรธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบและการแพรกระจายของเชื้อโรคและพาหะ นาํ โรคทีเ่ กดิ จากแมลงเปน พาหะที่สามารถแพรข ยายและเจริญเตบิ โตดขี ้นึ ในสภาพอากาศรอ น เชน โรคมาลาเรีย โรคไขเลือดออก เปนตน การเกิดโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซํ้า แหลงน้ําขาดแคลน ผลผลติ ทางการเกษตรลดลงเกิดโรคระบาดในพืชและสัตวและสงผลกระทบตอสุขภาพของมนุษย ท้ังโดยตรงและโดยออม ความกา วหนา จากการจัดอันดับ \"ดัชนีบง ชี้ระดับความพรอ มของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ ทางเทคโนโลยี การสอ่ื สาร (The Networked Readiness Index : NRI)” ของ World Economic Forum พบวา ประเทศไทยอยูอ นั ดับ 6 ป พ.ศ.2559 เพิ่มขน้ึ จากเม่ือป พ.ศ.2558 ถงึ 5 อนั ดับ แสดงถึง ความกา วหนาและโอกาสในการใชป ระโยชนจากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Informationand Communication Technology : ICT) (Silja Baller et al., 2016) นอกจากนี้ในป 2562 พบวา อันดบั ความพรอ มดา นโครงสรา งพ้นื ฐานทางวิทยาศาสตรแ ละดา น เทคโนโลยขี องประเทศไทยอยูท่ี 38 จาก 63 ประเทศทจี่ ัดอนั ดบั โดย IMD (International Institute for Management Development) การท่ีประเทศไทยเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประเทศไทยมีสภาพ ทางภูมิศาสตรเปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีประโยชนอยางมาก การเชอื่ มตอ การคา ตอประเทศไทย เพราะเปนการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสงเสริมความสามารถในการ และการลงทุน อยา งไรพรมแดน แขงขันสงผลใหเ กิดการสงเสรมิ การลงทนุ ในประเทศการสงออกเกิดการจางงานเพิ่มขึ้น แตอยางไรก็ตาม การเช่ือมตออยางไรพรมแดนเชนนี้ไดสงผลกระทบตอสุขภาพประชาชนในหลายดาน เชน ในป 2557พบวาในพ้ืนที่ท่ีมีแรงงานตางชาติเปนจํานวนมาก พบวาอุบัติการณของโรคมาลาเรีย อัตราปว ยวณั โรค และโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธสงู กวา พ้ืนทีอ่ ่นื ของประเทศ 13
ปรมิ าณขยะมลู ฝอยที่เกิดขึน้ ในป 2562 9.81 ลานตัน ขยะมูลฝอยทเ่ี กิดขนึ้ 12.52 ลานตนั นาํ ไปกาํ จดั อยา งถกู ตอ ง 28.71 ลา นตนั นาํ กลบั ไปใชประโยชน 6.38 ลานตนั กําจัดไมถ กู ตอ ง ทม่ี า : กรมควบคุมมลพิษ 14
15
การใชเ ทคโนโลยี อัตราการใชเ ทคโนโลยขี องประชากรไทย ป 2561 โทรศพั ทมอื ถือ 89.6 % อนิ เตอรเ น็ต คอมพวิ เตอร 56.8 % 28.3 % ทมี า :รายงานการสํารวจการมกี ารใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในครวั เรอื น สํานกั สถติ แิ หงชาติ หุนยนตทางการแพทย เชน หนุ ยนตด าวินชี (Da Vinci) แขนกลของหนุ ยนตจ ะถกู ควบคมุ โดยแพทยผ ูเช่ียวชาญผา นทางกา นควบคุม (joystick) ทําใหการผาตดั เปนไปอยางแมน ยาํ ลดการสญู เสียเลอื ดมาก ลดการบาดเจบ็ ฟนตัวเร็ว หนุ ยนตด าวนิ ชี (Da Vinci) 16
การเชอ่ื มตอ การคา และการลงทนุ อยางไรพ รมแดน การเกดิ โรคระบาด อัตราอบุ ตั กิ ารณข องมาลาเลีย อัตราปวยจากวัณโรคและโรคติตอทางเพศสมั พันธ ในจงั หวดั เศรษฐกจิ พิเศษ พ.ศ. 2558 อัตราอบุ ัติการณ โรค ประเทศ 10 จังหวดั มาลาเรีย เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 0.22 0.57 อัตราปว ย วณั โรค 83.1 170 61.4 65.5 โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ หมายเหตุ : 1.อบุ ตั กิ ารณของมาลาเรยี ตอ ประชากร 100,000 คน 2. 10 จงั หวัดเขตเศรษฐกิจ ไดแ ก สระแกว สงขลา ตาก มุกดาหาร ตราด หนองคาย นครพนม กาญจนบรุ ี เชียงราย และนราธวิ าส ที่มา : (รา ง)แผนยทุ ธศาสตรดานสาธารณสุขเพอ่ื รองรบั เขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ พ.ศ. 2560-2564 สํานกั นโยบาลและยุทธศาสตร การบรกิ ารดานสขุ ภาพคนตางดา ว คา ใชจ า ยดา นสุขภาพคนตา งดา ว จาํ นวนผูปวยนอกละผูป ว ยในคนตางดาวท่ีมารับบริการ คา ใชจ า ยในการรกั ษาพยาบาลทีเ่ รยี กเกบ็ ไมได ในสถานบรกิ ารของประเทศไทย ปง บประมาณ 2557 – 2558 จากคนตางดาว ของสถานพยาบาลกระทรวง สาธารณสขุ ปง บประมาณ 2556 - 2558 422,546 420,546 52,770 54,992 396.4 223.4 399.5 ป 2557 ป 2558 ป 2556 ป 2557 ป 2558 ผปู ว ยนอก ผปู วยใน ทีม่ า : (ราง)แผนยทุ ธศาสตรด านสาธารณสขุ เพือ่ รองรบั เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ พ.ศ. 2560-2564 สาํ นักนโยบาลและยทุ ธศาสตร 17
สถานะสขุ ภาพของคนไทย ในปจ จบุ นั มีแนวโนมดขี นึ้ เมือ่ เทยี บกบั อดตี เห็นไดจ ากการมีอายคุ าดเฉลยี่ เมอ่ื แรกเกิด (LE) อายคุ าดเฉลย่ี ของการมสี ขุ ภาพดี (HALE) ท่มี ีแนวโนม เพิม่ ข้นึ เร่อื ย ๆ โดยอายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกดิ (LE) จาก 70.4 ปใน เพศชายและ 77.5 ปในเพศหญงิ ใน พ.ศ. 2553 เปน 72.6 ปในเพศชายและ 79.3 ปในเพศหญิงใน พ.ศ. 2563 สาํ หรับอายุ คาดเฉลยี่ ของการมสี ขุ ภาพดี (HALE) เพมิ่ ขนึ้ จาก 65.4 ป ในเพศชายและ 71.4 ปใ นเพศหญงิ ในพ.ศ. 2552 เปน 68.5 ปใ นเพศชายและ 74.2 ปในเพศหญงิ ใน พ.ศ. 2557 โดยเพศหญงิ มอี ายคุ าดเฉล่ียของการมสี ขุ ภาพดีมากวาเพศชาย นอกจากนอ้ี ตั ราการตายของมารดาในชวง 5 ป (พ.ศ. 2555 – 2559) ภาพประเทศมีแนวโนม เพิ่มขน้ึ จาก 18.1 ตอการ เกิดมีชพี แสนคน ใน พ.ศ. 2555 เปน 26.6 ตอการเกิดมชี ีพแสนคนใน พ.ศ. 2559 สว นอตั ราทารกตายตอ การ เกดิ มีชพี พันคนมีแนวโนม คงท่อี ยูร ะหวา ง 6 – 7 ตอการเกดิ มชี ีพพนั คน ตามลําดบั ทัง้ นี้ สาเหตกุ ารตายสาํ คญั ทีม่ แี นวโนม สงู ข้ึน คอื อบุ ตั ิเหตจุ ากการคมนาคมขนสง รองลงมา ไดแก การทาํ รายตนเอง จมนา้ํ ถกู ทาํ รา ยและการพลัดตกหกลม ตามลาํ ดบั สว นอตั ราการตายมากทสี่ ุดจากโรคเรอ้ื รงั คือ โรคมะเรง็ รองลงมาไดแ ก โรคหลอดเลอื ดในสมอง โรคปอดอกั เสบ โรคหวั ใจขาดเลือด และโรคเบาหวาน ตามลาํ ดบั สําหรับ สาเหตุความเจ็บปวยของประชากรไทยท่ีมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง ท่ีสําคัญ ในป 2560 คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและเน้ืองอกทุกชนิด โรคหัวใจขาดเลือด และ โรคหลอดเลอื ดสมอง ตามลาํ ดับ สาํ คญั พบวา ในชวง 3 ทศวรรษท่ีผานมาโรคติดตออุบตั ิใหมมีแนวโนม เพม่ิ มากข้ึน และมคี วามรุนแรงมากขน้ึ สวนใหญ เปน โรคตดิ ตอ ระหวางสัตวและคน โดยมปี จ จัยเสย่ี งตอ การเกิดโรคและการระบาดขามพรมแดนผานการเคลื่อนยายของ ประชากร สนิ คา และแรงงาน ตลอดจนการเพิ่มข้ึนของสัตวพาหะนําโรค โดยโรคอุบัติใหมที่สําคัญ ในปจจุบันยังมีหลาย โรคที่ตองควบคุม และเฝาระวังอยางใกลชิด เชน โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง โรคไขหวัดนก และโรคไขหวัดใหญ โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เปนตน 18
อายคุ าดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด (Life Expectancy : LE) อายคุ าดเฉลีย่ ของการมีสขุ ภาพดี (Health Adjusted Life Expectancy : HALE) ของคนไทย ป 2563 อายคุ าดเฉล่ยี อายคุ าดเฉลยี่ 72.6เมอื่ แรกเกิด 68.5ของการมีสุขภาพดี (LE) (HALE) ทมี า: กองยุทธศาสตรและแผนงาน สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2563 22.3 6.5 5.0 3.3 3.2 113.7 53 43.8 หมายเหตุ : อตั ราตอแสนประชากร 31.4 19.4 ทีมา: สถติ ิสาธารณสขุ พ.ศ. 2562 กองยุทธศาสตรและแผนงาน 19 สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข
อตั ราการตายมารดา อัตราทารกตาย อัตราการตายเด็กตา่ํ กวา 5 ป ของประชากรไทย พ.ศ 2562 5.7อตั ราทารกตาย 22.5อตั รามารดาตาย อัตราการตาย ตอ การเกิดมชี ีพพนั คน ตอการเกดิ มีชพี แสนคน 7.9เด็กตํ่ากวา 5 ป ตอการเกดิ มชี ีพพนั คน ทีมา: สถิตสิ าธารณสขุ พ.ศ. 2562 กองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข อตั ราผูป ว ยในตอ ประชากรแสนคนจากโรคที่สําคัญ พ.ศ. 2561 โรคความดนั โลหติ สงู 1,439 โรคเบาหวาน 515 388 โรคหลอดเลอื ดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง 2,245 506 โรคปอดอดุ กน้ั เร้ือรัง ทม่ี า : กองยุทธศาสตรและแผนงาน สํานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ 20
โรคทางเดินหายใจ โรคไขห วดั นก ตะวนั ออกกลาง โรคไขห วดั ใหญ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) โรคทางเดินหายใจ ตะวนั ออกกลาง ประเทศไทยมีผปู วยสงสยั โรคทางเดิน หายใจตะวนั ออกกลาง (PUI MERs) สะสมจํานวน 1013 ราย เปนเพศชาย 532 ราย หญิง 475 ราย โดยเปนผูปวยยืนยัน 3 มีตั้งแตป 2558 ถึง 16 กนั ยายน 2562 โรคไขหวัดนก ประเทศไทยพบผูปวยไขหวัดนก พบผูปวย 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย หลังจากน้ัน เปนตนมา ไมพ บรายงานผปู ว ยยืนยันโรคไขห วัดนกต้ังแตป 2549 จนถึงปจจุบัน ขอ มูลจากสํานักควบคุม และบําบัดโรคสัตว กรมปศุสัตว ตงั้ แตป พ.ศ.2547 - ปจ จุบันไมมีโรคไขห วดั นกเกิดขน้ึ ใน ประเทศไทย โรคไขหวัดใหญ ประเทศไทย ทีมีสาเหตุเกิดจากเช้ือไวรัสไขหวัดใหญชนิดเอ มีรายงานผูปวย 102,750 ราย อัตราปวย 154.54 ตอประชากรแสนคน มีรายงานผูเสียชีวิต 4 ราย อัตราปวยตายรอยละ 0.004 ต้ังแต วันที่ 1 มกราคม – 20 มิถนุ ายน 2563 โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ประเทศไทย พบผูปวย 30,310 ราย มรี ายงานผเู สยี ชีวิต 95 ราย ตง้ั แตวันท่ี มกราคม 2563 ถึง เมษายน 2564 ทมี่ า : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 21
ปัจจยั เสี่ยงท่ีสาํ คญั 1. พฤตกิ รรมการบริโภคเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล การวิเคราะหความสูญเสียปสุขภาวะ (Disability adjusted life years: DALY) ของ ประชากรไทย ป 2557 พบวา การบรโิ ภคเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลเปน ปจ จยั เสี่ยงทางสุขภาพอนั ดับหนึง่ ในเพศชาย และ จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ ในป 2560 พบวาความชุกของนักดื่มในประชากรผูใหญ (อายุ 15 ปขึ้นไป) คิดเปนรอยละ 28.4 ลดลงจาก ป 2559 (รอยละ 34.0) โดยมีนักดื่มเพศชายรอยละ 47.5 และเพศหญิง รอยละ 10.6 โดยมีนักดม่ื เพศชายมากกวานักด่ืมเพศหญิงประมาณ 4.48 เทา นอกจากน้ีเครื่องดื่มแอลกอฮอลยังกอใหเกิด ปญ หาอบุ ัติเหตุ โดยเฉพาะในชวงเทศกาลที่มีวันหยุด ติดตอกันจะพบการเกิดอุบัติเหตุจราจรทําใหมีผูเสียชีวิตและ บาดเจบ็ เปนจํานวนมากโดยสาเหตุหลักอันดบั หนึง่ เกิดจากการเมาสรุ า (สํานักงานสถติ แิ หง ชาต,ิ 2560) ความชุกการบริโภคเครือ่ งด่มื แอลกอฮอลของประชากร ป พ.ศ. 2544 - 2560 (รอยละ) 40 32.7 32.7 31.5 30 32 31.5 32.2 32.3 34 ความชุก (รอยละ) 35 28.4 30 13.6 25 19.4 15 ปข นึ้ ไป 12.9 14.2 14 16 15 - 19 ป 20 15 10 5 0 พ.ศ. 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 ทม่ี า : สาํ นกั งานสถิติแหง่ ชาติ 22
2. พฤติกรรมการบรโิ ภคเครือ่ งดื่มแอลกอฮอลก ารบริโภคยาสูบ ผลการสาํ รวจพฤตกิ รรมการสูบบุหร่ีและการดื่มสรุ าของประชากรไทย ป 2560(สํานักงานสถิติ แหงชาติ) พบวา จากจาํ นวนประชากรอายุ 15 ปข้ึนไปทั้งสิ้น 55.9 ลานคน เปนผูท่ีสูบบุหรี่ 10.7 ลานคน (รอ ยละ 19.1) แยกเปนผทู ่ีสบู เปน ประจํา 9.4 ลานคน (รอยละ 16.8) และเปนผูท่ีสูบนาน ๆ คร้ัง 1.3 ลาน คน (รอยละ 2.3) กลุมอายุ 25 - 44 ป มีอัตราการสูบบุหร่ีสูงสุด (รอยละ 21.9) กลุมอายุ 20 - 24 ป (รอยละ 20.7) กลมุ อายุ 45 - 59 ป (รอยละ 19.1) สําหรับกลมุ ผูส ูงวัย (อายุ 60 ปข น้ึ ไป) รอยละ 14.4 กลมุ เยาวชน (อายุ 15 - 19 ป) มีอตั ราการสบู บหุ รต่ี าํ่ สุด (รอยละ 9.7) แนวโนม การสบู บุหร่ใี นประชากรอายุ 15 ปขึน้ ไป พ.ศ. 2547 – 2560 รอยละ 50 42.2 41.7 40.5 41.7 39 40.5 39.3 37.7 45 43.7 40 35 30 21.9 21.2 20.7 21.4 19.9 20.7 19.9 19.1 รวม 25 23 ชาย 20 หญงิ 15 10 2.8 1.9 2 2.1 2.1 2.2 1.8 1.7 5 2.6 0 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2557 2558 2560 พ.ศ... ทม่ี า : สาํ นกั งานสถิติแหง่ ชาติ 23
3. อบุ ตั ิเหตุ ภาพรวมสถานการณอุบัติเหตุทางถนนทั่วโลกจากรายงานสถานการณโลกดานความปลอดภัยทางถนน ปพ.ศ. 2561 (Global Report on Road Safety 2018) โดย WHO พบวาปจจุบันอัตราผูเสียชีวิตบนทองถนนเพ่ิมข้ึนเปน 1.3 ลานคนตอป ซ่ึงประเทศไทย มีผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนสูงท่ีสุดเปนอันดับที่ 9 ของโลกโดยมีประมาณการ ผูเสียชีวิต 32.7 คนตอประชากรหน่ึงแสนคนหรือมีผูเสียชีวิตเฉล่ียปละ 22,491 คน (60 คนตอวัน ) สถานการณการ บาดเจ็บและสูญเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยมีแนวโนมดีข้ึนเล็กนอยภาพรวม มีสถิติผูเสียชีวิตลดลง จากประมาณการคร้งั ทผี่ านมาขององคการอนามัยโลก 2,000 คน แตประเทศไทยยังคงเปนประเทศที่มีผูเสียชีวิตสูงท่ีสุด อันดบั หนงึ่ ในเอเชียและในภมู ิภาคอาเซยี นสดั สว นผูเสียชวี ติ ดว ยอบุ ัตเิ หตทุ างถนนทวั่ โลก มผี ูเสียชีวติ จากรถยนตมากที่สุด สาเหตุการเกิดอบุ ตั ิเหตทุ างถนน 74.4 12.3 7.6 2.3 3.5 สาเหตอุ ่ืนฯ รถยนต ผูเดินเทา จกั รยานยนต ผูขบั ขี่รถ จักรยานยนต ทมี่ า : สํานกั งานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร กระทรวงคมนาคม, 2563 24
บทท่ี 3 แผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิ (พ.ศ.2564-2575) วสิ ยั ทัศน “เปนระบบสุขภาพปฐมภูมิที่มีคุณภาพมาตรฐาน ท่ีเกิดจากการมีสวนรวมของ ภาคีเครือขาย ทําใหประชาชนสามารถจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได รวมท้ังเขาถึงบริการสุขภาพอยางท่ัวถึง เปนธรรม มีความเชื่อม่ัน ศรัทธา เพื่อมุงสูการมี สขุ ภาวะทด่ี อี ยา งยงั่ ยืน” คา นยิ ม People-centered care & Integrated health service P การจดั บริการแบบบูรณาการโดยยึดประชาชน เปน ศนู ยกลางและมงุ เนนคุณคา H Holistic approach การดูแลสุขภาพแบบองคร วมครอบคลุมทุกมิติ C Collaboration & Community participation การมสี ว นรว มของประชาชนและชมุ ชน S Self-care for sustainability ความย่งั ยืนในการดแู ลสุขภาพ 25
พันธกจิ การสงเสริมสนับสนุนใหมีการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิอยางตอเน่ือง และ เปา ประสงค ผสมผสานครอบคลุมท้ังการสงเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การปองกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรกั ษาพยาบาล และการฟนฟูสขุ ภาพ สง เสรมิ และสนับสนนุ ใหม ีการผลติ แพทยเวชศาสตรครอบครัว และคณะ ผใู หบรกิ ารสขุ ภาพปฐมภูมใิ หมีคณุ ภาพและเพยี งพอตอ การใหบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ สงเสริมและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใหม ีการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิทีม่ ีคุณภาพ สงเสริม พัฒนา และประสานความรวมมือดานการจัดระบบบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ ระหวางภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน ในการเปนเจาของรวมกัน เพ่ือจัดการและพัฒนาระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ ใหม ีประสทิ ธิภาพ สงเสริมและสรางการมีสวนรวมของประชาชนใหมีศักยภาพ มีความรอบรู ในการจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสม รวมถึงสามารถจัดการกับปจจัยกําหนดสุขภาพทางสังคม (social determinants of health) 4.ระบบสุขภาพปฐมภูมิมีกลไกและกระบวนการ ในการประสานความรวมมือกับภาคีเครือขาย เพื่อ พัฒนาและจัดระบบสุขภาพปฐมภมู ทิ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 1.ประชาชนมคี วามรอบรู 3.การจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ สามารถจัดการสุขภาพตนเองได มีคณุ ภาพ ตามมาตรฐาน 2.ประชาชนมคี วามเชอื่ มั่น ศรัทธา สามารถเขาถึงบริการอยางทั่วถึง เปนธรรม และมีสขุ ภาวะท่ีดอี ยางยงั่ ยนื 26
1.แผนปฏบิ ตั ิการดา นระบบสุขภาพปฐมภูมิ เรื่อง เพิ่มศักยภาพบริการสุขภาพปฐมภูมิ ทุกรูปแบบท่ีขับเคล่ือนโดยแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผูใหบริการสุขภาพ ปฐมภูมิใหสอดคลอ งกับบริบทของพืน้ ที่ ตวั ชวี้ ัด เปาหมาย 1.ประชาชนมีความเช่ือมัน่ ศรทั ธา สามารถเขาถึงบริการสุขภาพปฐมภูมิ ท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน 2.หนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน 3.ลดอตั ราปวยและอัตราตายกอนวยั อันควรจากโรคไมติดตอ 1) รอ ยละของประชาชนเขา ถงึ บรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ทิ ่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน 2) รอยละของหนว ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครือขา ยหนว ยบรกิ ารปฐมภูมิ ทีผ่ า นเกณฑคุณภาพตามมาตรฐานการบรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ 3) รอ ยละความพึงพอใจของประชาชนตอการรับบรกิ าร ทห่ี นว ยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครอื ขา ยหนว ยบรกิ ารปฐมภูมใิ นระดบั ดีขนึ้ ไป 4) รอยละของหนว ยบรกิ ารปฐมภมู แิ ละเครอื ขายหนวยบรกิ ารปฐมภูมทิ ข่ี ึ้นทะเบยี น 5) รอ ยละของผปู ว ยโรคเบาหวานทค่ี วบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดไดดี 6) รอ ยละของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดนั โลหิตไดดี แนวทางการพฒั นา 1.พฒั นาการจดั ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิใหส อดคลอ งกับบริบทของพ้ืนที่ 2.การจัดระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิโดยการมีสวนรวมของภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ภาคประชาชน และภาคเอกชน 3. พฒั นารูปแบบการบริการสุขภาพปฐมภูมิแบบบูรณาการทีย่ ึดประชาชนเปน ศนู ยก ลาง 4. พฒั นารปู แบบและขอบเขตบรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ 5. พัฒนาระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ของการบริการสุขภาพปฐมภูมิโดย การมสี วนรวมของประชาชนและทกุ ภาคสวน 6. พฒั นาการเครือขา ยระบบสง ตอบริการระหวางหนว ยบริการปฐมภูมิและหนวยบริการทุกระดบั 27
2.แผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิ เรื่อง พัฒนาและสรางกลไกเพื่อเพ่ิม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผูใหบริการ สขุ ภาพปฐมภมู ิ เปา หมาย 1.มีแพทยเ วชศาสตรครอบครวั ทเี่ พียงพอดแู ลประชาชนในสัดสวนท่เี หมาะสม 2.คณะผูใหบริการสุขภาพปฐมภูมิไดรับการพัฒนาสมรรถนะและสามารถ ปฏบิ ตั งิ านไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชว้ี ัด 1) รอยละของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิท่ีมีแพทย เวชศาสตรครอบครัวท่ี ผานการอบรมวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเพ่ือแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตรครอบครัว ปฏิบัตงิ านในหนว ยบรกิ ารปฐมภูมแิ ละเครอื ขายหนวยบริการปฐมภมู ิ 2) รอยละของคณะผูใหบริการสุขภาพปฐมภูมิที่ปฏิบัติงานในหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวย บริการปฐมภูมิไดรับการพัฒนาสมรรถนะและสามารถนําความรูไปประยุกตใชในการจัดบริการสุขภาพ ปฐมภูมไิ ดส อดคลอ งกบั บริบทของพน้ื ท่ี 3) รอยละของบคุ ลากรทีป่ ฏบิ ัติงานในหนว ยบริการปฐมภมู ิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิมีความสุข ในการทํางาน 4) อัตราการคงอยขู องบคุ ลากรในหนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิและเครอื ขายหนวยบริการปฐมภูมิ แนวทางการพฒั นา 1.สงเสริมสนับสนุนและสรางความรวมมือในการผลิตและพัฒนาศักยภาพแพทยเวชศาสตรครอบครัว และคณะผูใ หบ รกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ 2.พฒั นาระบบและกลไกการจัดการกําลังคนดานสุขภาพที่เอ้ือใหแพทยเวชศาสตรครอบครัวและคณะผู ใหบ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภูมสิ ามารถปฏบิ ัตงิ านในหนวยบริการปฐมภูมิ และเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อยางมคี ณุ คาและการทาํ งานเปน ทีม 3.สรางความเขาใจของแพทยเวชศาสตรครอบครัว และคณะผูใหบริการสุขภาพปฐมภูมิเพื่อใหมีความ เขาใจท่ีตรงกันตอการบริการสุขภาพปฐมภูมิ 4.เสริมสรา งขวัญกาํ ลงั ใจและธํารงรักษากาํ ลงั คนในหนวยบริการปฐมภูมแิ ละเครือขายหนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิ 28
3.แผนปฏิบตั ิการดานระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ เรื่อง พัฒนาระบบสารสนเทศ การวิจยั และ นวตั กรรมระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ เปา หมาย 1. มกี ารนําเทคโนโลยีสารสนเทศดา นสุขภาพมาใชใ นการพฒั นาระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ 2. มีการนําองคความรูจากนวัตกรรม และจากการวิจัยไปใชในการพัฒนาระบบ สุขภาพปฐมภมู ิ ตวั ชีว้ ัด 1) จํานวนจังหวัดท่ีมีการเช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลสุขภาพท้ังระดับการ ดแู ลสขุ ภาพตนเอง ปฐมภูมิ ทตุ ยิ ภมู ิ และตติยภูมิบนพื้นฐานของการปกปอง ความลับ (Confidentiality) และความเปนสวนตัว (Privacy)ของประชาชน ภายใตกรอบกฎหมายท่มี สี ว นเกี่ยวของ 2) รอยละของประชาชนที่มีรายชื่ออยูในหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิรับรู แพทยป ระจําตัวและคณะผูใ หบ รกิ ารสุขภาพปฐมภูมิ 3) รอยละของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิสามารถนําเทคโนโลยี นวัตกรรม และผลการวิจัยไปใชใ นการจดั บรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิไดอ ยางเหมาะสมตรงกับความตอ งการของประชาชน ในแตละพ้นื ที่ แนวทางการพฒั นา 1.พฒั นาระบบสารสนเทศเพอ่ื การเช่ือมโยงขอ มูลการบริการ และการบริหารจัดการระบบสุขภาพปฐมภูมิ ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ 2. พฒั นาศกั ยภาพกาํ ลังคนดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการจัดการขอ มลู ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ 3. นําเทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมดานสุขภาพและการใชงานเทคโนโลยีสําหรับสุขภาพมาใชในการ ใหบ รกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ 4. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิเพื่อนําองคความรู และนวัตกรรมไปใชในการ จัดบรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ 29
4. แผนปฏิบัติการดานระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ เรอ่ื ง พฒั นากลไกและกระบวนการสรางหลัก ธรรมาภิบาลในการอภิบาลระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ เปา หมาย 1. มีการบริหารจดั การระบบสุขภาพปฐมภมู อิ ยา งโปรงใส ตรวจสอบได 2. มกี ลไกและระบบการตดิ ตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ตวั ชี้วัด 1. อัตราการเพ่มิ คาใชจ ายดา นสขุ ภาพของประเทศโดยรวมลดลง 2. รอ ยละของอนุบัญญตั ทิ ี่ออกโดยอาศัยอํานาจแหงพระราชบญั ญัติ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 จัดทาํ แลวเสร็จ และมผี ลบังคับใช 3. ระดับความสาํ เรจ็ ของการจัดทาํ แนวทางการจัดสรรงบประมาณจากแหลงงบประมาณตาง ๆ ทั้งระบบ หลักประกันสุขภาพถวนหนา ระบบประกันสังคม ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ และแหลงอื่นๆ ที่เหมาะสมสาํ หรบั การจดั บริการสขุ ภาพปฐมภมู ิอยางเปนธรรม และมปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากร ท้งั หมด แนวทางการพัฒนา 1.พัฒนาและบังคับใชกฎระเบียบที่เกี่ยวของเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารระบบสุขภาพปฐมภูมิและ การจดั บรกิ ารสุขภาพปฐมภมู ิ 2. พัฒนาการมสี วนรว มกลไกการบรหิ ารจดั การระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ และการบรู ณาการทรัพยากรในการ จัดบริการสุขภาพปฐมภูมใิ หมปี ระสิทธิภาพ 3. พฒั นาระบบกาํ กบั ติดตามและประเมินผลการบริหารและจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิโดยการมีสวนรวม เพื่อใหเกิดความโปรง ใสและตรวจสอบได 30
5. แผนปฏบิ ตั ิการดา นระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ เรื่อง เสรมิ สรางองคค วามรแู ละสรางการมี สว นรวมของภาคีเครือขา ยและชมุ ชน เปาหมาย 1. ประชาชนมคี วามรอบรูในการจดั การสุขภาพตนเอง ครอบครวั และชุมชน รวมถงึ สามารถจัดการกบั ปจ จัยกําหนดสุขภาพทางสงั คม (social determinants of health) 2. ภาคเี ครือขา ยและชมุ ชน เขา มามีสว นรวมในการขับเคลือ่ นระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ ตัวช้วี ัด 1.รอยละของประชาชนมคี วามรอบรูดานสุขภาพ 2. รอยละของอาํ เภอผา นเกณฑก ารประเมนิ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่มคี ุณภาพ 3. รอยละของหนวยบริการปฐมภูมิและเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิมีระบบปองกันควบคุมโรคการ เฝาระวงั ทางระบาดวทิ ยา และกลไกตอบโตโรคและภัยสุขภาพในสภาวะฉุกเฉิน 4. รอยละของประชาชนทม่ี ีความรู ความเขาใจตอการบริการสขุ ภาพปฐมภมู ิ แนวทางการพฒั นา 1.บูรณาการองคกรทุกภาคสวนและเสริมสรางภาคีเครือขายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมดาน สุขภาพเพอ่ื จัดการปจ จัยกําหนดสขุ ภาพ 2. สงเสริม สนับสนุนใหประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ สามารถดูแล และจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนได สรา งความเขาใจของประชาชนตอระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิและการบริการสุขภาพปฐมภูมิเพ่ือการเขาถึงการ มีสวนรว มพัฒนาและการใชบ ริการสุขภาพปฐมภมู อิ ยา งมปี ระสิทธิภาพ 31
การติดตามประเมินผล กระทรวง กรม ติดตามความกาวหนาและประเมินผลการดําเนินงานวาสามารถ บรรลุ เปาหมาย ผลผลิต ผลลัพธ ตัวชี้วัดความสําเร็จ ปญหา และอุปสรรคในการดําเนินการ รวมทั้งปจจัย แหงความสําเร็จ เพื่อใชปรับปรุงแนวทางการดําเนินงานเพ่ือใหสามารถดําเนินการขับเคล่ือน แนวทางการพัฒนาท่ีสําคัญตามแผนปฏิบัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิฯ สูการปฏิบัติไดอยาง มีประสิทธภิ าพ มขี น้ั ตอนดังน้ี ผูบริหารกําหนดและสื่อสารนโยบายใหแกหนวยงานทุกระดับ จัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ ใหสอดคลอง กบั นโยบายตามแผนปฏิบตั ิการดา นระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ หนว ยงานรายงานผลการดําเนนิ งานรายเดือน/รายไตรมาส ผา นระบบ ตดิ ตามและประเมินผล ของกระทรวงสาธารณสุข กาํ หนดกลไกการขบั เคลอ่ื นแผนและตดิ ตามประเมนิ ผล ระดับชาติ ระดบั เขตสุขภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยสํานักสนับสนุนระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ รวบรวม วิเคราะหผลการดําเนนิ งานที่เก่ยี วขอ งกับระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ พรอมจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน ปญหาอุปสรรค และ ขอเสนอแนะเสนอตอ ผบู ริหารและหนวยงานท่ีเกยี่ วขอ ง เพื่อประกอบการ พจิ ารณาทบทวนและปรบั ปรุงแผนปฏบิ ัติการดานระบบสุขภาพปฐมภูมิฯ ใหส อดคลอ งกบั บรบิ ทการเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขนึ้ 32
คณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ประธานอนุกรรมการ ศาสตราจารยพ เิ ศษไพจติ ร ปวะบตุ ร กรรมการผูทรงคุณวุฒิจากผูแทนองคกรเอกชนซ่ึงมีวัตถุประสงค ที่มิใชเปนการแสวงหาผลกําไรและดําเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวกับงาน ดา นสุขภาพ ในคณะกรรมการระบสุขภาพปฐมภมู ิ รองประธานอนุกรรมการ รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข อนุกรรมการ รองอธิบดกี รมควบคุมโรค รองอธบิ ดกี รมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ รองอธบิ ดีกรมอนามัย รองอธิบดีกรมสงเสรมิ การปกครองทองถิ่น ผแู ทนสํานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรางเสริมสขุ ภาพ รองผอู าํ นวยการสาํ นักอนามยั กรงุ เทพมหานคร รองเลขาธิการสาํ นักงานประกันสังคม รองเลขาธกิ ารสาํ นักงานหลกั ประกันสุขภาพแหงชาติ ผูแทนราชวทิ ยาลัยแพทยเ วชศาสตรค รอบครวั แหง ประเทศไทย ประธานชมรมโรงพยาบาลศนู ย/ โรงพยาบาลทัว่ ไป ประธานชมรมโรงพยาบาลชมุ ชน ประธานชมรมพยาบาลชมุ ชนแหงประเทศไทย นายยงยทุ ธ พงษสุภาพ ผูทรงคณุ วุฒิ สํานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาติ ผชู ว ยศาสตราจารยภ ดู ิท เตชาตวิ ฒั น ผูอํานวยการสถาบนั พัฒนาสขุ ภาพอาเซยี น มหาวิทยาลัยมหิดล ผูอาํ นวยการกองบรหิ ารการสาธารณสุข สาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ผูอาํ นวยการกองยทุ ธศาสตรและแผนงาน สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข นายธรภณ ตรคี ุณประภา ผอู าํ นวยการโรงพยาบาลบางมด นายประพนั ธ ใยบุญมี สาธารณสขุ อาํ เภอสองพน่ี อง จังหวดั สุพรรณบุรี นางศศิธร ปลนี ารมั ย ผูอํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบลบานบัว จังหวัดบุรีรัมย นายศิวโรฒ จติ นยิ ม อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจําหมบู า น จังหวัดกาญจนบรุ ี อนกุ รรมการ และเลขานุการ ผอู าํ นวยการสํานักสนบั สนนุ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ อนกุ รรมการ และผชู วยเลขานุการ นางจารณุ ี จันทรเ พชร นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ สาํ นกั สนบั สนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ สาํ นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นางเออ้ื มพร จนั ทรท อง นกั วิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการ สาํ นักสนับสนุนระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข 33
คณะทาํ งานขบั เคล่อื นยุทธศาสตรการพฒั นาระบบสุขภาพปฐมภูมิ ทป่ี รกึ ษา รองปลัดกระทรวงสาธารณสขุ นายยงยศ ธรรมวฒุ ิ กรรมการปฏิรูปประเทศดา นสาธารณสขุ ประธานคณะทาํ งาน นกั วิชาการอิสระ นายณรงคศักด์ิ อังคะสุวพลา ผทู รงคุณวุฒิ สํานกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพแหงชาติ รองประธานอนุกรรมการ ผูอ าํ นวยการสถาบันพฒั นาสุขภาพอาเซยี น มหาวิทยาลยั มหิดล นายธรี วฒั น กรศลิ ป ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลแกง คอย จังหวัดสระบุรี คณะทํางาน นายแพทยเชยี่ วชาญ โรงพยาบาลตรงั นายยงยทุ ธ พงษส ุภาพ คณะแพทยศ าสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ผชู วยศาสตราจารยภ ูดิท เตชาตวิ ฒั น อาจารยป ระจํา คณะวิทยาการสุขภาพและการกฬี า มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ นายประสิทธ์ชิ ัย ม่งั จิตร นกั วชิ าการอสิ ระ นายไกรสร โตทับเท่ยี ง ผอู าํ นวยการศนู ยบ ริการสาธารณสขุ 61 ผูชว ยศาสตราจารย กฤษณะ สวุ รรณภูมิ สาํ นกั อนามัย กรุงเทพมหานคร นายบุญเรอื ง ขาวนวล รองผอู าํ นวยการสํานกั สนบั สนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ นายชาญวทิ ย วสันตธ นารัตน สาํ นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ นายปกรณ ทองวไิ ล ผูอาํ นวยการสาํ นักสนบั สนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ นายสฤษดิ์เดช เจริญไชย สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ คณะทํางาน และผชู ว ยเลขานกุ าร นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการพิเศษ นายสุวัฒน วิริยพงษสุกจิ สํานกั สนบั สนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ คณะทาํ งาน และผูชวยเลขานกุ าร สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นางจารณุ ี จันทรเพชร นักวชิ าการสาธารณสุขชํานาญการ สาํ นักสนับสนนุ ระบบสุขภาพปฐมภมู ิ นางเอือ้ มพร จันทรทอง สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นกั วเิ คราะหนโยบายและแผน นายชาลี ลว่ิ เวหา สํานักสนบั สนุนระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 34
สํานกั สนับสนนุ ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ กระทรวงสาธารณสขุ 88 /21 ถนนติวานนท ตาํ บลตลาดขวญั อาํ เภอเมอื งนนทบรุ ี จงั หวดั นนทบุรี 11000 โทรศัพท 0 2590 1938 แฟกซ 0 2590 1938 35
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: