Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาเซียนศึกษา ม.ปลาย (pdf)สมบูรณ์

อาเซียนศึกษา ม.ปลาย (pdf)สมบูรณ์

Published by charinya5130, 2021-08-18 08:12:41

Description: อาเซียนศึกษา ม.ปลาย (pdf)สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

อาเซยี นศึกษา สค02015 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่งุ ชา้ ง

● อาเซยี นศกึ ษา ● รหสั สค02015 ● ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ● จานวน 3 หนว่ ยกติ (120 ชว่ั โมง) ● ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ความเปน็ มา และวตั ถปุ ระสงคใ์ นการกอ่ ตง้ั อาเซยี น ● ความเปน็ มาของอาเซยี น อาเซียน หรอื สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) เป็นองคก์ รระหว่างประเทศระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ มี จุดเริม่ ต้น โดยประเทศไทย มาเลเซยี และฟลิ ิปปินส์ได้รว่ มกนั จดั ตง้ั สมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึน้ เมอื่ เดอื น กรกฏาคม พ.ศ. 2504 เพ่อื การรว่ มมอื กนั ทาง เศรษฐกจิ สงั คมและ วัฒนธรรม แต่ดาเนนิ การได้เพียง 2 ปี ก็ ต้องหยุดชะงกั ลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่าง ประเทศอนิ โดนีเซยี และประเทศมาเลเซยี จนเม่อื มกี าร ฟน้ื ฟูสมั พันธภาพระหวา่ งประเทศข้ึน จงึ ได้มกี าร แสวงหาลูท่ างจดั ต้ังองคก์ ารความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจขน้ึ ในภูมิภาค ● สมาคมประชาชาติแหง่ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ จงึ ก่อต้ังข้นึ เมือ่ วนั ท่ี 8 สงิ หาคม 2510

ภาพแผนท่แี สดงประเทศสมาชิกในภมู ิภาคอาเชยี น 10 ประเทศ

สัญลักษณ์ของอาเซียน สญั ลักษณ์ของอาเซยี น คือ รปู รวงขา้ ว สเี หลอื งบนพ้นื สแี ดง ลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสขี าว สนี า้ เงิน โดยมคี วามหมายดังนี้ - ตน้ ข้าว 10 ต้น หมายถงึ ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ - สเี หลือง หมายถึง ความเจรญิ ร่งุ เรอื ง - สแี ดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมพี ลวตั ิ - สขี าว หมายถึง ความบริสทุ ธิ์ - สีน้าเงนิ หมายถงึ สันตภิ าพ เเละความม่นั คง

วตั ถุประสงค์หลักท่ี กาหนดไว้ในปฏญิ ญาอาเซยี น (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดงั น้ี 1. สง่ เสริมความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ ความกา้ วหน้าทางสงั คมและวัฒนธรรม 2. ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สนั ตภิ าพและความม่ันคงของภมู ิภาค 3. ส่งเสริมความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วทิ ยาศาสตร์ และดา้ นการบริหาร 4. ส่งเสรมิ ความร่วมมือซง่ึ กันและกนั ในการฝึกอบรมและการวจิ ัย 5. ส่งเสรมิ ความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรบั ปรุงมาตรฐานการดารงชวี ิต 6. สง่ เสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 7. ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื กบั องค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหวา่ งประเทศ —Someone Famous

ประเทศสมาชกิ อาเซยี นในปัจจบุ นั ประเทศในภมู ิภาคเอเซียนตะวนั ออกเฉยี งใต้ จานวน 10 ประเทศ มีประชากรรวมประมาณ 601 ล้านคน (ปี 2553) ประเทศสมาชกิ ประกอบดว้ ยสมาชิกประเทศดงั นี้ 01 สมาชกิ อาเซียนเดมิ 6 ประเทศ (ASEAN 6) ไดแ้ ก่ สมาชกิ ก่อต้ัง ตง้ั แตป่ ี 2510 จานวน 5 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซยี สงิ คโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และประเทศ ซ่งึ เข้ามาเป็นสมาชกิ เม่ือปี 2527 คอื บรูไน สมาชกิ อาเซียนใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) ไดแ้ ก่ เวียดนาม เข้ามาเป็นสมาชกิ เมื่อ ปี 2538 พม่า ลาว เขา้ มาเป็นสมาชิก เมื่อปี 2540 และ กมั พูชา เขา้ มาเปน็ สมาชกิ เมอ่ื ปี 2542

(1) ราชอาณาจกั รไทย (Kingdom of Thailand) ตง้ั อยู่บนคาบสมทุ รอนิ โดจีน ภมู ิภาคตะวันออกเฉยี งใต้ ทศิ ตะวันออกติดกบั ประเทศลาวและกมั พชู า ทิศใต้ ติดกบั อา่ วไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวนั ตก ตดิ กับทะเลอนั ดามันและประเทศพมา่ ทิศเหนอื ติดกบั ประเทศ พม่าและลาว พ้ืนท่ี 513,120 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดบั ที่ 50 ของโลก เมอื งหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok) ประชากร ประมาณ 67 ล้านคน (ปี 2553) เปน็ อันดบั ที่ 19 ของโลก ภาษาท่ใี ช้ ภาษาไทย เป็นภาษาราชการ ศาสนา ประมาณรอ้ ยละ 95 นบั ถอื ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามประมาณร้อยละ 4 ศาสนาครสิ ตแ์ ละศาสนาอ่ืนประมาณรอ้ ยละ 1 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยผ่านระบบรัฐสภา โดยมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ประมขุ พระมหากษตั รยิ ์ องคป์ ัจจุบนั คือ รชั กาลท่ี 10 แหง่ ราชวงคจ์ กั รี ผนู้ ารัฐบาล นายกรฐั มนตรี ดารงตาแหน่งวาระละ 4 ปี หน่วยเงินตรา บาท (Baht ) 1 ดอลลารส์ หรัฐฯ ประมาณ 29.37 บาท

(2) มาเลซยี (Malaysia) ตง้ั อยู่ในเขตเสน้ ศนู ย์สูตร ประกอบดว้ ยดินแดนสองสว่ น คือ มาเลเซยี ตะวันตก ตัง้ อย่บู นคาบสมทุ รมลายู ทิศเหนอื ติดกบั ประเทศไทย และ ทศิ ใต้ตดิ กบั สงิ คโปร์ มาเลเซยี ตะวันออก ตั้งอยบู่ นเกาะบอรเ์ นยี ว (กาลมิ ันตัน) ทศิ ใต้ติดประเทศ อินโดนเี ซีย และมดี นิ แดนล้อมรอบประเทศบรไู น พ้นื ท่ี 330,803 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดับที่ 66 ของโลก เมอื งหลวง กรุงกัวลาลมั เปอร์ (Kuala Lumpur) ประชากร ประมาณ 27.6 ล้านคน (ปี 2553) เปน็ อันดับที่ 44 ของโลก ภาษาท่ใี ช้ ภาษามาเลย์ เปน็ ภาษาราชการ ศาสนา อสิ ลาม ร้อยละ 60 พทุ ธ ร้อยละ 19 และคริสต์ รอ้ ยละ 12 การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยในระบบรฐั สภา ประมขุ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี เจา้ ผ้ปู กครองรัฐผลัดเปล่ียนกันข้ึ นดารงตาแหน่ง วาระละ 5 ปี ผ้นู ารฐั บาล นายกรัฐมนตรี หนว่ ยเงินตรา รงิ กิต (1 ริงกติ ประมาณ 10.22 บาท )

(3) สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี (Republic of Indonesia) ต้ังอยบู่ นเส้นทางเช่ือมตอ่ ระหว่างมหาสมุทรแปซิฟกิ กบั มหาสมทุ รอนิ เดีย ทศิ เหนอื ตดิ ทะเลจนี ใต้และมหาสมทุ รแปซฟิ ิ ก ทิศตะวันตกเฉียงใต้ตดิ มหาสมทุ ร อินเดยี ทิศตะวนั ออกตดิ ตมิ อร์-เลสเต และปาปัวนวิ กินี และทิศใตต้ ิดทะเลติมอร์ เป็ นสะพานเชอ่ื มระหวา่ งทวีปเอเซยี กบั ออสเตรเลีย จึงควบคมุ เส้นทางตดิ ต่อ ระหวา่ งมหาสมุทรท้ั งสองผา่ นช่องแคบที่สาคญั เชน่ ชอ่ งแคบมะละกา ชอ่ งแคบ ซุนดา และช่องแคบล็อมบอก พื้นที่เปน็ ประเทศหมู่เกาะทใ่ี หญ่ทสี่ ุดในโลก ประกอบดว้ ยเกาะมากกวา่ 17,508 เกาะ รวมพื้นท่ปี ระมาณ 1,910,931 ตาราง กโิ ลเมตร เปน็ อันดบั ที่ 16 ของโลก เมอื งหลวง กรงุ จาการต์ า (Jakarta) ประชากร ประมาณ 237.5 ลา้ นคน (ปี 2553) เปน็ อันดับท่ี 4 ของโลก ภาษา อินโดนเี ซีย หรอื Bahasa Indonesia เป็นภาษาราชการ ศาสนา ชาวอนิ โดนีเซียร้อยละ 85.2 นับถอื ศาสนาอสิ ลาม นอกนั้ นเปน็ คริสต์นกิ ายโปร แตสแตน ครสิ ต์นิกาย โรมนั คาทอลกิ ฮนิ ดู พุทธ และศาสนาอน่ื ๆ การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย ประมขุ ประธานาธบิ ดี ผู้นารัฐบาล ประธานาธบิ ดี หน่วยเงนิ ตรา รเู ปียห์ (10,000 รูเปียห์ ประมาณ 38 บาท)

(4) สาธารณรฐั สงิ คโปร์ (Republic of Singapore) ที่ตั้ง เป็นเกาะตง้ั อยทู่ างตอนใต้ของคาบสมุทรมาเลย์ ห่างจากคาบสมทุ รประมาณ 137 กโิ ลเมตร ทศิ เหนือติดกบั รฐั ยะโฮร์ ของประเทศมาเลเซีย ทศิ ตะวนั ออกตดิ ทะเล จีนใต้ ทิศตะวันตกตดิ มาเลเซยี และช่องแคบมะละกา ทิศใต้ตดิ ช่องแคบมะ ละกา อยูท่ างเหนือของเกาะเรยี ล(Riau) ของอินโดนีเซยี พื้นท่ี ประกอบดว้ ยเกาะสิงคโปรแ์ ละเกาะใหญ่นอ้ ยบริเวณใกล้เคียง มพี ้ืนท่ีรวม 710.2 ตารางกิโลเมตร (ประมาณเท่าเกาะ ภเู ก็ต) เป็นอันดบั ที่ 188 ของโลก เมืองหลวง สิงคโปร์ (Singapore) ประชากร ประมาณ 5 ลา้ นคน (ปี 2553) เป็น อนั ดับที่ 115 ของโลก ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย์ จีนกลาง และอังกฤษ สงิ คโปร์สนับสนนุ ให้ ประชาชนพูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ใช้ภาษาองั กฤษในการตดิ ต่อ งานและชวี ิตประจาวนั ศาสนา พทุ ธรอ้ ยละ 42.5 อิสลามรอ้ ยละ 14.9 ฮนิ ดูรอ้ ยละ 4 ไม่นับถือศาสนาร้อยละ 25 ประมขุ ประธานาธบิ ดี (วาระ 6 ปี) ผูน้ ารฐั บาล นายกรัฐมนตรเี ปน็ ผู้นารัฐบาล (วาระ 5 ป)ี การปกครอง สาธารณรฐั (ประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา มีสภาเดยี ว) สกุลเงิน ดอลลารส์ ิงคโปร์ ( Singapore Dollar : SGD ) 1 SGD ประมาณ 23.47 บาท

(5) รฐั บรไู นดารสุ ซาลาม (State of Brunei Darussalam) ต้ังอย่ทู างตะวนั ตกเฉียงเหนอื ของเกาะบอร์เนียว (ละติจดู ท่ี 5 เหนอื เสน้ ศูนย์สูตร) ในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ชายฝ่ังทางด้านเหนอื จรดทะเลจนี ใต้ พรมแดน ทางบกทีเ่ หลอื จากน้ั นถกู ลอ้ มรอบด้วย รฐั ซาราวัก ประเทศมาเลเซยี พ้ืนที่ 5,765 ตารางกโิ ลเมตร เป็นอันดบั ท่ี 171 ของโลก เมืองหลวง บันดารเ์ สรเี บกาวัน (Bandar Seri Begawan) ประชากร ประมาณ 399,000 คน (ปี 2553) เป็นอนั ดับท่ี 172 ของโลก ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย์ รองลงมาเป็นภาษาองั กฤษและจนี ศาสนา ส่วนใหญน่ ับศาสนาอิสลามนิกายสุหน่ี 67% รองลงมาเปน็ ศาสนาพุทธนิกาย มหายาน 13% ศาสนาครสิ ต์ 10% ศาสนา ฮินดู ความเช่ือพื้นเมืองและอื่นๆ การปกครอง ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ รัฐธรรมนูญปจั จุบนั ซง่ึ แก้ไขลา่ สดุ เม่อื 1 มกราคม พ.ศ. 2527 กาหนดใหส้ ุลต่าน ทรงเปน็ อธปิ ตั ย์ คือเป็นท้งั ประมุข นายกรฐั มนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะตอ้ งเปน็ ชาว บรูไนเชอ้ื สาย มาเลยโ์ ดยกาเนดิ และจะตอ้ งเปน็ มุสลมิ นิกายสุหนี่ ประมุข และนายกรฐั มนตรี ผ้นู ารัฐบาล สกุลเงนิ ดอลลารบ์ รูไน ( Brunei Dollar : BND ) 1 BND ประมาณ 23.47 บาท (ใช้ อตั รา แลกเปลย่ี นเดียวกบั สิงคโปร์ และสามารถใชเ้ งนิ สิงคโปรใ์ นบรูไนได้โดยทว่ั ไป)

(6) สาธารณรฐั ฟิ ลปิ ปิ นส์ (Republic of Philippines) ทีต่ ัง้ เป็นประเทศหมู่เกาะ ประกอบดว้ ยเกาะจานวน 7,107 เกาะ ตงั้ อยู่ในมหาสมุทร แปซิฟกิ ห่างจากเอเชยี แผน่ ดนิ ใหญ่ทาง ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ประมาณ 100 กม.และ เปน็ ประเทศทม่ี ีพรมแดนทางทะเลท่ีตดิ ต่อระหว่างกันยาวมากทส่ี ุดในโลก ทิศ ตะวันตกและทิศเหนอื ตดิ กบั ทะเลจนี ใต้ ทศิ ตะวันออกและทศิ ใต้ติดกับ มหาสมุทรแปซิฟิก พื้นท่ี ประมาณ 300,000 ตารางกโิ ลเมตร เป็นอันดับที่ 72 ของโลก เมืองหลวง กรุงมะนลิ า (Manila) ประชากร ประมาณ 94 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดับที่ 12 ของโลก ภาษา ภาษาราชการ คือ ภาษาตากาล็อกและองั กฤษ ศาสนา ส่วนใหญ่นับศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลกิ รอ้ ยละ 83 นิกายโปรแตสเตนท์ ร้อยละ 9 อิสลาม รอ้ ยละ 5 ศาสนาพุทธ และอ่นื ๆ รอ้ ยละ 3 การปกครอง ระบอบสาธารณรฐั มปี ระธานาธิบดเี ป็นประมขุ และหวั หน้าฝ่ายบรหิ าร (ดารง ตาแหน่งวาระละ 6 ปี สกลุ เงิน ฟิลปิ ปินสเ์ ปโซ (Philipino Peso : PHP ) 1 เปโซ ประมาณ 0.73 บาท

(7) สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ท่ตี งั้ เปน็ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัง้ อยทู่ างด้านตะวนั ออกสดุ ของ คาบสมุทรอนิ โดจีน มพี รมแดนติดกบั ประเทศ จีน ทางทิศเหนอื ประเทศลาว และ ประเทศกมั พูชา ทางทิศตะวนั ตก และอ่าวตังเกี๋ยทะเลจนี ใต้ ทางทศิ ตะวันออก หรือใน ภาษาเวยี ดนามเรยี กว่า ทะเลตะวนั ออก พื้นที่ 331,212 ตารางกิโลเมตร เปน็ อนั ดบั ที่ 65 ของโลก เมอื งหลวง ฮานอย (Hanoi) ประชากร 87.4 ลา้ นคน (ประมาณการเมอื่ ปี 2553) เปน็ อันดับ 13 ของโลก ภาษา ภาษาราชการ คอื ภาษาเวยี ดนาม ศาสนา ไม่มศี าสนาประจาชาติ เนื่องจากปกครองโดยระบอบสังคมนยิ ม (มีผู้แสดงตนวา่ นับถอื ศาสนาตา่ งๆ 15.65 ล้านคน โดยศาสนาพุทธ (มหายาน) มีจานวนผนู้ ับถือ มากทสี่ ุด (ร้อยละ 9.3) การปกครอง ระบอบสงั คมนยิ ม โดยมพี รรคคอมมิวนสิ ต์เวยี ดนาม (Communist Party of Vietnam) เป็นพรรคการเมือง เดยี วและ มีอานาจสูงสดุ ประธานาธิบดเี ป็นประมขุ สกุลเงนิ เงนิ ดง่ (Vietnam Dong : DNG) 1 บาท ประมาณ 625 ด่ง

(8) สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ประเทศลาวตงั้ อยู่ทางเหนอื ของภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ และอยู่บน ใจกลางของคาบสมทุ รอนิ โดจีน ลอ้ มรอบดว้ ย ประเทศเพื่อนบ้าน 5 ประเทศ เปน็ ประเทศเดยี วในภมู ภิ าคท่ไี มม่ ที างออกสูท่ ะเล ทิศเหนือตดิ กบั ประเทศจีน ทิศตะวันตกติด กับพมา่ และไทย ทศิ ตะวนั ออกติดกบั เวยี ดนาม และทิศใตต้ ดิ กับ กัมพูชา พ้ืนท่ี 236,800 ตารางกโิ ลเมตร เปน็ อนั ดับที่ 83 ของโลก เมืองหลวง นครเวียงจนั ทน์ (Vientiane) ประชากร ประมาณ 6.2 ลา้ นคน (ปี 2553) เปน็ อันดบั 103 ของโลก ภาษา ภาษาราชการ คอื ภาษาลาว ศาสนา ศาสนาพทุ ธ (เถรวาท) รอ้ ยละ 75 และนบั ถอื ความเชอื่ ทอ้ งถ่นิ ร้อยละ 16-17 การปกครอง ระบอบสงั คมนยิ มคอมมวิ นิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบอบประชาธิปไตย ประชาชน) โดยมีพรรคประชาชนปฏิวตั ิ ลาวเป็นองคก์ รชี ้ นาประเทศ ประมขุ ประธานประเทศ (ประธานาธิบดี) ซง่ึ มวี าระการดารงตาแหน่ง 5 ปี ผู้นารฐั บาล สกุลเงนิ กีบ (Lao Kip : LAK) 1 บาท เท่ากบั ประมาณ 250 กบี

(9) สาธารณรฐั แหง่ สหภาพพมา่ (Republic of the Union of Myanmar) ทตี่ ้งั ทศิ เหนอื และตะวันออกเฉยี งเหนือตดิ กบั ประเทศจนี ทิศตะวนั ออกเฉยี งใต้ตดิ กบั ลาวและไทย ทศิ ตะวนั ตกติดกับ อนิ เดียและบงั กลาเทศ ทศิ ใตต้ ิดกับทะเลอันดามัน และอา่ วเบงกอล พื้นที่ 676,578 ตารางกโิ ลเมตร เปน็ อนั ดับที่ 40 ของโลก เมืองหลวง เนปดี อ (Naypyidaw) ประชากร ประมาณ 47.9 ล้านคน (ปี 2553) เป็นอันดบั 26 ของโลก ภาษา ภาษาราชการ คอื ภาษาพมา่ ศาสนา ศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 92.3 ศาสนาครสิ ต์ร้อยละ 4 ศาสนาอิสลามรอ้ ยละ 3 ศาสนา ฮนิ ดู ร้อยละ 0.7 การปกครอง รัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพฒั นาแหง่ รัฐ (State Peace and Development Council – SPDC) ประมุข ประธานสภาสันติภาพและการพฒั นาแหง่ รฐั ผ้นู ารฐั บาล นายกรฐั มนตรี สกลุ เงิน จ๊ัต (Myanmar Kyat : MMK) 1 บาท เท่ากับประมาณ 32.86 จ๊ัต

(10) ราชอาณาจกั รกมั พชู า (Kingdom of Cambodia) ทีต่ ง้ั ทิศใตจ้ รดกับอ่าวไทย ทางทศิ ตะวนั ตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับ ประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวนั ออก ติดกับเวียดนาม พื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร เป็นอันดบั ที่ 89 ของโลก เมอื งหลวง พนมเปญ (Phnom Penh) ประชากร ประมาณ 14.4 ลา้ นคน (ปี 2552) ภาษา ภาษาราชการ คอื ภาษาเขมร ศาสนา ศาสนาพุทธรอ้ ยละ 95 ศาสนาอสิ ลาม รอ้ ยละ 3 ศาสนาครสิ ต์รอ้ ยละ 1.7 ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู รอ้ ยละ 0.3 การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา โดยมพี ระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ ภายใต้ รฐั ธรรมนูญ ประมขุ พระมหากษัตริย์ /ผู้นารัฐบาล นายกรัฐมนตรี สกลุ เงนิ เรียล (Riel : KHR) 1 เรยี ล ประมาณ 0.0083 บาท

ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) 2. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 1. ประชาคมการเมอื งความมน่ั คงอาเซยี น 3. ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ในยคุ ท่สี ถานการณโ์ ลกมีการเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว การรวมตัวกันของประเทศในกลุม่ อาเซียนท้ัง10 ประเทศ ให้เข้มแขง็ จะทาให้ ประเทศในภูมิภาคเอเซยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สามารถเผชญิ กบั การเปล่ียนแปลงและปัญหาได้ดียิ่งขน้ึ อกี ทงั้ ยงั เปน็ การเพิ่มขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั เพราะ การทม่ี ีสมาชิกถึง 10 ประเทศ มีท่าทีเป็นหน่ึ งเดยี วในเวทรี ะหวา่ งประเทศ จะทาใหป้ ระเทศในกลุ่ม ความ ร่วมมืออน่ื ๆ ใหค้ วามเชอ่ื ถือในอาเซยี นมากขน้ึ และทาให้อาเซียนมอี านาจตอ่ รองในเวทรี ะหว่างประเทศ มากข้ึนดว้ ย ในการประชมุ ผู้นาอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 9 ในเดือนตุลาคม 2546 ท่ีบาหลี ผนู้ า อาเซยี นตา่ งเห็นพอ้ งกนั วา่ อาเซียนควร รว่ มมอื กันให้เหนยี วแนน่ เขม้ แข็ง และมน่ั คงยง่ิ ข้นึ จงึ ได้ลงนาม ในปฏญิ ญาว่าดว้ ยความรว่ มมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพอื่ กาหนดให้มกี ารสรา้ ง ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) ข้นึ ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ซงึ่ ได้มกี ารเล่ือนกาหนดเวลาสาหรบั การรวมตวั ให้เร็วขนึ้ เป็นปี พ.ศ. 2558 โดยประชาคมอาเชียน ประกอบด้วย 3 เสาหลกั

กฎบตั รอาเชยี น (ASEAN Charter) กฎบตั รอาเชยี น คอื อะไร กฎบตั รอาเซียน เปรยี บเสมอื นรัฐธรรมนญู ของอาเซยี น ท่ีจะทาใหอ้ าเซยี นมสี ถานะเปน็ นิติบุคคล เปน็ การวางกรอบทาง กฎหมายและโครงสร้างองคก์ รให้กับอาเซียน โดยนอกจากจะ ประมวลสง่ิ ทีถ่ ือ เปน็ คา่ นยิ ม หลักการ และแนวปฏบิ ตั ใิ นอดีตของ อาเซยี นมาประกอบกันเปน็ ข้อปฏิบัติอย่างเป็น ทางการของประเทศสมาชิกแลว้ ยงั มีการปรับปรงุ แกไ้ ข และสรา้ งกลไกใหม่ข้นึ พรอ้ มกาหนดขอบเขต หน้าท่ีความรับผดิ ชอบขององค์กรที่สาคัญในอาเชยี น ตลอดจนความสัมพนั ธใ์ นการดาเนินงานของ องคก์ รเหล่านี ใ้ หส้ อดคลอ้ งกับความเปลีย่ นแปลงในโลก ปจั จุบัน เพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพของอาเซียน ให้สามารถดาเนนิ การบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การขบั เคล่อื นการ รวมตัวของประชาคมอาเซยี น ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2558 ตามท่ี ผู้นาอาเซยี นไดต้ กลงกันไว้

โครงสรา้ งและสาระสาคญั ของกฎบตั รอาเซยี น กฏบตั รอาเชยี น ประกอบด้วยบทบญั ญตั ิ 13 หมวด 55 ข้อ ได้แก่ หมวดที่ 1 ความมุง่ ประสงคแ์ ละหลกั การของอาเซียน หมวดท่ี 2 สภาพบคุ คลตามกฏหมายของอาเชยี น หมวดที่ 3 สมาชกิ ภาพ (รัฐสมาชิก สิทธแิ ละพนั ธกรณขี องรฐั สมาชกิ และการรบั สมาชิก ใหม่ หมวดท่ี 4 โครงสรา้ งองค์กรของอาเซียน หมวดที่ 5 องค์กรท่ีมคี วามสมั พันธก์ บั อาเซียน หมวดท่ี 6 การคุ้มกนั และเอกสิทธิ์ หมวดท่ี 7 กระบวนการตดั สินใจ หมวดท่ี 8 การระงบั ขอ้ พิพาท หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงนิ หมวดที่ 10 การบรหิ ารและขั้นตอนการดาเนินงาน หมวดที่ 11 อัตลักษณแ์ ละสญั ลกั ษณข์ องอาเซียน หมวดที่ 12 ความสัมพนั ธก์ ับภายนอก กฎบตั รอาเชยี น (ASEAN Charter) เอกสารเผยแพรแ่ ละสอื่ ประชาสมั พนั ธ์ กรมอาเซยี น หมวดที่ 13 บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญตั สิ ุดทา้ ย กระทรวงการ ต่างประเทศ (http://www.mfa.go.th/asean/asean_web/media/aseanMiniBook.pdf)

โครงสรา้ งและกลไก การดาเนนิ งาน ของอาเซียน

การดาเนนิ งานขององคก์ รของอาเซยี น 1. ทป่ี ระชมุ สดุ ยอดอาเซยี น (ASEAN Summit) 2. คณะมนตรปี ระสานงานอาเซยี น (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) 3. คณะมนตรปี ระชาคมอาเซยี น (ASEAN Community Councils) 4. องคก์ รระดบั รฐั มนตรอี าเซยี นเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) 5. เลขาธิการอาเซยี นและสานกั เลขาธิการอาเซยี น (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) 6. คณะกรรมการผแู้ ทนถาวรประจาอาเซยี น (Committee of Permanent Representatives to ASEAN) 7. สานักงานอาเซยี นแหง่ ชาติ หรือกรมอาเซยี น (ASEAN National Secretariat) 8. องคก์ รสทิ ธมิ นษุ ยชนอาเซยี น (ASEAN Human Rights Body) 9. มูลนิธอิ าเซยี น (ASEAN Foundation)

ความร่วมมอื ของอาเซียนในดา้ นเศรษฐกจิ 1. เขตการคา้ เสรอี าเซยี น (ASEAN 6. ความรว่ มมอื ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ Free Trade Area หรือ AFTA) และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-ASEAN Framework Agreement) 2. เขตการลงทนุ อาเซยี น (ASEAN 5. กรอบความตกลงดา้ นการคา้ บรกิ าร Investment Area หรอื AIA) (ASEAN Framework Agreement on Services หรอื AFAS) 3. ความรเิ รมิ่ เพอื่ การรวมตวั ของ 4. ความรว่ มมอื ดา้ นอตุ สาหกรรม อาเซยี น (Initiative for ASEAN (ASEAN Industrial Cooperation Integration หรือ IAI) Scheme หรือ AICO)

ความรว่ มมอื ของอาเซยี นในดา้ นเศรษฐกจิ 7. ความรว่ มมอื ดา้ นการเงนิ การ คลงั (Financial Cooperation) 8. ความร่วมมอื ดา้ นการเกษตรและปา่ ไม้ ของอาเซยี น และอาเซยี น +3 9. ความร่วมมอื ดา้ นการขนสง่ 11. ความตกลงดา้ นการทอ่ งเทยี่ วอาเซยี น (ASEAN Tourism Agreement) ความรว่ มมอื ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ในกรอบอาเซยี นและอาเซยี น + 3 10. ความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานในอาเซยี น (ASEAN Energy Cooperation)

ความหมายและวตั ถปุ ระสงคข์ องประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) คอื อะไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community : AEC) เป็นการรวมกลุ่มของ ประเทศสมาชิกของอาเซียนทั้ ง10 ประเทศ โดยใหค้ วามสาคัญในการเสรมิ สรา้ งความแขง็ แกรง่ ทาง เศรษฐกจิ ร่วมกันอย่างตอ่ เนอ่ื ง หลงั จากการดาเนินการไปสู่การ จัดตัง้ เขตการค้าเสรอี าเซียน หรอื อาฟตา (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ไดบ้ รรลเุ ป้าหมายในปี 2546 ทีป่ ระชุมสดุ ยอด อาเซียน (ASEAN Summit) คร้ังที่ 8 เมอื่ เดอื นพฤศจิกายน 2545 ไดเ้ ห็นชอบให้อาเซียนกาหนดทศิ ทางการดาเนินงานเพื่อ มุ่ง ไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซงึ่ มลี กั ษณะ คลา้ ยคลงึ กับประชาคมเศรษฐกจิ ยุโรป (European Economic Community: EEC) และใหอ้ าเซียน ปรบั ปรงุ กระบวนการดาเนนิ งานภายในของอาเซียนใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขน้ึ ในการประชุมสุดยอด อาเซียนในปี 2546 ผนู้ าอาเซียนได้ออกแถลงการณ์ Bali Concord II เห็นชอบใหม้ ี การรวมตวั ไปสูก่ าร เปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นหรอื AEC ภายในปี 2563 และใหเ้ ร่งรัดการรวมกลมุ่ เพือ่ เปิดเสรีสินค้า และ บริการสาคัญ 11 สาขา (priority sectors) ไดแ้ ก่ การทอ่ งเทีย่ ว การบิน ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลติ ภณั ฑย์ าง สงิ่ ทอ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สนิ คา้ เกษตร ประมง เทคโนโลยสี ารสนเทศ และสขุ ภาพ และตอ่ มา ไดเ้ พ่ิมสาขาโลจสิ ตกิ สเ์ ป็นสาขาที่ 12

เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) เปา้ หมายในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ของ อาเซยี นตามแถลงการณบ์ าหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) 1. การเป็นตลาดเดยี วและฐานการผลติ รว่ ม 3. การพฒั นาเศรษฐกิจอยา่ งเสมอภาค สนบั สนนุ การพฒั นา SMEs โดยให้มกี ารเคลือ่ นย้ายสนิ ค้า บริการ การลงทนุ เสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถผา่ นโครงการต่างๆ เช่น IAI (Initiative for และแรงงานฝีมอื อยา่ งเสรี และการเคลือ่ นยา้ ย ASEAN Integration ) และ ASEAN-help- ASEAN Programs เงนิ ทนุ อย่างเสรีมากขึน้ 4. การบรู ณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เนน้ การปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซยี น กบั ประเทศภายนอกภูมภิ าค เช่น การจัดทาเขตการค้าเสรี การให้สิทธพิ ิเศษดา้ นการ ลงทุนภายใตเ้ ขตการ 2. การสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ทางเศรษฐกิจของอาเซยี น จะให้ความสาคัญกบั ประเด็นด้านนโยบายอ่ืนๆ ท่ีจะชว่ ยส่งเสรมิ การ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ เช่น กรอบนโยบายการแข่งขัน ของอาเซยี น สิทธิ ในทรพั ย์สินทางปญั ญา นโยบายภาษี และการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน

แนวทางการดาเนนิ งานเพอื่ นาไปสกู่ ารเปน็ AEC แผนการดาเนินการเพือ่ มุ่งไปสกู่ ารเป็น AEC และไดม้ อบหมายใหป้ ระเทศต่างๆ ทาหน้าทรี่ ับผิดชอบเป็น ผู้ประสานงานหลกั (Country Coordinators) ในแต่ละสาขาดังน้ี พมา่ มาเลเซยี อินโดนเี ซยี สาขาผลติ ภณั ฑเ์ กษตร และ สาขาผลิตภณั ฑ์ยาง และสาขา สาขายานยนต์ และสาขา สาขาประมง สง่ิ ทอ ผลิตภัณฑ์ไม้ ฟลิ ิปปินส์ สงิ คโปร์ ไทย เวยี ดนาม สาขาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาการท่องเท่ียว และสาขา สาขาโลจสิ ติกส และสาขาสขุ ภาพ การบิน

ประโยชนท์ ปี่ ระเทศไทยไดร้ บั จากการ เขา้ รว่ มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) หากอาเซยี นสามารถสร้างประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนไดส้ าเร็จตามเปา้ หมายทีต่ ั้งไว้ ไทยจะ ไดป้ ระโยชน์หลายประการ เช่น 1. ขยายการสง่ ออกและโอกาสทางการคา้ จากการยกเลิกอปุ สรรคภาษแี ละทม่ี ใิ ชภ่ าษจี ะ เปิดโอกาสใหส้ ินคา้ เคลือ่ นย้ายเสรี 2. คาดว่าการส่งออกไทยไปอาเซยี นจะสามารถขยายตวั ได้ไมต่ า่ กวา่ 18 - 20% ต่อปี 3. เปดิ โอกาสการค้าบริการ ในสาขาทไ่ี ทยมคี วามเขม้ แขง็ เช่น ทอ่ งเทย่ี ว โรงแรมและรา้ นปี อาหาร สุขภาพ ทาใหไ้ ทยมี รายไดจ้ ากการคา้ บริการไปต่างประเทศเพ่ิมข้นึ 4. สรา้ งเสริมโอกาสการลงทุน เมอ่ื มกี ารเคลื่อนย้ายเงนิ ทนุ ได้เสรีย่งิ ขน้ึ อปุ สรรคการลงทุน ระหว่างอาเซียนจะลดลง อาเซยี นจะเปน็ เขตการลงทุนทนี่ ่าสนใจทัดเทยี มประเทศจนี และอินเดยี 5. เพม่ิ พูนขีดความสามารถของผปู้ ระกอบการไทย เมอ่ื มกี ารใชท้ รัพยากรการผลิตรว่ มกัน/ เป็นพนั ธมิตรทางธุรกจิ รว่ มกบั อาเซยี นอืน่ ๆ ทาใหเ้ กดิ ความไดเ้ ปรียบเชิงแขง่ ขนั (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลติ 6. เพม่ิ อานาจการตอ่ รองของไทยในเวทกี ารค้าโลก สร้างความเชื่อมั่ นให้ประชาคมโลก 7. ยกระดบั ความเป็นอยูข่ องประชาชนในประเทศ ผลการศกึ ษา แสดงวา่ AEC จะทาให้ รายได้ทแี่ ท้จริงของอาเซยี นเพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ 5.3 หรือคดิ เป็นมลู ค่า 69 พันลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ

ผลกระทบจากประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ถงึ แมป้ ระเทศไทยจะได้ประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) แต่ ประเทศไทย กไ็ ด้รบั ผลกระทบด้วยเชน่ กนั เช่น ผลกระทบ ข้อท่ี 1 การเปดิ ตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่ออตุ สาหกรรมและผปู้ ระกอบการ ในประเทศท่มี ีขีด ความสามารถในการแขง่ ขันต่า ผลกระทบขอ้ ที่ 2 อตุ สาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศตอ้ งเรง่ ปรับตวั

ประวตั คิ วามเปน็ มา ความสาคญั วตั ถปุ ระสงค์ และประโยชนท์ ไ่ี ทยไดร้ บั จากการเขา้ รว่ ม AFTA เขตการคา้ เสรีอาเซียน ( ASEAN Free Trade Area: AFTA) หรอื เรียกว่า อาฟตา เป็น ขอ้ ตกลงทางการค้าของอาเซียน (ASEAN) ซึ่งเป็นกลมุ่ ประเทศที่มีวตั ถุดบิ มีผลผลิตทางการเกษตร อย่างอดุ มสมบรู ณ์ และมีสินค้าอุตสาหกรรมที่มคี ณุ ภาพ ใกล้เคียงกับทผ่ี ลิตได้ในสว่ นต่างๆ ของโลก ท้ังยงั เป็นตลาดใหญท่ ีม่ ีศกั ยภาพทางการซอื้ สงู ประวตั ิความเปน็ มา จากการประชุมผู้นาอาเซยี น ณ ประเทศสิงคโปร์ เมื่อ พ.ศ.2535 อนั ประกอบดว้ ย ไทย บรไู น อินโดนีเซยี มาเลเซีย และ สิงคโปร์ ได้ตกลงท่ีจะขายสินค้าระหว่างกันอย่างเสรี (ยกเวน้ สินค้าเกษตร) เพ่อื ส่งเสรมิ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศสมาชกิ โดยต้งั เป้าหมายทจี่ ะลดอตั ราภาษี ศลุ กากรระหวา่ งกนั ใหเ้ หลือร้อยละ 0-5 ภายใน พ.ศ.2546 ซงึ่ จะเรมิ่ ดาเนนิ การตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2536 เปน็ ตน้ ไป เรียกขอ้ ตกลงทางการคา้ ของกลุม่ อาเซียนน้ี วา่ “เขตการค้าเสรีอาเซยี น”

วตั ถุประสงคใ์ นการกอ่ ตง้ั AFTA 1. เพ่อื ใหก้ ารขายสินคา้ ภายในอาเซียนเป็นไปโดยเสรมี อี ัตราภาษีตา่ และปราศจากขอ้ จากดั ทางการคา้ 2. เพ่ือดงึ ดดู นักลงทุนต่างชาติให้มาลงทนุ ในอาเซียน 3. เพอ่ื จะไดม้ อี านาจต่อรอง และเป็นเวทีแสดงความคิดเห็น หากไดร้ บั ความกดดนั หรือถกู เอารัดเอา เปรยี บทางการคา้ จากประเทศอน่ื ๆ

ผลการปฏบิ ตั งิ าน AFTA ไดด้ าเนนิ การลดภาษีสนิ ค้าระหวา่ งประเทศทม่ี ีแหลง่ กาเนิดในอาเซยี น ดังน้ี 1. สนิ ค้าลดปกติ กาหนดให้ลดอตั ราภาษีศลุ กากรระหว่างกนั เหลอื ร้อยละ 0.5 ภายใน 10 ปี คอื ภายในวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 ยกเวน้ สมาชิกใหม่ของอาเซียน คอื เวียดนาม ลาว พมา่ และ กัมพชู า ใหเ้ ล่อื นเวลาส้ินสุดการลด ภาษีออกไป 2. สนิ คา้ เร่งลดภาษี ประกอบดว้ ยสนิ ค้า 15 สาขา ไดแ้ ก่ ปูนซเี มนต์ ปยุ๋ ผลิตภัณฑ์หนัง เย่ือกระดาษ สิง่ ทอ อัญ มณแี ละเคร่อื งประดบั เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เฟอร์นิเจอร์ไม้และหวาย นา้ มนั พืช เคมภี ัณฑ์ พลาสตกิ ผลิตภัณฑย์ าง ผลิตภณั ฑ์เซรามิกและแกว้ เภสชั ภัณฑ์ และแคโทดท่ีทาจาก ทองแดง กาหนดใหล้ ดอัตราภาษศี ลุ กากรเหลือรอ้ ยละ 0-5 ภายใน 7 ปี คอื สน้ิ สุดวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 3. สินคา้ ทีเ่ รม่ิ ลดภาษชี ้ากว่าสนิ ค้าอืน่ ๆ ไดแ้ ก่ สนิ ค้าเกษตรไมส่ าเรจ็ รปู เรมิ่ ลดภาษภี ายใน พ.ศ.2544-2546 และ ลดเหลือร้อยละ 0-5 ภายใน พ.ศ. 2553 ยกเว้นสนิ คา้ บางชนดิ เช่น ขา้ วและ นา้ ตาลไมต่ ้องลดเหลอื รอ้ ยละ 0-5 แต่ให้ลดตามอัตราทตี่ กลงกัน

ประโยชนข์ อง AFTA ต่อไทย 1. ประโยชนต์ อ่ ผผู้ ลติ 1.1 กระตนุ้ ให้มกี ารปรับโครงสร้างการผลิตในประเทศท้งั สินคา้ เกษตรและอตุ สาหกรรม เพื่อเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน 1.2 ยกระดบั ความสามารถทางการผลิต 1.3 ผผู้ ลติ สามารถนาเขา้ วัตถดุ บิ ท่ถี ูกลง และลดตน้ ทนุ การผลติ 1.4 ผผู้ ลิตสนิ ค้าของไทย สามารถที่จะใชป้ ระโยชน์จาก Supply Chain ในอาเซยี น เช่น การใช้วัตถุดิบ หรอื สินค้าก่งึ สาเร็จรูปจากประเทศอาเซียนอ่ืนๆ หรอื อาจโยกยา้ ยฐานการผลิตไปยงั ประเทศอาเซียน อน่ื ๆ หรอื เลือกใช้ปจั จยั การผลิตที่มคี วามได้เปรียบสงู สุดจากประเทศอาเซียนอื่นๆ ได้ อย่างเต็มที่ 2. ประโยชนต์ อ่ ผสู้ ง่ ออก – ผนู้ าเขา้ 2.1 ตลาดสินค้ากว้างขน้ึ สามารถรักษาตลาดเดมิ เชน่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และขยายตลาด ใหม่ เชน่ จนี อนิ เดีย ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ 2.2 เป็นประตกู ารคา้ สูภ่ มู ิ ภาคใกลเ้ คยี ง 2.3 ผู้สง่ ออกสามารถขยายการค้าและบรกิ าร และเพ่ิมความสามารถในการแข่งขนั จาก ภาษนี าเข้าของประเทศคูเ่ จรจาท่ลี ดลง 2.4 สร้างพนั ธมติ ร เพิม่ อานาจการตอ่ รอง 2.5 ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า เม่ืออปุ สรรคภาษีและมิใชภ่ าษีระหว่าง อาเซยี นถูกยกเลิกไป จะเปิดโอกาสให้สนิ ค้าเคลอ่ื นยา้ ยเสรี ไทย จะมโี อกาสทข่ี ยายการสง่ ออกไปยงั อาเซียนได้มากข้ึน

ประโยชนข์ อง AFTA ตอ่ ไทย 3. ประโยชนต์ อ่ บรโิ ภค 3.1 ผู้บรโิ ภคซอ้ื สินค้าไดใ้ นราคาท่ถี กู ลง เลือกซื้อสนิ คา้ ไดห้ ลากหลายมากข้นึ 3.2 ผู้บรโิ ภคไดร้ ับความคุ้มครองจากข้อตกลงความรว่ มมือระหวา่ งกนั ของอาเซยี น 4. ประโยชนต์ อ่ ผเู้ กษตรกร 4.1 สามารถสง่ สนิ คา้ เกษตรออกไปขายไดม้ ากขึ้น เนือ่ งจากภาษีสินค้าเกษตรเป็น 0 4.2 สามารถขยายตลาดสินค้าเกษตรไปยังประเทศนอกกลุม่ ได้ และมีอานาจในการ ตอ่ รองที่สูงขน้ึ

ประโยชนท์ ีไ่ ทยไดร้ ับจากการเข้ารว่ มกลุ่มอาเซยี น ตัง้ แตป่ ระเทศไทยเข้าเปน็ สมาชกิ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association of South-East Asian Nations : ASEAN) ตัง้ แตว่ ันท่ี 8 สงิ หาคม 2510 เป็นต้นมา ไทยได้รับประโยชน์ ท้งั ทางตรงและทางอ้อมในหลายๆ ด้าน ซึ่งเปน็ ผลมาจากการรวมกลุม่ ประเทศใน ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออก เฉยี งใต้ เพ่อื เพิม่ อานาจตอ่ รองและเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวที ระหว่างประเทศ และชว่ ยให้ เสียงของอาเซียนมีนา้ หนกั เพราะการทส่ี มาชกิ ทงั้ 10 ประเทศมที า่ ทีเปน็ หน่งึ เดียวในเวทรี ะหว่างประเทศ จะทาใหป้ ระเทศและกล่มุ ความร่วมมืออนื่ ๆ ให้ความเชอื่ ถือในอาเซียน มากขึน้ ทา้ ยทส่ี ุดแล้วประโยชน์ก็จะ ตกอยู่ท่ีประชาชนในประเทศน้นั ๆ 1. การเพมิ่ การจ้างงานและแก้ไขปญั หาความยากจนในภมู ิ ภาค 2. การสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วในภมู ิ ภาค รายวิชาเลือก อาเซยี นศกึ ษา 3. การสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มในภมู ิ ภาค 4. การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ ในภมู ภิ าค 5. การแกป้ ัญหาการกอ่ การรา้ ยสากล อาชญากรรมขา้ มชาติ และการแกป้ ัญหา ยาเสพตดิ 6. การจัดการกรณเี กดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ 7. การสง่ เสรมิ และปกปอ้ งสทิ ธสิ ตรี 8. การสง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชนในภมู ิ ภาคมคี วามใกลช้ ิ ดกันมากขน้ึ

ที่ปรกึ ษา นายสุรพล ขนั ทแพทย์ ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอทงุ่ ช้าง นายณัฐวัฒน์ หงสจ์ ุ้ย ครผู ูช้ ่วย ผ้ทู า/จัดพมิ พ์ นายสทุ ัศน์ อินทะรังษี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook