Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเป็นมาประวัติสื่อสิ่งพิมพ์ 3

ความเป็นมาประวัติสื่อสิ่งพิมพ์ 3

Published by จิราภา วะเศษสร้อย, 2022-01-13 03:15:18

Description: ความเป็นมาประวัติสื่อสิ่งพิมพ์ 3

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ความเปน็ มาประวตั ิส่ือสัง่ พมิ พ์ จดั ทำโดย นาย วเิ ศษศกั ด์ิ เดมิ สันเทียะ รหสั นักศกึ ษา 621061100056 น.ส. จริ าภา วะเศษสร้อย รหสั นักศกึ ษา 621061100239 น.ส. แพรไหม แมดมง่ิ เหงา้ รหัสนักศึกษา 621061100304 น.ส. อทิตยิ า อินอเุ ทน รหัสนกั ศกึ ษา 621061100122 เสนอ อาจารย์ ศิวโรจน์ จนิ ดา รายงานเล่มน้เี ป็นสว่ นหน่ึงของวิชาการผลิตส่อื สงั่ พิมพ์ ภาคเรยี นที่ 2/2564 วิทยาลยั นาหวา้ มหาวิทยาลยั นครพนม

คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการผลิตสื่อสั่งพิมพ์ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ที่กำลังศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกับเรื่องความเป็นมาประวัติสื่อสั่งพิมพ์ ผู้จัดทำหวังวา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่ มากกน็ อ้ ย ถา้ หากผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ทน่ี ี้ด้วย คณะผ้จู ดั ทำ 23/12/64

สารบญั เรื่อง หนา้ ความเปน็ มาของสอ่ื ส่ังพมิ พ์ 1 ชนดิ ของสอ่ื สิง่ พมิ พ์ 1 ประเภทของส่อื สิง่ พิมพ์ 2 บทบาทของสอ่ื สงิ่ พิมพ์ 4 การส่อื สง่ิ พมิ พอ์ อกแบบและจัดหนา้ 5 กระบวนการผลติ สือ่ สิง่ พิมพ์ 6 กระบวนการผลิตสื่อสงิ่ พมิ พ์ 8 ข้ันตอนการผลติ สอื่ สิ่งพมิ พ์ 9 การประเมนิ ผลส่อื สงิ่ พมิ พ์ 11 ประเภทของสอ่ื สงิ่ พมิ พ์ 12 บรรณานกุ รม 14

ความเปน็ มาของสื่อส่ังพิมพ์ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะได้ปรากฏบนผนังถำ้ อลั ตามริ า (Altamira) ในสเปน และถำ้ ลาสควกั ซ์ (Lascaux) ในฝร่ังเศส มผี ลงานแกะสลักหนิ แกะสลกั ผนัง ถา้ เป็นรูปสตั ว์ลายเสน้ จงึ เป็นหลักฐานในการแกะพมิ พ์ เป็นครั้งแรกของมนษุ ย์ หลงั จากนนั้ ได้มีบุคคลคิดวิธีการทำกระดาษขึน้ จนมาเป็นการพิมพ์ในปัจจุบนั นั่นคือ ไซลน่ั ซ่ึงมีเชอื้ สายจนี ชาวจีน ไดผ้ ลิตทำหมึกแทง่ ขึ้น ซ่งึ เรยี กว่า “บ๊ัก” ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช กรงุ ศรีอยธุ ยา ได้เร่ิมแต่งและพมิ พห์ นังสอื คำสอนทางศาสนา คริสต์ ข้นึ และหลงั จากน้ันหมอบรดั เลยเ์ ขา้ มาเมืองไทย และไดเ้ ริ่มดา้ นงานพิมพจ์ นสนใจเปน็ ธุรกิจดา้ นการพิมพ์ ในเมอื งไทย พ.ศ.2382 ไดพ้ ิมพเ์ อกสารทางราชการเปน็ ช้นิ แรก คอื หมายประกาศห้ามสูบฝิ่น ซึ่ง พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงโปรดใหจ้ า้ งพิมพ์จำนวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเมื่อวนั ท่ี 4 ก.ค.2387 ได้ ออกหนงั สอื ฉบับแรกขึ้น คือ บางกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เปน็ จดหมายเหตอุ ยา่ งส้นั ออกเดือนละ 2 ฉบับ และใน 15 ม.ิ ย. พ.ศ.2404 ไดพ้ มิ พห์ นังสือเลม่ ออกจำหนา่ ยโดยซื้อลิขสิทธจิ์ าก หนงั สอื นริ าศลอนดอนของ หมอ่ มราโชทัยและได้เร่ิมต้นการซื้อขาย ลขิ สิทธิ์จำหนา่ ยในเมอื งไทย หมอบรดั เลยไ์ ด้ถงึ แก่กรรมในเมอื งไทยกจิ การ การพมิ พ์ของไทยจงึ เริ่มตน้ เป็นของไทย หลงั จากนัน้ ใน พ.ศ.2500 ประเทศไทยจงึ นำ เคร่ืองพิมพแ์ บบโรตารี ออฟเซท (Rotary off Set) มาใช้เปน็ คร้ังแรก โรงพิมพ์ไทยวฒั นาพานิช นำเครือ่ งหล่อเรียงพมิ พ์ Monotype มาใชก้ ับตวั พิมพ์ภาษาไทย ธนาคาร แห่งประเทศไทยไดจ้ ดั โรงพิมพธ์ นบตั รใน เมอื งไทยขนึ้ ใชเ้ อง ชนดิ ของสื่อสิ่งพิมพ์ 1. หนงั สือเรียน แบบเรียน ตำรา เอกสารการสอน 2. หนงั สือพิมพ์ 3. วารสาร นติ ยสาร 4. แผน่ ปลิว โฆษณา 5. หนงั สือการต์ ูน 6. หนังสือนวนยิ าย

ประเภทของสือ่ ส่งิ พมิ พ์ สือ่ สิ่งพมิ พ์ประเภทหนงั สือ - หนังสอื สารคดี ตำรา แบบเรียน เป็นสอื่ ส่ิงพิมพท์ ี่แสดงเน้ือหาวิชาการในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพ่อื ส่ือใหผ้ อู้ ่าน เขา้ ใจความหมาย ด้วยความรู้ทเี่ ป็น จริง จงึ เป็นสื่อส่งิ พิมพท์ ่ีเนน้ ความรูอ้ ยา่ งถูกต้อง - หนงั สอื บันเทงิ คดี เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพ์ท่ีผลติ ขนึ้ โดยใชเ้ ร่อื งราวสมมติ เพ่ือใหผ้ ู้อ่านไดร้ ับควา เพลิดเพลนิ สนกุ สนาน มกั มีขนาดเลก็ เรยี กว่า หนังสอื ฉบับกระเป๋า หรอื Pocket Book ได้ ส่อื สงิ่ พิมพ์เพื่อเผยแพร่ขา่ วสาร - หนังสอื พมิ พ์ (Newspapers) เปน็ ส่อื สิง่ พิมพ์ทผ่ี ลิตขึ้นโดยนำเสนอเรือ่ งราว ข่าวสารภาพและความคดิ เหน็ ใน ลกั ษณะของแผ่นพิมพ์ แผ่นใหญ่ ทีใ่ ชว้ ธิ ีการพบั รวมกัน ซงึ่ ส่อื ส่ิงพมิ พช์ นิดน้ี ได้พมิ พอ์ อกเผยแพรท่ งั้ ลักษณะ หนังสือพมิ พ์รายวัน, รายสัปดาห์ และรายเดอื น - วารสาร, นิตยสาร เป็นสอื่ สิ่งพิมพท์ ่ีผลิตข้ึนโดยนำเสนอสาระ ขา่ ว ความบนั เทงิ ทมี่ ีรูปแบบการนำเสนอ ทีโ่ ดด เดน่ สะดุดตา และสรา้ งความสนใจให้กับผู้อา่ น ทั้งน้ีการผลิตนัน้ มีการ กำหนดระยะเวลาการออกเผยแพรท่ ี่ แนน่ อน ทงั้ ลกั ษณะวารสาร, นติ ยสารรายปักษ์ (15 วัน) และ รายเดือน - จลุ สาร เป็นสอ่ื สง่ิ พิมพ์ทีผ่ ลิตขึน้ แบบไมม่ ุ่งหวังผลกำไร เป็นแบบให้เปลา่ โดยให้ผอู้ า่ นได้ศกึ ษาหาความรู้ มี กำหนดการออกเผยแพร่เป็นครัง้ ๆ หรือลำดบั ตา่ ง ๆ ในวาระพเิ ศษ - ส่งิ พิมพโ์ ฆษณา - โบรช์ วั ร์ (Brochure) เปน็ ส่ือส่งิ พิมพ์ที่มลี กั ษณะเป็นสมุดเล่มเล็ก ๆ เย็บติดกนั เปน็ เล่ม จำนวน 8 หนา้ เป็น อย่าง น้อย มีปกหนา้ และปกหลงั ซ่ึงในการแสดงเน้ือหาจะเก่ยี วกับโฆษณาสินคา้ - ใบปลิว (Leaflet, Handbill) เป็นสื่อส่ิงพิมพ์ใบเดยี ว ท่เี น้นการประกาศหรือโฆษณา มักมขี นาด A4 เพ่ือง่ายใน การแจกจา่ ย ลกั ษณะการแสดงเนอื้ หาเป็นขอ้ ความท่ีผู้อา่ น อา่ นแล้วเข้าใจงา่ ย - แผน่ พับ (Folder) เปน็ สือ่ สิ่งพิมพท์ ผ่ี ลิตโดยเน้นการนำเสนอเนอ้ื หา ซ่ึงเนอื้ หาทน่ี ำเสนอนัน้ เปน็ เน้อื หา ที่สรุป ใจความสำคญั ลักษณะมีการพับเป็นรปู เลม่ ตา่ ง ๆ - ใบปิด (Poster) เป็นสือ่ ส่งิ พิมพโ์ ฆษณา โดยใช้ปดิ ตามสถานทต่ี า่ ง ๆ มีขนาดใหญเ่ ปน็ พิเศษ ซงึ่ เน้นการนำเสนอ อยา่ งโดดเดน่ ดงึ ดูดความสนใจ สง่ิ พมิ พ์เพื่อการบรรจุภณั ฑ์ เปน็ สื่อสงิ่ พิมพท์ ี่ใช้ในการห่อหมุ้ ผลติ ภณั ฑ์การคา้ ต่าง ๆ แยกเปน็ สงิ่ พิมพ์หลัก ไดแ้ ก่ สงิ่ พมิ พ์ทใ่ี ช้ปดิ รอบขวด หรือ กระป๋องผลิตภัณฑ์การค้า สิง่ พิมพ์รอง ไดแ้ ก่ สิง่ พิมพ์ที่เป็นกล่องบรรจุ หรอื ลงั

ส่งิ พิมพ์มคี ่า เป็นสือ่ สง่ิ พิมพท์ ่ีเน้นการนำไปใช้เป็นหลกั ฐานสำคญั ตา่ ง ๆ ซงึ่ เป็นกำหนดตามกฎหมาย เชน่ ธนาณตั ิ, บัตร เครดติ , เชค็ ธนาคาร, ตว๋ั แลกเงนิ , หนังสือเดนิ ทาง, โฉนด เปน็ ตน้ สิ่งพิมพล์ กั ษณะพิเศษ เปน็ สอื่ สิ่งพิมพม์ ีการผลิตขนึ้ ตามลักษณะพิเศษแล้วแต่การใชง้ าน ได้แก่ นามบัตร, บัตรอวยพร, ปฎทิ นิ ,บัตร เชญิ ,ใบส่งของ,ใบเสร็จรับเงนิ ,ส่ิงพิมพบ์ นแก้ว ,ส่งิ พิมพบ์ นผ้า เปน็ ตน้ ส่ิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อส่ิงพมิ พ์ที่ผลิตขึน้ เพื่อใชง้ านในคอมพวิ เตอร์ หรือระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ไดแ้ ก่ Document Formats, E-book for Palm/PDA เป็นต้น

บทบาทของสอ่ื สิง่ พิมพ์ สื่อสงิ่ พิมพ์มบี ทบาท ดังต่อไปนี้ 1. บทบาทของส่ือสิ่งพิมพ์ในงานสือ่ มวลชน ส่อื สง่ิ พิมพม์ คี วามสำคญั ในดา้ นการนำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร สาระ และความบนั เทงิ ซึง่ เม่อื งานส่ือมวลชนตอ้ งเผยแพร่ จงึ ตอ้ งผลิตสอื่ ส่ิงพิมพ์ เชน่ หนังสอื พิมพ์, วารสาร, นิตยสาร เปน็ ตน้ 2. บทบาทของส่ือส่ิงพิมพใ์ นสถานศึกษา ส่ือสง่ิ พิมพ์ถูกนำไปใช้ในสถานศกึ ษาโดยทั่วไป ซงึ่ ทำให้ ผูเ้ รยี น ผู้สอนเข้าใจในเนื้อหามากข้ึน เช่น หนังสือ ตำรา แบบเรยี น แบบฝึกหดั สามารถพฒั นาได้เปน็ เน้อื หาใน ระบบ เครอื ข่ายอินเตอรเ์ น็ตได้ 3. บทบาทของสื่อสิง่ พิมพใ์ นงานดา้ นธรุ กิจ สื่อสงิ่ พมิ พ์ที่ถกู นำไปใช้ในงานธรุ กิจประเภทต่าง ๆ เช่น งาน โฆษณา ได้แก่ การผลิต หัวจดหมาย/ซองจดหมาย, ใบเสร็จรบั เงิน/ใบส่งของ, โฆษณาหนา้ เดียว, นามบัตร เปน็ ต้น 4. บทบาทของสื่อสง่ิ พิมพ์ในงานธนาคารงานด้านการธนาคาร ซง่ึ รวมถึง งานการเงิน และงานทีเ่ กย่ี วกับ หลกั ฐานทางกฎหมาย ได้นำส่ือส่ิงพิมพ์หลาย ๆ ประเภทมาใชใ้ นการดำเนินงาน เชน่ ใบนำฝาก, ใบถอน, ธนบตั ร, เช็คธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน และหนังสอื เดนิ ทาง 5. บทบาทของส่ือส่งิ พิมพ์ในหา้ งสรรพสินคา้ และร้านค้าปลกี สอ่ื ส่งิ พิมพ์ท่ีทางหา้ งสรรพสนิ ค้า หรือร้านคา้ ปลกี ใช้ในการดำเนินธุรกจิ ได้แก่ ใบปิดโฆษณาต่าง ๆ ใบปลิว, แผ่นพบั , จุลสาร

การสื่อสง่ิ พิมพ์ออกแบบและจดั หนา้ หลักการสร้างเอกสารสง่ิ พมิ พ์ ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. การระบุค่าตา่ ง ๆ ของโปรแกรม ได้แก่ คา่ กำหนดแถบไม้บรรทัด (Ruler) ว่าเปน็ นว้ิ , เซนติเมตรหรือ มิลลิเมตร และยังมกี ารกำหนดระยะกระโดด หรือท่เี รียกวา่ Tab ซ่ึงควรปรับแต่งค่าเหลา่ นี้ ก่อนการพิมพ์ให้เหมาะกับความถนัดและเหมาะกบั งานพิมพน์ น้ั จะ ช่วยให้การผลิตส่อื สิ่งพมิ พเ์ กดิ ความสะดวกรวดเร็ว และตรงกับความต้องการ 2. การกำหนดคา่ ของกระดาษ กระดาษแบ่งตามผิวได้ 2 ประเภทคอื 1. กระดาษไม่เคลือบผิว เป็นกระดาษทไ่ี ม่มีการเคลอื บของผิวกระดาษดว้ ยสารใด ๆ จะมลี ักษณะ เป็นผวิ ขุรขระ 2. กระดาษเคลือบผวิ เปน็ กระดาษท่ีมีการเคลือบผวิ ด้วยสารเคมีทผ่ี ิวกระดาษ เพือ่ ใหเ้ กิดความมนั และเรียบ ซงึ่ มาตรฐานสง่ิ พิมพ์ขององค์กรระหวา่ งประเทศว่าดว้ ยมาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization) แบง่ มาตรฐานกระดาษไว้ 3 ชุด ชดุ A และ B สำหรับงานพิมพ์ทัว่ ไป และชุด C สำหรบั งานซองจดหมาย ซง่ึ กระดาษจะมลี กั ษณะเป็นสเ่ี หล่ียมผืนผา้ สดั ส่วนความกวา้ งและความยาวอยู่ที่ 1 : 1.414 โดยประมาณ 3. การตั้งค่าเครือ่ งพิมพ์ ไดแ้ ก่ การต้ังระยะกนั้ หนา้ (Left Margin) การต้ังระยะก้นั หลงั (Right Margin) การตัง้ ระยะขอบบน (Top Margin) หรอื การต้ังระยะขอบลา่ ง (Bottom) เครื่องพิมพ์ แตล่ ะประเภท แตกตา่ งกัน หากไม่ได้กำหนดคา่ เคร่อื งพมิ พ์ งานพิมพ์ทีไ่ ด้อาจเสียระยะในการจดั พิมพ์ไวใ้ นเอกสาร ขั้นตอนการออกแบบส่ิงพมิ พ์ 1. เกบ็ รวบรวมข้อมูลของสิง่ พิมพ์ 2. สรุปลักษณะต่าง ๆ เช่น ประเภทสอื่ ส่งิ พิมพ์, ลักษณะกระดาษ 3. ออกแบบแนวคิดส่ือสง่ิ พิมพ์วา่ ต้องการให้ออกมาใหร้ ปู แบบใด 4. ทดลองทำและแก้ไขในสิง่ ท่ตี อ้ งการปรบั ปรงุ 5. พมิ พส์ อื่ ส่ิงพิมพ์

กระบวนการผลติ สือ่ สงิ่ พมิ พ์ 1. ภาพรวมในการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ การผลติ สือ่ ส่ิงพิมพ์ มุ่งการออกแบบส่ือสง่ิ พิมพใ์ ห้แสดงเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี อย่างโดดเดน่ โดยกำหนดส่ือส่งิ พิมพแ์ ต่ละประเภทให้มีขนาดและรปู แบบเฉพาะแบบเดียวกนั เพือ่ แสดง ถงึ เอกลกั ษณแ์ ละบูรณภาพ 2. บทบาทอาจารย์ นกั วัดผล นกั เทคโนโลยีการศึกษา และนกั ศกึ ษา ในการผลิตส่อื ส่งิ พิมพน์ ั้นต้องอาศัยความรว่ มมือและการประสานงานจากบุคคลหลายกลุ่มทเ่ี ก่ยี วข้อง จงึ จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ีจะต้องมีความเขา้ ใจและร่วมมือทดี่ ีต่อกนั ระหว่างกลุ่มบุคคลเหล่าน้ี ได้แก่ อาจารย์และ ผทู้ รงคณุ วุฒิ ซึง่ เป็นนักวิชาการดา้ นเนอ้ื หา เป็นผูเ้ ขยี นเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชาท่ีจะนำมาผลิตเปน็ ส่อื ส่งิ พิมพ์ นกั วดั ผลการศกึ ษา มีบทบาทร่วมกับนักวิชาการดา้ นเนื้อหาในการกำหนดวัตถุประสงค์การเรียน ออกแบบ ประเมินก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน และหลงั เรียน การจัดทำข้อสอบประเภทต่าง ๆ เพ่อื เป็นเคร่ืองมือใช้ใน การประเมินผลการศึกษา รวมไปถึงการวิเคราะหข์ ้อสอบและการสร้างคลงั ข้อสอบประจำวิชา นักเทคโนโลยกี ารศึกษา มีบทบาทในการออกแบบภาพประกอบและกราฟฟิคของสื่อสิง่ พิมพ์ นกั ศึกษา มีบทบาททสี่ ำคัญในการเรยี นรูแ้ ละร่วมทดสอบ ประเมินประสทิ ธภิ าพของสอื่ สิ่งพมิ พ์ โดยให้ ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกบั การใชส้ ่อื สิ่งพิมพ์ 3. อุปกรณ์การผลิต ในระยะแรกท่ีทางมหาวิทยาลยั ยังไม่มีโรงพิมพเ์ ปน็ ของตนเอง ส่อื สิ่งพิมพ์ทกุ ประเภทสามารถดำเนินการ ผลิตได้ท่ศี นู ย์บรรณสารและส่ือการศึกษา และอุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการออกแบบส่ิงพิมพ์ซ่ึง ได้แก่ เคร่ือง คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ต่อพ่วง อาทเิ ชน่ เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องพมิ พ์เลเซอร์ Zip Drive เป็นตน้ เครอ่ื งมอื เหลา่ นจี้ ะต้องเป็นเคร่ืองมือทที่ นั สมัยและมคี วามเร็ว 4. สภาพแวดล้อมในการผลิต ตามท่มี หาวทิ ยาลยั จัดตงั้ หน่วยผลิตและพฒั นาส่ือการศึกษา เพือ่ เปน็ หน่วยกลางในการผลิตสอ่ื มัลตมิ เี ดยี ทงั้ ส่อื ภาพ ส่ือเสียง สือ่ กราฟิก และสอื่ พมิ พ์ เพ่ือนำไปใช้ในระบบการศึกษาไร้พรมแดนและเพ่ือการ ปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอื่นในมหาวิทยาลยั งานผลติ สอ่ื สงิ่ พิมพส์ ามารถใชส้ ่งิ อำนวยความสะดวกของ หนว่ ยฯ นี้ได้ โดยสภาพแวดล้อมในดา้ นการผลติ สอ่ื สง่ิ พมิ พ์นั้นต้องให้มีความเหมาะสมในด้านบรรยากาศท่ี เอือ้ อำนวยต่อการออกแบบสื่อโดยมีอุณหภมู แิ ละแสงสวา่ งทีเ่ หมาะสม

ขั้นตอนการผลิตสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ ข้ันตอนในการผลติ สอื่ ส่ิงพิมพ์ มขี ั้นตอนหลัก 4 ขั้นตอนไดแ้ ก่ ขัน้ วางแผน ข้นั เตรยี มการ ข้ันผลิตและขนั้ ประเมนิ 1. ขั้นวางแผน ประกอบดว้ ยข้ันตอนต่อไปน้ี 1. แต่งตั้งกลุ่มผลติ รายวิชา ประกอบด้วย ประธาน บรรณาธิการ นักวิชาการดา้ นเนือ้ หา นักเทคโนโลยี การศกึ ษาและผู้จัดการหรือเลขานกุ าร 2. พิจารณาคัดเลอื กผเู้ ขยี นได้แก่ อาจารย์ และผทู้ รงคณุ วุฒิภายนอก เพือ่ เขียนเนอ้ื หาสาระส่อื ส่ิงพิมพ์แต่ละ รายวชิ า โดยพิจารณาจากคุณวุฒแิ ละประสบการณท์ ี่ตรงกับเนือ้ หาสาระที่จะเขยี นในรายวชิ าน้ันๆ แลว้ จึง เสนอชอ่ื ผเู้ ขียน โดยฝา่ ยเลขานกุ ารจะเป็นผจู้ ดั ทำรายละเอียดเก่ยี วกบั ประวตั ิและผลงานของทุกท่านเสนอ ไปยงั โครงการการศึกษาไร้พรมแดน เพื่อขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบริหารโครงการ นำเสนอ สภาวชิ าการเพื่อพิจารณาและอนมุ ัตติ ่อไป 3. เมอ่ื สภาวิชาการพจิ ารณาอนุมตั ิกลุ่มผลิตรายวชิ าแล้ว ประธานกลุ่มผลติ รายวิชาจะแจ้ง และมอบหมาย งานใหผ้ เู้ ขียนในแต่ละหน่วยไปพิจารณาและจัดทำรายละเอยี ด เกีย่ วกับการแบ่งหน่วยการสอนเปน็ ตอน และหวั เร่อื ง โดยผเู้ ขียนในแต่ละหนว่ ยจะไปจัดทำแผนผงั แนวคดิ ของแตล่ ะหนว่ ย แลว้ กำหนดชือ่ ตอน ชือ่ หัวเรอ่ื ง และหวั เร่อื งย่อย แล้วจงึ นำโครงร่างดงั กล่าวเสนอกลุ่มผลิตรายวิชาเพือ่ พจิ ารณา 4. กล่มุ ผลติ รายวิชาจะร่วมกนั พิจารณาชื่อตอนและหัวเรอ่ื งท่ีผู้เขียน แต่ละหนว่ ยเสนอมา โดยพิจารณาความ สอดคลอ้ งและความสมั พนั ธต์ อ่ เนือ่ งกัน ท้ังในหนว่ ยการสอนและระหว่างหน่วยการสอน เป็นการป้องกนั ความซำ้ ซ้อน ท่ีอาจเกิดข้ึน 5. กลมุ่ ผลติ รายวิชามปี ระธานเป็นผดู้ ูแลการผลิตชดุ วชิ านน้ั ประธานอาจเป็นบรรณาธกิ ารเอง หรือคัดเลือก บคุ คลทเี่ หมาะสมในกลุ่มผลิตมาเป็นบรรณาธกิ ารแทน ซงึ่ ผู้ท่ีเปน็ บรรณาธกิ ารน้ีจะตอ้ งเป็นบคุ คลทมี่ ีความ รอบรใู้ นเนอื้ หาสาระท้ังหมด คอยตรวจสอบความถูกตอ้ งของเนื้อหาสาระ ความถูกต้องของภาษาและ รูปแบบ ทง้ั ยงั ต้องคอยติดต่อประสานงานกบั ผเู้ ก่ียวข้องในการจดั พิมพ์ ดงั นั้นบรรณาธิการจะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ี มมี นษุ ย์สมั พันธท์ ดี่ ี มีความรับผดิ ชอบสงู เพอ่ื ให้ส่ือส่งิ พิมพ์มีมาตรฐานและเสรจ็ ทันเวลากำหนด 6. ในการเตรยี มเนื้อหาสาระทจ่ี ะจดั พมิ พ์ ผูเ้ ขียนแตล่ ะท่านจะใชโ้ ปรแกรม Microsoft Word ในการเขียน เน้ือหาแล้วเกบ็ บันทกึ ข้อมลู ลงในแผ่นดสิ ก์ในรปู แบบของ Word Document File โดยมีกำหนด ระยะเวลา ท่ีแน่นอนในการส่งตน้ ฉบับ (Hard Copy) ให้ผเู้ ขียนสง่ พร้อมแผน่ ดสิ กใ์ ห้แก่กลุ่มผลติ รายวชิ า เพอื่ ร่วมกันตรวจสอบ ความถูกตอ้ งของเน้ือหาวิชาที่เสนอ ความยากงา่ ย ความทันสมยั ของเนื้อหาและ ขอ้ มลู และความถกู ต้องของการใชภ้ าษา และศัพท์เฉพาะ ถ้ามขี อ้ ขัดแย้งหรือเกดิ ปญั หาในเรือ่ งความ ถูกต้องของเน้ือหา บรรณาธิการจะเปน็ ผตู้ ิดต่อประสานงานกับผเู้ ขียนหรือประธานกลุ่มผลิตรายวิชา

7. นกั วชิ าการการพมิ พจ์ ัดรูปหน้าสงิ่ พิมพ์โดยใชโ้ ปรแกรมจดั วางรปู หน้าชั้นสูงคอื โปรแกรม Adobe PageMaker ช่วยในการจดั การ โดยนักวชิ าการการพมิ พจ์ ะทำการเปล่ียนแปลง ตวั อักษรและรปู แบบจาก Word Document File ท่ีผเู้ ขยี นใช้เขียนต้นฉบับมาเปน็ PageMaker File แทน (PageMaker ใชก้ นั ทั่วไปในสำนักพมิ พ์ในเมอื งไทย) ถา้ สื่อส่งิ พมิ พ์ประเภทไหนหรอื เล่มใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้โปรแกรมจัดการ ชน้ั สงู ในการจดั ทำ Layout นกั วชิ าการการพิมพก์ จ็ ะใช้โปรแกรม Microsoft Word ของคอมพวิ เตอร์ ระบบพซี ี ซึ่งเปน็ Format เดียวกันกบั ทีผ่ ู้เขยี นจัดส่งมาให้ ท้ังนี้เพ่ือลดข้ันตอนในการผลติ และเพื่อความ สะดวกรวดเรว็ ในการจดั ทำ 8. เพ่ือให้สิ่งพมิ พม์ ีรูปแบบแสดงเอกลักษณ์โดดเดน่ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จงึ กำหนดการใช้ ขนาดของกระดาษปกให้เป็นกระดาษอารต์การ์ด นำ้ หนัก 210 กรัมต่อตารางเมตร ขนาด A4 (210 x 297 มลิ ลิเมตร) และกระดาษเนื้อในเป็นกระดาษปอนดข์ าว นำ้ หนกั 60 กรัมต่อตารางเมตร ขนาด A4 (210 x 297 มลิ ลเิ มตร) สว่ นตวั อักษรในสือ่ ส่งิ พิมพ์ทกุ ชนิดให้เป็นอักษร AngsanaUPC 2. ขน้ั เตรียมการ ในการเตรยี มการผลติ สอ่ื สง่ิ พิมพม์ หาวิทยาลัยต้องจัดตั้งศนู ย์หรือหนว่ ยงานผลิตสือ่ สง่ิ พิมพ์ขึน้ พร้อมทง้ั จัดหา บุคลากรท่ีมีความรคู้ วามชำนาญใน การออกแบบสอ่ื สิ่งพมิ พแ์ ละอปุ กรณใ์ นการออกแบบ เช่น เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ระบบพซี ี เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ระบบแมคอินทอช เครื่องสแกนเนอร์ เครอื่ งพิมพเ์ ลเซอร์ความเร็วสูง(ขาว/ดำ) และ Zip Drive รวมไปถึงการจัดหาอุปกรณ์ในการพมิ พ์ เชน่ กระดาษปก และกระดาษสำหรับพมิ พ์ เนอื้ หาสาระของ เอกสารแตล่ ะประเภท 3. ข้นั ผลิต เมอ่ื นักวิชาการการพมิ พไ์ ด้รับข้อมูลท่ีจะผลติ สอื่ ส่ิงพมิ พ์แต่ละประเภทจากบรรณาธิการ กจ็ ะจดั ทำ Layout ใหเ้ ป็น มาตรฐานตามแบบท่ที างมหาวิทยาลยั กำหนด นักวชิ าการการพมิ พ์จะทำการพิมพ์ Dummy ออกมาเพือ่ สง่ กลบั ไป ให้ผเู้ ขยี นและบรรณาธกิ ารได้ตรวจสอบเน้ือหาสาระและรปู แบบอกี คร้งั วา่ ตรงกับทผี่ ูเ้ ขียนตอ้ งการนำเสนอหรือไม่ ผ้เู ขียนและบรรณาธิการสามารถแก้ไขหรือเพิ่มเตมิ เน้ือหาสาระใน Dummy นน้ั ไดเ้ ลย แล้วส่งกลับไปยัง นกั วชิ าการการพิมพ์เพ่ือทำการปรับแต่ง จนกว่าจะเรียบร้อยสมบรู ณ์และไม่มีข้อผดิ พลาดใด ๆ เม่ือเน้ือหาที่จะ นำเสนอมคี วามถูกตอ้ งสมบูรณแ์ ลว้ นักวิชาการการพิมพ์กจ็ ะพิมพ์ออกมาอีกคร้งั เป็น ฉบับสมบณู ์เพ่ือส่งต่อไปที่ศูนย์ บรรณสารและสือ่ การศึกษาดำเนินการผลิตเป็นสง่ิ พิมพ์ตามจำนวนที่ตอ้ งการต่อไป 4. ขน้ั ประเมิน ในการประเมินคุณภาพของสื่อสง่ิ พิมพน์ ้ัน จำเปน็ ต้องได้รับความร่วมมือจากนักศึกษาทุกท่าน เพื่อใหไ้ ดร้ ับขอ้ มูลที่ สอบถามกลับมาและนำข้อมลู เหลา่ นน้ั มาปรบั ปรงุ แก้ไขสื่อส่ิงพิมพ์นัน้ ๆ ใหไ้ ดค้ ุณภาพตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด

การประเมนิ ผลสื่อสง่ิ พมิ พ์ 1. การทดลองใชจ้ รงิ เปน็ การนำสือ่ สง่ิ พิมพต์ ามทปี่ รับปรุงแลว้ ไปใช้ในการเรียนการสอนจริงและประเมนิ ผล โดยสอบถามจากนกั ศึกษาทกุ ภาคการศึกษา ข้อดขี องส่ือส่ิงพิมพ์ 1. มเี นอื้ ท่ีมีความหลากหลายเพียงพอท่จี ะใช้บรรจุเนอื้ หาสาระ ขอ้ ความภาพต่าง ๆ ไดต้ ามความม่งุ หมาย ของการประชาสมั พันธ์ 2. ดึงดดู ความสนใจ หรือความสะดวกในการหยบิ ใช้ 3. เขา้ ถงึ กลุ่มประชนชนเป้าหมายได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ อายุการใช้ งานนาน 4. ให้ข่าวสาร เน้ือหาสาระความรคู้ วามเขา้ ใจอยา่ งต่อเนื่องดว้ ย รูปแบบการนำเสนอตา่ ง ๆ กัน 5. เปน็ วิธกี ารเรยี นรู้ทด่ี ีที่สดุ วิธหี นึ่ง 6. สามารถอ่านไดต้ ามความสามารถของแตล่ ะบุคคลและสามารถนำตดิ ตวั ไปทกุ หนแหง่ 7. เหมาะสำหรบั การอา้ งองิ หรือทบทวน และสำหรับการผลติ เปน็ จำนวนมาก สะดวกในการแก้ไข ปรบั ปรุง เน้ือหาใหม่ 8. เป็นสือ่ มรี าคาถกู เม่อื ผลิตคร้ังละจำวนวนมากๆ คงทนและเกบ็ ได้เป็นเวลานาน ข้อเสยี ของสอ่ื ส่ิงพิมพ์ 1. ถ้าจะทำใหด้ ตี ้องเสียค่าใชจ้ ่ายสูง 2. ต้องอาศยั ความสามารถในการอ่าน น่นั คอื ประชาชนกลุ่มเป้าหมายจะต้องเปน็ ผทู้ ี่อ่านออกเขยี นได้ 3. หากตอ้ งการคุณภาพส่งิ พมิ พ์ท่ีมีคุณภาพดี ต้องใช้ตน้ ทนุ ท่ีสงู 4. บางครั้งต้องพิมพ์ใหม่เพื่อปรับปรุงข้อมลู ท่ีล้าสมัย 5. ตอ้ งอาศัยความสามารถในการอ่าน เพราะผทู้ ไ่ี ม่รู้หนังสอื ไม่สามารถอา่ นใหเ้ ข้าใจได้ คณุ คา่ ของส่อื สิ่งพิมพ์ 1. ใช้ประกอบคำบรรยายในการสอน 2. ชว่ ยเปน็ แนวทางในการกำหนดเนอ้ื หาในรูปแบบเดยี วกัน 3. ช่วยใหผ้ ู้เรียนศึกษาคน้ คว้าได้ตลอดเวลาท่ตี ้องการและใชเ้ ปน็ หลักฐานทางวชิ าการ 4. เปน็ สอ่ื พื้นฐานทางดา้ นการเรียนการสอน 5. ใช้เป็นส่อื เพ่ือการเผยแพรโ่ ฆษณาประชาสมั พนั ธ์

ประเภทของส่อื สิง่ พิมพ์ ในปัจจุบันมีวธิ กี ารพมิ พ์อย่หู ลายวธิ ดี ว้ ยกัน แต่เป็นท่นี ยิ มกันมากได้แก่ 1. การพิมพโ์ ดยแม่พิมพ์ร่องลกึ (Intaglio Printing) 2. การพิมพโ์ ดยแม่พิมพ์พนื้ แบน (Planographic printing) 3. การพมิ พ์โดยแม่พมิ พน์ ูน (Relief Printing) 4. การพมิ พโ์ ดยแม่พิมพ์ลายฉลุ (Screen-Process Printing) 5. การพมิ พด์ ้วยแสงโดยวิธกี ารถ่ายเอกสาร (Photographic Printing) 6. ระบบโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพอ่ื ใช้ในการพิมพ์ การพมิ พโ์ ดยแม่พิมพร์ ่องลึก (Intaglio Printing) วธิ ีการพิมพ์แบบนี้ จะทำแม่พิมพโ์ ดยการกัดแบบใหเ้ ป็นร่องลงไปในแม่พมิ พ์ สว่ นทเี่ ปน็ ผวิ เรียบด้านหน้าใช้น้ำยา เคลอื บผวิ เพ่ือกันหมึกไหลมาเกาะ เม่ือนำหมึกทางลงบนแมพ่ มิ พ์ หมกึ จะลงไปขังในร่องทีก่ ดั ไว้ หลังจากนนั้ นำ กระดาษที่ต้องการพิมพ์วางทับบน แม่พมิ พ์ หมึกกจ็ ะติดออกมาตามต้องการ งานพิมพป์ ระเภทนเ้ี ป็นชนิดทีม่ ี คณุ ภาพยอดเยี่ยม ตวั พมิ พจ์ ะนูนทั้ง ภาพลายเสน้ และ ตัวหนงั สอื นยิ มใช้พิมพเ์ อกสารสำคัญเพ่ือป้องกนั การปลอม แปลงหรือทำเลยี นแบบ การพมิ พโ์ ดยแมพ่ ิมพ์พื้นแบน (planographic Printing) แม่พิมพช์ นดิ น้ีจะมีลักษณะเป็นแผน่ แบน (Plate)การพิมพ์จะอาศัยหลกั การทางเคมี คือ เมอื่ จัดทำภาพบนแผน่ โลหะแบนแล้ว คณุ สมบัตทิ ่ตี ้องการคอื เมอื่ ทาหมึกลงบนแผ่นนัน้ ส่วนทเี่ ป็นภาพจะดดู หมกึ ไว้ ส่วนท่ไี ม่มีภาพคอื ไม่ ต้องการพิมพจ์ ะไม่ดูดหมึก เม่ือนำไปกดทบั กระดาษหมึกก็จะติดบนกระดาษเปน็ ภาพท่ตี ้องการได้ การพิมพ์แบบนี้ เป็นท่ีนยิ มมากเรียกวา่ ระบบออฟเซท (Offset) เหมาะสำหรบการพิมพ์ตัวหนงั สือและภาพหลายเส้น ลงบน แผ่นกระดาษ แผ่นโลหะ หรอื ผ้าก็ได้ การพิมพ์ออฟเซท (offset Printing) การพมิ พ์ออฟเซทเปน็ วิธกี ารพิมพ์แบบพ้นื แบนอกี วธิ ีหนึ่งท่ีใชแ้ ม่พมิ พ์ทำดว้ ยแผ่นโลหะอลูมิเนยี มหรือเป็นแผ่น สังกะสี หรอื อาจทำจากกระดาษ หรอื เป็นแผ่นพลาสติกก็ได้ การเลือกใช้แผน่ แม่พิมพช์ นิดใดนั้น ขึ้นอยู่กับจำนวน ในการพิมพ์ แมพ่ ิมพ์โลหะ สามารถพิมพ์ไดเ้ ปน็ จำนวนมากเปน็ หมน่ื ๆ แผน่ (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ 2523 : 198) การ พมิ พแ์ บบออฟเซทมีลกั ษณะที่พิเศษแตกตา่ ง จากวธิ กี ารอ่ืน คอื มีลกู โมทรงกระบอกอย่างนอ้ ย 3 ลกู ทำหน้าทีด่ งั น้ี

1. ลูกโมใช้หุ้มแผน่ แม่พิมพ์ อาจเปน็ แผน่ โลหะหรอื กระดาษกไ็ ด้ เรยี กวา่ โมแมพ่ ิมพ์ (Plate Cylinder) ลกู โม แม่พิมพ์ จะมลี กั ษณะกลมเหมือนท่อโลหะขนาดใหญ่ มีขอเกี่ยวแผ่นแมพ่ ิมพห์ รือเพลทใหต้ รงึ แน่นไม่ เคล่ือนท่ตี ดิ กับ ลูกดม เพราะแผ่นเพลท จะต้องถูกบั ลูกกล้งิ หมกึ และลูกกลิ้งน้ำอย่ตู ลอดเวลา ถา้ เคลอ่ื นที่ เพียงเลก็ น้อย ตำแหน่งของภาพจะ เคลื่อนไปจะมีปัญหากับการพิมพ์ สอดสีหรือการพมิ พห์ ลายเพลท 2. ทำหนา้ ทร่ี บั ภาพจากแผน่ แม่พิมพ์ เรียกวา่ ลูกโมยาง (Blanket Cylinder) 3. ทำหน้าท่ีกดกระดาษให้แนบกับลกู โมยาง เพื่อใหห้ มึกติดเป็นภาพลงบนกระดาษ (Impression cylinder) การพมิ พโ์ ดยแมพ่ มิ พ์นูน (Relief Printing) การพิมพว์ ิธนี ีเ้ ป็นการแกะหรือกัดบล็อค หรอื การใชต้ วั อักษรหล่อเปน็ ตวั นูน เมือ่ นำหมึกทาลงบนหนา้ ของบล็อค แลว้ นำไปกดทับบนกระดาษก็จะไดภ้ าพบนกระดาษนนั้ แม่พมิ พไ์ ม่ว่าจะเป็นภาพหรือตัวอกั ษรจะต้องกลบั ซ้ายขวา เพราะการพิมพจ์ ะเหมือนกบั การกดด้วยตรายาง ภาพจะกลบั เปน็ จริงบนกระดาษ แม่พิมพ์อาจทำได้หลายวิธี เชน่ การแกะด้วยมือ การหล่อหรือจะใช้วิธกี ารแกะบลอ็ คก็ได้ โดยเฉพาะแม่พิมพ์เป็นภาพจากภาพถ่าย สำหรบั วธิ ีการ หลอ่ สว่ นมาก จะหล่อเป็นตวั อักษรนำมาเรยี ง เรยี กว่า ตัวเรียงพมิ พ์ (Letter press) จงึ เรยี กว่าการพิมพ์แบบตวั เรยี ง (Letter Press Printing) การพิมพ์โดยแม่พิมพล์ ายฉลุ (Screen-Process printing) การพมิ พว์ ิธนี ี้ เป็นวิธีพมิ พ์ทใี่ ช้หลักการง่ายๆ คือ การใชแ้ ม่พมิ พ์ทที่ ำดว้ ยผา้ บาง ๆ แตม่ ีความเหนียว โดยมีจุด ประสงค์ว่าถ้าบริเวณใดท่ีไม่ต้องการใหห้ มกึ ผ่านกบ็ ังสว่ นนนั้ เมื่อทำการพิมพจ์ ะวางแมพ่ ิมพท์ ับบนกระดาษและ ปาดหมึกลง บนแม่พิมพท์ ่วี างทบั อยูน่ นั้ ส่วนทเ่ี ปิดไว้หมึกก็จะไมส่ ามารพผ่านลงไปตดิ กระดาษได้ ส่วนที่ไม่ได้ปดิ ไว้ หมกึ กจ็ ะลงไปติดกระดาษ ท่ีรองอยู่ดา้ นลา่ ง ทำให้ไดภ้ าพตามทตี่ ้องการ การสรา้ งแม่พมิ พล์ ายฉลมุ ี 3 วิธีคอื 1. การฉลดุ ว้ ยมือ (Hand Cut Stencil) 2. การใชว้ ิธกี ารถา่ ยภาพ (Photo Stencil) 3. การใชเ้ ครื่องปรไุ ขอิเล็คโทรนิคส์ การพิมพด์ ้วยแสงโดยวิธกี ารถ่ายเอกสาร ในปจั จุบันเครื่องถา่ ยเอกสารนับวา่ เป็นส่ิงจำเปน็ อย่างหน่งึ ในการดำเนนิ งาน ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นธุรกิจ ดา้ นการตดิ ต่อ งาน หรอื ทางด้านการศึกษา หลกั การอย่างง่าย ๆ ในการทำงานของเคร่ืองถา่ ยเอกสาร เปน็ ลำดับข้ันตอนดงั น้ี 1. แสงสวา่ งจากหลดไฟสอ่ งไปกระทบกบั ต้นฉบับและสะท้อนภาพไปยงั Drum 2. เกิดไฟฟ้าสถิตบนผวิ Drum บริเวณทไ่ี ม่ไดร้ บั แสงสะท้อนทเ่ี ปน็ ภาพ 3. ผงแม่เหล็กที่อยู่ในกลอ่ งรวมกับผงหมกึ ถูกสง่ ออกมาเกาะที่ผวิ Drum เฉพาะบรเิ วณทเี่ ป็นภาพ 4. แผ่นกระดาษเคล่ือนท่ผี า่ น

5. เกดิ ประจุท่ีมีกำลังสูงกวา่ บนเส้นลวดใตแ้ ผ่นกระดาษท่กี ำลังเคลอื่ นที่ การเคลื่อนทข่ี องกระดาษจะ สัมพันธก์ ับ Drum 6. ผงเหลก็ จะพาผงหมึกลงมาท่ีกระดาษ ทีจ่ ริงแลว้ จะมาทเ่ี ส้นลวดแตม่ กี ระดาษ ขวางอยผู่ งจงึ ติดอยู่ บน กระดาษ ภาพจงึ มาปรากฏบนกระดาษเพราะมผี งหมกึ ท่ีถูกดดู ลงมาตามลกั ษณะของภาพ 7. กระดาษที่มภี าพปรากฏ เคล่ือนที่ผ่านลูกกลง้ิ ความร้อนและอดั ให้ผงหมกึ ละลายตดิ แน่นเปน็ ภาพท่คี ง ทน ตามตอ้ งการ ระบบโปรแกรมคอมพวิ เตอร์เพือ่ ใช้ในการพมิ พ์ การศกึ ษาในปัจจุบัน ผเู้ รยี นต้องมีความรูท้ างด้านคอมพวิ เตอร์อยา่ งน้อยควรเป็นขน้ั พืน้ ฐาน การใช้งานส่วน มาก เนน้ ไปท่ีการพิมพร์ ายงาน เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลงานการพิมพท์ คี่ ุณภาพดี เรามักใชโ้ ปรแกรม Winword บน Windows สำหรบั เคร่ือง PC ใชง้ านทวั่ ไป เนอื่ งจากมแี บบตัวอักษรท่ีสวยงามหลายรูปแบบ ผู้สนใจควรศกึ ษาโปรแกรม เหล่านนั้ และ ฝึกหดั ใหบ้ ่อย ๆ เพ่ือให้เกดิ ความคล่องตวั ในการใชง้ าน การที่จะใชโ้ ปรแกรมอนื่ ก็ได้เพราะโปรแกรม กราฟฟกิ จะมสี ่วนของ การพิมพ์ตัวอักษรอย่แู ลว้ ถ้าหากมีความรู้ทางดา้ นโปรแกรมราชวิธี (RW) หรือ จฬุ า (CW) กใ็ ชง้ านไดเ้ ชน่ เดียวกนั แตต่ วั เลอื กทีจ่ ะใช้อักษรแบบตา่ ง ๆ มีน้อย แต่กใ็ ชง้ านไม่ยุ่งยากซบั ซอ้ น อุปกรณป์ ระกอบ ทส่ี ำคัญคือ เคร่ืองพิมพ์ทใี่ ช้ร่วมกบั คอมพิวเตอร์นั่งเอง เคร่ืองพิมพ์ทนี่ ยิ มใชก้ ันในปัจจุบันมีดงั น้ี เครื่องพิมพ์แบบ Dot Matrix เปน็ เครอ่ื งพิมพใ์ ช้ระบบการกระแทก โดยใชห้ วั เขม็ ขนาดเล็กซงึ่ มีอยู่ 2 ชนิดคือถา้ เป็นเครื่องพิมพ์ขนาดเล็กจะมี 9 หัวเขม็ และขนาดใหญท่ ี่มคี วามละเอียดสงู จะมี 24 หัวเข็ม การทำงานเป็นไปตามคำส่งั ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หวั เขม้ จะ กระแทกผ่านผ้าหมึกพิมพเ์ ชน่ เดยี วกบั เครือ่ งพมิ พด์ ดี ตัวอกั ษรก็จะไปตดิ บนกระดาษ และฉบับที่พิมพ์น้ีไป ทำสำเนา จำนวน มากด้วยเครือ่ งพิมพ์ระบบดิจิตอลหรือถ่ายเอกสารได้เลย แต่ถา้ หากจะนำไปพิมพ์สำเนาในระบบ โรเนยี วให้พิมพ์ลงบน กระดาษ ไขโดยนำผา้ พมิ พ์ออก และให้หัวเขม็ กระแทกเจาะลงบนกระดาษไขเช่นเดียวกับ การพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพด์ ีดเคร่ืองพมิ พ์ ประเภทน้ีมีความจำเป็นในการพิมพท์ ต่ี ้องสำเนาด้วยคารบ์ อน 2 - 3 ช้ัน เชน่ การพิมพ์ใบเสรจ็ รบั เงิน เป็นต้น เครอื่ งพิมพ์แบบ Inkjet เปน็ เคร่ืองพมิ พท์ ่ีทำงานตามคำสง่ั ของคอมพิวเตอร์ โดยวิธกี ารพ่นหมกึ โดยตรงลงบนกระดาษโดยหวั พมิ พ์ จะ บรรจหุ มกึ เปน็ แบบ Ink Cartridgeการพ่นหมึกออกมาน้ีมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบใชค้ วามรอ้ น (heating/cooling (thermal) inkjet method) ซึ่งใช้อยใู่ นเครือ่ ง Canon , HP และ lenmark สว่ นแบบท่ี 2 เป็นแบบ mechanical method เครื่อง Epson ใชร้ ะบบนี้ การพมิ พ์ระบบองิ ค์เจ็ตในปจั จบุ นั ไดค้ ุรภาพท่ดี ีมากทงั้ นีข้ ้ึนอยุ่กับคุณภาพของ กระดาษ ทีน่ ำมาใชพ้ มิ พ์ เนอ่ื งจากหมกึ พมิ พ์จำเปน็ ต้องการกระดาษทซ่ี ึมซบั หมึกได้ง่ายและรวดเร็ว ไมเ่ ช่นน้นั จะ ใหเ้ ลอะไดง้ า่ ยอกี ประการหนึ่งจำเปน็ ตอ้ งปรบั ไดรแอรใ์ ห้เหมาะสมกับการพิมพื เพราะถ้าหากเคร่ืองพิมพ์ทำงาน ผดิ พลาดตวั อกั ษรหรอื รูปภาพ จะเกิดอาการสั่นหรือ ภาพส่ายเป็นคลน่ื ความเร็วในการพิมพ์จะประมาณ 1 - 2

แผ่นต่อนาที การใชเ้ ครื่องพิมพป์ ระเภทนีจ้ งึ เหมาะกบั การทำตน้ ฉบับ จำนวนนอ้ ย และนำไปสำเนาด้วย เครื่องพิมพ์ระบบดิจิตอลหรือนำไปถา่ ย ทำเพลทออฟเวทไดโ้ ดยตรง เลเซอร์ (Laser Printer) เคร่อื งพมิ พแ์ บบเลเซอร์เปน็ การทำงานโดยใช้ Photo sensitive drum ในการทำงานเพื่อให้เกดิ รปู ภาพหรือ ตัวอกั ษร ซึ่งมลี ักษณะการทำงานคลา้ ยคลงึ กบั เครื่องถา่ ยเอกสารมาก จะแตกตา่ งกนั ตรงทข่ี อ้ มูลของเครื่องถา่ ย เอกสารจะ เปน็ แผน่ ภาพหรือตัวอกั ษรทต่ี ้องการทำสำเนาลงบนกระดาษอีกแผ่นหนง่ึ ให้เหมือนกับตน้ ฉบับเดิม สว่ นการพิมพ์ดว้ ยเลเซอร์ เป็น การถา่ ยโอนข้อมูลท่เี ก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพวิ เตอร์ โดยเมือ่ ต้องการพิมพ์ โปรแกรมการพมิ พ์ก็จะสง่ ข้อมูลไปยงั เคร่ืองโดยใช้ Page Description Language เครื่องพิมพ์ก็จะประมวลผลที ละหน้าและเกบ็ ไวใ้ นหนว่ ยความจำของเครื่อง พิมพ์ หลังจากน้นั จะเกดิ การ Modulation ทำใหล้ ำแสงสะท้อนผ่าน กระจกเงาท่ีกำลงั หมุนสัมพนั ธก์ ับดรมั ทเี่ คลือบด้วยวัสดุ ไวแสงหมุนไปพร้อม ๆ กัน แสงเลเซอร์จะกวาดไปบน สแกนไลน์ (Scan Line) ทำให้เกดิ จุดไฟฟ้าสถิตเล็ก ๆ ข้ึนบนผิวดรมั ในขณะเดยี วกนั ดรัมกจ็ ะดูดเอาโทนเนอร์ท่ีมี ประจไุ ฟฟา้ อย่ตดิ ขน้ึ มาตามคำส่ังภาพหรืออักษรนนั้ เมื่อกระดาษผ่านเขา้ มากจ็ ะดูด เอาผงหมึกลงมาเกาะติดและ ผ่านกระบวนการความร้อนเพื่อให้เกิดการหลอมละลายติดบนกระดาษ ผลของการพิมพ์ทไ่ี ด้ สามารพนำไปเป็น ตน้ ฉบบั ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั เคร่อื งพิมพ์อิงค์เจต การพมิ พด์ ว้ ยเครอ่ื ง เลเซอร์จะมี ความเร็วสูงกวา่ องิ ค์เจตมาก โดยประมาณ 4-20 แผ่นต่อนาที ทงั้ น้ขี น้ึ อย่กู บั ขดี ความสามารพของเครอ่ื งพิมพ์

บรรณานุกรม อ้างอิงขอ้ มูลจาก... https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-5/printing_media/06.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook