Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่7

หน่วยที่7

Published by จันทิมา พุ่มจันทร์, 2023-07-03 02:30:14

Description: หน่วยที่7

Search

Read the Text Version

1 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 ชม. รหสั วชิ า 20106-2005 ชื่อวิชา ประมาณราคางานสถาป�ตยกรรม ชว่ั โมง/สัปดาห์ 3 ชื่อหน่วย การประมาณราคางานไฟฟา้ แผนการจดั การเรียนรคู้ รงั้ ที่ 12-13 ช่อื เรือ่ ง การประมาณราคางานไฟฟา้ จำนวน 6 ชวั่ โมง 1. หัวข้อเรื่อง 1) ความรู้เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกับงานไฟฟา้ 2) หลกั เกณฑก์ ารประมาณราคางานไฟฟ้า 3) วิธีการประมาณราคางานไฟฟ้า 2. สาระสำคญั เพือ่ ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การ วธิ ีการ และขั้นตอนการคำนวณหาปริมาณงานไฟฟา้ ในวิชาประมาณ ราคางานสถาป�ตยกรรม และสามารถที่จะนำความรู้ทีไ่ ด้จากการศึกษาในครัง้ น้ีไปใช้งานไดอ้ ย่างถูกต้อง เข้าใจ และแนะนำผู้อื่นได้อย่างเข้าใจสามารถทำงานเกี่ยวกับประมาณราคางานสถาป�ตยกรรมได้อย่างถูกต้องและ เปน� ไปตามวตั ถุประสงคท์ ่ีไดต้ งั้ ไว้ เพอ่ื เปน� หนทางในการลงมือปฏิบัติท่ถี ูกตอ้ งและตรงตามวธิ ีการทำงาน 3. สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจำหนว่ ย) 1) แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลักการและขัน้ ตอนการคำนวณหาปริมาณวสั ดุ อปุ กรณ์งานไฟฟา้ 2) คำนวณหาปริมาณวสั ดุ อปุ กรณ์งานไฟฟ้า 4. สมรรถนะย่อย (สมรรถนะการเรยี นร)ู้ สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฎี ) 1) แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ความรู้เบื้องต้นเก่ยี วกบั งานไฟฟ้า 2) แสดงความรเู้ กยี่ วกับหลักเกณฑ์การประมาณราคางานไฟฟ้า 3) แสดงความเข้าใจวธิ ีการประมาณราคางานไฟฟา้

2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ชม. รหสั วชิ า 20106-2005 ชอ่ื วิชา ประมาณราคางานสถาป�ตยกรรม ชั่วโมง/สปั ดาห์ 3 ช่ือหน่วย การประมาณราคางานไฟฟา้ แผนการจัดการเรียนรคู้ ร้งั ท่ี 12-13 ชอ่ื เรื่อง การประมาณราคางานไฟฟา้ จำนวน 6 ช่วั โมง สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ทฤษฎี) 1) บอกความร้เู กี่ยวกับความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั งานไฟฟา้ 2) บอกความรู้เก่ยี วกับหลักเกณฑ์การประมาณราคางานไฟฟ้า 3) อธิบายวิธีการประมาณราคางานไฟฟา้ 5. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาประมาณราคางานสถาป�ตยกรรม หน่วยท่ี 7 การประมาณราคางาน ไฟฟ้า ได้กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้โดยใชว้ ธิ ีการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะเชิง รุก (Active Learning Competency Based) ดา้ นเทคนคิ การจัดการเรียนการสอนแบบ MAIP โดยมีขน้ั ตอนใน การดำเนินกจิ กรรมการเรยี นการสอน ดังนี้

3 กิจกรรมการเรียนการสอน (สอนครั้งที่ 12 ) เวลา 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ขั้นกอ่ นเรมิ่ บทเรียน 1. ครชู แี้ จงรายละเอียดหนว่ ยการเรยี น และการเช็คชือ่ นักเรยี นนักศึกษา ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครถู ามผเู้ รียนเกยี่ วกับการประมาณราคางานไฟฟ้าทีใ่ ชใ้ นงานกอ่ สรา้ งและสอบถามความรู้ ความ เข้าใจเกย่ี วกับหลกั เกณฑ์การประมาณราคางานผนังวา่ มีอะไรบา้ งท่นี ักเรียนรู้จกั โดยใช้เกมวงล้อ สุ่มนกั เรยี นในการตอบคำถาม เกมวงลอ้ ส่มุ เลขทีน่ ักเรียน 2.ครูอธิบายถงึ ความสำคญั ในการเรียนวิชาประมาณราคางานสถาปต� ยกรรม ว่าเปน� วชิ าทจี่ ำเป�นต้องใช้ เปน� ความรู้พน้ื ฐานในการเรียนในวิชาทส่ี งู ข้ึนไป ขัน้ สอน (ใชว้ ิธีการสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ) 1. ครดู ำเนนิ การสอนเกยี่ วกับ 1) ความรู้เบอื้ งต้นเก่ยี วกับงานไฟฟ้า 2) หลกั เกณฑ์การประมาณราคางานไฟฟ้า 2. นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ โดยที่ครูใช้วิธีการถาม-ตอบ โดยใชเ้ กมส์ quizizz ในการสรา้ งแรงดึงดูดความสนใจ ขั้นตอนการปฏิบตั ิ 1. ครบู รรยายพร้อมกบั ให้ผเู้ รียนจดบนั ทึก 2. ครสู อนวัสดุท่ใี ชใ้ นงานก่อผนงั และสอบถามความรู้ แล้วให้ผู้เรยี นออกมาเขยี นตอบ หรอื อาจ ซกั ถามเปน� รายบุคคลสลบั กันไป (โดยใช้เกมส์ quizizz ในการสร้างแรงดงึ ดดู ความสนใจ) 3. ครูสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 4. ครูใหผ้ ูเ้ รยี นสง่ สมุดท้ายชั่วโมงเพอ่ื ตรวจสอบความต้งั ใจ

4 กิจกรรมการเรยี นการสอน (สอนคร้ังท่ี 13 ) เวลา 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ข้นั กอ่ นเริ่มบทเรียน 1. การเชค็ ชอ่ื นกั เรียนนักศึกษา ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครถู ามผเู้ รยี นเกี่ยวกบั การเรียนการสอนในครง้ั ที่ผ่านมาวา่ เรียนเรื่องท่ีผ่านมา 2. ครูอธบิ ายถงึ ความสำคัญในการนำความรใู้ นสปั ดาหท์ ผ่ี า่ นมาใชใ้ นการเรียนการสอนคร้งั นี้ ข้นั สอน (ใชว้ ธิ ีการสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ) 1. ครดู ำเนินการสอนเกีย่ วกับ 1) วธิ ีการประมาณราคางานไฟฟ้า 2. นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ โดยท่ีครใู ช้วธิ ีการถาม-ตอบ ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติ 1. ครบู รรยายพร้อมกบั ใหผ้ ้เู รียนจดบนั ทึก 2. ครแู สดงการทำตวั อย่างโดยละเอียดพร้อมให้ผเู้ รียนออกมาเขียนตอบ หรืออาจซกั ถามเปน� รายบุคคลสลบั กันไป 3. ครสู งั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 4. ครใู หผ้ ูเ้ รยี นสง่ สมุดท้ายชวั่ โมงเพอื่ ตรวจสอบความต้งั ใจ 6. สื่อการสอน 6.1 สือ่ PowerPoint เรื่อง การประมาณราคางานไฟฟ้า 7. งานท่มี อบหมาย/กิจกรรม ใหน้ ักเรยี นทำใบงาน แบบฝก� เสริมทกั ษะท้ายหน่วยการเรียนท่ี 7 8. การวดั และประเมนิ ผล สมรรถนะทพี่ ึง วิธีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ ประสงค์ ทดสอบ - แบบทดสอบ นกั เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อย 1. ด้านความรู้ การสังเกต -ใบงาน กว่ารอ้ ยละ 70 (Knowledge) - 2. ด้านทกั ษะ (Skill) แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนผ่านการประเมนิ นกั เรียนดา้ นการใฝ่รู้ 3. คณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ (Attitude)

5 9. บันทกึ หลังสอน

6 ใบความร้หู นว่ ยท่ี 7 เวลาเรยี นรวม 54 ช่วั โมง 3 ชอ่ื วิชา ประมาณราคางานสถาปต� ยกรรม ครั้งท่ี 12-13 ช่ือหน่วย การประมาณราคางานไฟฟ้า หน่วยท่ี 7 การประมาณราคางานไฟฟ้า จำนวน 7 ชวั่ โมง สาระสำคญั งานไฟฟ้า เป็นส่วนประกอบท่ีสาํ คญั ของอาคาร ที่ตอ้ งดาํ เนินการเตรียมความพร้อมเพ่ือติดต้งั อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ควบคู่ไปกบั งานก่อสร้างส่วนประกอบอื่น ๆ ของอาคาร การประมาณราคางานไฟฟ้า คือการกาํ หนดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกบั การติดต้งั งานไฟฟ้าตามรูปแบบรายการที่กาํ หนดในแบบและรายการประกอบแบบก่อสร้าง ผูป้ ระมาณ ราคางานก่อสร้างตอ้ งศึกษารูปแบบรายละเอียดและขอ้ กาํ หนดต่าง ๆ จากแบบแปลน และสัญลกั ษณ์ของงาน ไฟฟ้าใหล้ ะเอียดรอบคอบ 7.1 ความรู้เบือ้ งต้นเกยี่ วกบั งานไฟฟ้า งานระบบไฟฟ้า หมายถึง ลกั ษณะการส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหลง่ กาํ เนิดไปยงั ผใู้ ชไ้ ฟฟ้า ตามประเภท การใชง้ าน โดยส่งจากสถานีไฟฟ้าผา่ นสายไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟ้ายอ่ ย หมอ้ แปลงแปลงไฟฟ้าให้ต่าํ ลง ไปยงั บา้ นพกั อาศยั สํานักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ผูท้ าํ หน้าที่ประมาณราคางานก่อสร้างควรมีความรู้ เกี่ยวกบั งานระบบไฟฟ้า ดงั น้ี 7.1.1 วิธีการเดินสายไฟฟ้าภายในอาคาร 7.1.1.1 เดินสายไฟฟ้าแบบปิ ด เป็ นการเดินสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายไฟฟ้า (Electrical Conduit) เรียกว่า “เดินสายไฟฟ้าแบบร้อยท่อ” พบไดท้ ้งั แบบเดินลอยและแบบฝังในผนงั มกั ใชส้ ายไฟฟ้าประเภท THW ร้อยในทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า โดยท่อ 1 เสน้ สามารถมีสายไฟฟ้าไดห้ ลายเส้นที่เป็นวงจรเดียวกนั 7.1.1.2 การเดินสายไฟฟ้าแบบเปิ ด เป็ นการเดินสายไฟฟ้าโดยมีคลิป (Clip) รัดสายไฟฟ้า เพื่อทาํ หน้าที่ยึดสายไฟฟ้าให้ติดกบั ผนงั หรือเพดานของอาคาร ทุกระยะประมาณ 10 เซนติเมตร บางคร้ังอาจเรียกว่า “เดินสายไฟฟ้าแบบตีกิ๊บ” มกั ใชส้ ายไฟฟ้าประเภท VAF 7.1.2 ชนิดของสายไฟฟ้า 7.1.2.1 สายไฟฟ้าชนิด วีเอเอฟ (VAF) มีท้งั ชนิดที่เป็นสายเด่ียวที่มีลกั ษณะเป็นสายกลม และสายคู่ ชนิด 2 แกน หรือ 3 แกน ที่มีลกั ษณะเป็ นสายแบน ตวั นาํ ไฟฟ้านอกจากจะมีฉนวนหุ้ม แลว้ ยงั มีเปลือกหุ้มอีก ช้นั หน่ึง นิยมใชใ้ นงานเดินสายไฟฟ้าแบบเปิ ด โดยใชค้ ลิปรัดสายไฟฟ้า ใชเ้ ดินสายไฟฟ้าในที่แหง้ หา้ มนาํ ไปใช้ งานเดินร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง 7.1.2.2 สายไฟฟ้าชนิด ทีเอชดับเบิลยู (THW) เป็ นสายชนิดสายเดี่ยว เหมาะสําหรับใช้งานเดิน สายไฟฟ้าทว่ั ไป ท้งั งานเดินร้อยในท่อร้อยสาย หรืองานเดินลอยในอากาศ และตอ้ งป้องกนั ไม่ให้น้าํ เขา้ ไปใน ช่องเดินสายไฟฟ้า หา้ มนาํ ไปใชง้ านเดินร้อยท่อฝังดินรวมถึงหา้ มนาํ ไปฝังดินโดยตรง

7 7.1.2.3 สายไฟฟ้าชนิด เอน็ วายวาย (NYY) มีท้งั ชนิดแกนเดียว และหลายแกน ท้งั แบบมีสายดินและ ไม่มีสายดิน นิยมใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง เน่ืองจากมีความทนต่อสภาพแวดลอ้ ม เพราะมีเปลือกหุ้มอีกหน่ึงช้นั หรือ อาจเรียกวา่ สายฉนวน 3 ช้นั เหมาะสาํ หรับใชง้ านเดินสายไฟฟ้าทว่ั ไป วางบนรางเคเบิลและเดินสายไฟฟ้าฝังดิน ไดโ้ ดยตรง 7.1.2.4 สายไฟฟ้าชนิด วีทีซี (VTC) เป็นสายกลม ชนิด 1 แกน 2 แกน 3 แกนและ 4 แกน มีท้งั ชนิด สายเดี่ยว และสายคู่ ท้งั แบบมีสายดินและไม่มีสายดิน มีลกั ษณะอ่อนตวั และทนต่อสภาพการส่ันสะเทือนไดด้ ี เหมาะสําหรับงานเดินสายไฟฟ้าเขา้ เคร่ืองจกั รกลที่มีการส่ันสะเทือนขณะใช้งาน สามารถเดินแบบฝังดินได้ โดยตรง 7.1.3 ชนิดของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าท่ีใชใ้ นปัจจุบนั แบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ทอ่ โลหะ และท่ออโลหะ ซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี 7.1.3.1 ท่อโลหะ สามารถจาํ แนกตามการใชง้ านไดด้ งั น้ี 1) ทอ่ โลหะบาง (Electrical Metallic Tubing : ทอ่ EMT) ผลิตจากแผน่ เหลก็ กลา้ ชนิดรีดร้อน หรือรีดเยน็ หรือแผ่นเหล็กกลา้ เคลือบสังกะสีผิวภายในเคลือบดว้ ยอีนาเมล ทาํ ให้ผิวท่อเรียบท้งั ภายในและ ภายนอก มีความมนั วาว ปลายทอ่ เรียบท้งั 2 ดา้ นไม่สามารถ ทาํ เกลียวได้ ใชต้ วั อกั ษรสีเขียวระบชุ นิด และขนาด ของทอ่ มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 2\" ความยาวท่อนละ 3 เมตร ใชง้ านไดเ้ ฉพาะภายในอาคารเทา่ น้นั หา้ มใชฝ้ ังดินและ ระบบไฟฟ้าแรงสูง 2) ท่อโลหะหนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit : ท่อ IMC) ผลิตจากวสั ดุชนิด เดียวกบั ทอ่ EMT แต่มีความหนามากกวา่ มีเกลียวท่ีปลายทอ่ ท้งั 2 ดา้ น ใชต้ วั อกั ษรสีส้มหรือสีแดง ระบชุ นิดและ ขนาดของท่อ มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 4\" ความยาวท่อนละ 3 เมตร ใช้งานไดท้ ้งั ภายในและภายนอกอาคาร สามารถฝังดินได้ 3) ท่อโลหะหนา (Rigid Steel Conduit : ท่อ RSC) ผลิตจากแผ่นเหล็กกลา้ ชนิดรีดร้อนหรือ รีดเยน็ หรือแผน่ เหล็กกลา้ เคลือบสังกะสีท้งั ผิวภายนอกและภายในเพื่อป้องกนั สนิม ทาํ ใหผ้ ิวท่อเรียบท้งั ภายใน และภายนอกท่อ แต่ผิวมีความดา้ นและหนากว่าท่อ EMT และ IMC มีเกลียวท่ีปลายท่อท้งั 2 ดา้ น ใชต้ วั อกั ษรสี ดาํ ระบุชนิดและขนาดของทอ่ มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 6\" ความยาวท่อนละ 3 เมตร ใชง้ านไดท้ ้งั ภายในและภายนอก อาคาร สามารถฝังดินได้ 4) ท่อโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit : ท่อ FMC) ผลิตจากแผน่ เหลก็ กลา้ เคลือบสังกะสี ท้งั ผิวภายนอกและภายใน เป็ นท่อที่มีความอ่อนตวั โคง้ งอไปมาได้ เหมาะสําหรับต่อเขา้ กบั ดวงโคม มอเตอร์ หรือเครื่องจกั รกลที่มีการส่ันสะเทือน มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 4\" ห้ามใชเ้ ดินในสถานท่ีเปี ยก งานฝังดินหรือฝังใน ผนงั คอนกรีต 5) ทอ่ โลหะออ่ นกนั น้าํ เป็นท่อโลหะอ่อนท่ีมีเปลือก PVC หุม้ ดา้ นนอกเพ่ือป้องกนั ความช้ืน ไม่ใหเ้ ขา้ ไปภายในท่อได้ มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 4\" เหมาะสําหรับใชง้ านในบริเวณที่มีความช้ืนหรือตอ้ งการความ

8 อ่อนตวั ของท่อเพ่ือป้องกนั สายไฟฟ้าชาํ รุดจากไอของเหลวหรือของแขง็ หรือในที่อนั ตราย ห้ามใชใ้ นบริเวณท่ี อุณหภูมิสูงเพราะอาจทาํ ใหท้ อ่ เสียหาย 7.1.3.2 ทอ่ อโลหะ สามารถจาํ แนกตามการใชง้ านไดด้ งั น้ี 1) ท่อพีวีซี (PVC) ทาํ ดว้ ยพลาสติกพีวีซี ท่ีมีคุณสมบตั ิตา้ นเปลวไฟ แต่ขอ้ เสียคือไม่ทนต่อ แสงแดด มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" - 4\" และยาวท่อนละ 4 เมตร เหมาะสาํ หรับใชง้ านเดินลอยในอากาศหรือฝังในผนงั คอนกรีต สีท่ีใชง้ านในปัจจุบนั มี 2 สี คือท่อสีเหลืองเหมาะกบั ระบบไฟฟ้าท่ีฝังในผนงั และท่อสีขาวนิยมใชใ้ น งานตอ่ เติมและงานเดินลอยบนผนงั 2) ท่อเอชดีพีอี (HDPE) ทาํ ด้วยพลาสติก Polyethylene ชนิด high density ท่ีมีคุณสมบัติ ตา้ นทานเปลวไฟ มีความแข็งแรงสูงยืดหยุ่นตวั ไดด้ ีจึงไม่ตอ้ งดดั ท่อทาํ ให้เดินท่อไดส้ ะดวก มีขนาดต้งั แต่ 1/2\" ข้นึ ไป เหมาะสาํ หรับใชง้ านเดินสายบนผวิ ในที่โลง่ หรือซ่อนบนฝ้าเพดานในอาคาร 3) ท่อพีเฟล็ค (PFLEX) เป็ นท่อท่ีมีลกั ษณะเป็ นปลอ้ ง ๆ มีความอ่อนตวั โคง้ งอไดส้ ะดวก คลา้ ยกบั ท่อโลหะอ่อน มีความยาวต้งั แต่ 30 - 50 เมตรข้ึนอยู่กบั ขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลางของทอ่ มีท้งั ชนิดฝังใน คอนกรีตและชนิดผสมสารกนั ไฟเพ่ือใชใ้ นที่โล่งหรือวางบนฝ้าเพดาน 7.1.4 รางเดินสายไฟฟ้า รางเดินสายไฟฟ้าที่ใชง้ านเดินสายไฟฟ้าสามารถจาํ แนกตามการใชง้ านไดด้ งั น้ี 7.1.4.1 รางเดินสายชนิดโลหะ หรือท่ีเรียกว่า รางวายเวย์ (Wireway) เป็ นรางชนิดที่ผลิตจากเหล็ก แผ่นบางเคลือบโลหะผสมระหว่างอลูมิเนียมกับสังกะสี เหมาะสําหรับติดต้งั ในที่เปิ ดโล่ง ห้ามใช้เป็ นตวั นาํ สาํ หรับต่อลงดิน 7.1.4.2 รางเดินสายชนิดพวี ีซี (PVC) เป็นรางชนิดท่ีผลิตพลาสติกพวี ีซี มีท้งั ชนิดทึบ และชนิดแขง็ เหมาะสาํ หรับใชเ้ ก็บสายไฟฟ้า สายโทรศพั ท์ และสายสญั ญาณคอมพวิ เตอร์ในอาคาร 7.2 หลกั เกณฑ์การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า หมายถึง ลกั ษณะการส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาํ เนิดไปยงั ผใู้ ชไ้ ฟฟ้า ตามประเภทการใช้ งาน โดยส่งจากสถานีไฟฟ้าผา่ นสายไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟ้ายอ่ ย หมอ้ แปลงแปลงไฟฟ้าใหต้ ่าํ ลง ไปยงั บา้ นพกั อาศยั สํานกั งาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม กรมบญั ชีกลางไดก้ าํ หนดหลกั เกณฑเ์ ก่ียวกบั การประมาณราคางาน ระบบไฟฟ้าไวด้ งั น้ี 7.2.1 ลกั ษณะของการถอดแบบสาํ รวจปริมาณวสั ดุอปุ กรณ์งานระบบไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 แบบไดแ้ ก่ 7.2.1.1 วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีตอ้ งนบั จาํ นวน หมายถึงวสั ดุอปุ กรณ์ที่ปรากฏในแบบหรือรายการประกอบฯ ที่ใชว้ ธิ ีการถอดแบบดว้ ยวิธีนบั จํานวนได้แก่ หม้อแปลง แผงสวิตช์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ดวงโคม สวิตซ์ เต้ารับ อุปกรณ์ระบบโทรศัพท์ ระบบสื่อสาร ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบแจง้ เหตุเพลิงไหม้ ระบบเสียงประกาศ ระบบทีวีรวม ระบบทีวีวงจรปิ ด และอื่นๆ ท่ีมีอยใู่ นแบบและรายการประกอบแบบ

9 7.2.1.2 วสั ดุอุปกรณ์ท่ีตอ้ งวดั ปริมาณ หมายถึง วสั ดุอุปกรณ์ท่ีปรากฏในแบบ ซ่ึงตอ้ งใชว้ ิธีการถอดแบบดว้ ยวิธีวดั ความยาว ไดแ้ ก่ ท่อร้อยสายรางเดินสาย รางเคเบิล Busways สายไฟฟ้า สายโทรศพั ท์ สายสญั ญาณตา่ ง ๆ มีหน่วยความยาวเป็น.... เมตร และใชว้ ธิ ีการถอดแบบดว้ ยวิธีวดั พ้ืนที่ ไดแ้ ก่ ระบบป้องกนั ไฟลาม มีหน่วยเป็น......ตารางเมตร เป็นตน้ 7.2.2 หลกั เกณฑก์ ารถอดแบบสาํ รวจปริมาณงานระบบไฟฟ้า 7.2.2.1 งานระบบไฟฟ้าแรงสูง 1) สวติ ชเ์ กียร์แรงสูง (RMU) บอ่ ดึงสาย บ่อพกั สาย นบั จาํ นวนเป็นชุด 2) เสาไฟฟ้าแรงสูงและอปุ กรณ์ นบั จาํ นวนเป็นชุด (รวมอุปกรณ์ประกอบการติดต้งั ) 3) สายไฟฟ้าแรงสูง วดั ความยาวมีหน่วยเป็นเมตร โดยวดั เผือ่ ปลายสายแนวต้งั ท้งั ดา้ นตน้ ทางและ ปลายทางตามสมควร (ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของผคู้ าํ นวณราคากลาง) 4) Duct Bank วดั ความยาวมีหน่วยเป็นเมตร 7.2.2.2 งานท่อสายเมน ทอ่ สายป้อน (Feeder) และทอ่ สายวงจรยอ่ ย (Branch Circuit) ถอดแบบสํารวจปริมาณด้วยวิธีการวดั ปริมาณความยาวท้ังตามแนวนอนและแนวต้ัง ตามความเป็นจริง โดยคาํ นึงถึงสภาพหนา้ งานจริงท่ีจะติดต้งั ดว้ ย 7.2.2.5 ดวงโคมไฟฟ้า 1) นบั จาํ นวนเป็นชุด โดยแยกเป็นแตล่ ะชนิด ตามท่ีกาํ หนดในแบบ สัญลกั ษณ์ และ รายละเอียดของดวงโคม 2) ดวงโคมท่ีใชช้ ุดควบคุมการเปลี่ยนสี หรือชุด Driver หรือชุดหมอ้ แปลงรวมกนั เช่น ดวง โคมท่ีใชห้ ลอด LED ควรถอดแบบนบั จาํ นวนแยกรายการชุดควบคมุ ตามที่ใชง้ านจริง (3) ดวงโคมประเภทติดต้งั บนราง (Track Light) ใหถ้ อดแบบนบั จาํ นวนดวงโคมเป็นชุด ส่วนราง Track Light ระบคุ วามยาวเป็นเมตร และถอดแบบนบั จาํ นวนเป็นชุดแยกตามขนาดความยาวที่ระบุ 7.2.2.6 สวติ ซ์และเตา้ รับไฟฟ้า 1) นบั จาํ นวนเป็นชุด แยกเป็นแต่ละชนิดตามที่กาํ หนดในแบบ สญั ลกั ษณ์และรายละเอียด สวิตซแ์ ละเตา้ รับไฟฟ้า 2) สวติ ซ์หร่ีไฟแบบดิจิตอลและชุดควบคุม ควรถอดแบบสาํ รวจปริมาณวสั ดุอุปกรณ์แยก รายการเป็ นชุด 7.2.3 หลกั เกณฑก์ ารเผือ่ ปริมาณงานระบบไฟฟ้า 7.2.3.1 งานระบบไฟฟ้าแรงสูง 1) สายไฟฟ้าแรงสูงสายอากาศ เผ่อื ความยาว 20 - 30 % และเผือ่ เบด็ เตลด็ 5 - 10 % 2) สายไฟฟ้าแรงสูงใตด้ ิน เผ่ือความยาว 10 - 15 % และเผอื่ เบด็ เตลด็ 10 - 15 % 3) HV Duct Bank เผือ่ ความยาว 10 - 15 % และเผ่ือเบด็ เตลด็ 10 - 15 %

10 7.2.3.2 งานท่อสายเมน 1) ท่อร้อยสายไฟฟ้าเผื่อความยาว 5 - 10 % และเผื่อเบด็ เตลด็ 15 - 20 % 2) สายไฟฟ้า เผอื่ ความยาว 5 - 10 % และเผื่อเบด็ เตลด็ 5 - 10 % 7.2.3.3 งานท่อสายป้อน (Feeder) 1) ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าเผื่อความยาว 10 - 15 % และเผ่อื เบด็ เตลด็ 15 - 20 % 2) สายไฟฟ้า เผอ่ื ความยาว 10 - 15 % และเผื่อเบด็ เตลด็ 5 - 10 %7.2.3.4 งานทอ่ สายวงจรยอ่ ย (Branch Circuit) 1) ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าเผอ่ื ความยาว 15 - 20 % และเผื่อเบด็ เตลด็ 15 - 20 % 2) สายไฟฟ้า เผือ่ ความยาว 15 - 20 % และเผื่อเบด็ เตลด็ 5 - 10 % 7.1.3.5 เปอร์เซ็นตก์ ารเผ่ือความยาว หมายถึง การเผ่อื เศษท่อ เศษสาย ความสูญเสียจาการติดต้งั และ เผ่อื ความสูญเสียจากความยาวทอ่ ที่ไมส่ ามารถใชท้ ่อไดเ้ ตม็ ความยาว 7.1.3.6 เปอร์เซ็นตก์ ารเผื่อเบ็ดเตลด็ หมายถึง การเผื่ออุปกรณ์ท่อสาย อุปกรณ์ประกอบสายไฟฟ้าที่ ใชใ้ นการเดินสายไฟฟ้า เช่นกล่องดึงสาย ขอ้ ตอ่ ขอ้ งอ เทปพนั สาย น้าํ ยาร้อยสาย เป็นตน้ 7.3 วธิ กี ารประมาณราคางานไฟฟ้า การประมาณราคางานระบบไฟฟ้า มีวิธีการดงั น้ี 1. ศึกษาแบบแปลนไฟฟ้าของอาคารแตล่ ะช้นั รายการประกอบแบบและสญั ลกั ษณ์ต่างๆของงานไฟฟ้า 2. นบั จาํ นวนวสั ดุ อุปกรณ์ต่างๆของระบบไฟฟ้าท่ีใช้หน่วยเป็ นจาํ นวนนบั จากแบบแปลนไฟฟ้า โดย แยกตามสัญลกั ษณ์ที่กาํ หนด 3. ศึกษาวิธีการเดินสายไฟฟ้าของอาคาร เช่นเดินแบบเปิ ด (คลิปรัดสาย) หรือเดินแบบปิ ด (ร้อยท่อ) และ ขอ้ มูลวสั ดุท่ีใชใ้ นงานเดินสายไฟฟ้า จากรายการประกอบแบบไฟฟ้า 4. ศึกษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั วสั ดุอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นระบบไฟฟ้าทุกชนิดที่ระบุในรายการประกอบแบบ เพื่อให้ ทราบลกั ษณะท่ีสาํ คญั เก่ียวกบั วสั ดุแตล่ ะชนิด เช่น ชนิดของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า สายไฟฟ้า 5. ศึกษาระบบการเดินสายไฟฟ้า และระบบท่อร้อยสายไฟฟ้าแตล่ ะจุด 6. หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า โดยประมาณระยะความยาวในแนวราบแต่ละจุดจากแบบแปลน ไฟฟ้า และหาระยะตามแนวด่ิงจากระดบั ฝ้าเพดานถึงความสูงของตาํ แหน่งสวติ ซห์ รือตาํ แหน่งเตา้ รับ ปริมาณท่อร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง

11 7. หาความยาวของ และสายไฟฟ้าโดยประมาณระยะความยาวในแนวราบแต่ละจุดจากแบบแปลนไฟฟ้า และ หาระยะตามแนวด่ิงจากระดบั ฝ้าเพดานถึงความสูงของตาํ แหน่งสวิตซ์หรือตาํ แหน่งเตา้ รับ เช่นเดียวกบั ความยาว ของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า ปริมาณสายไฟฟ้างานระบบดวงโคมแสงสว่าง เดินแบบเปิ ด (คลิปรัดสาย) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) เดินแบบปิ ด (ร้อยทอ่ ) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 ปริมาณสายไฟฟ้างานระบบเต้ารับ เดินแบบเปิ ด (คลิปรัดสาย) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) เดินแบบปิ ด (ร้อยท่อ) = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 3 8. คาํ นวณหาปริมาณวสั ดุอุปกรณ์ท้งั หมดและเผื่อความยาวของวสั ดุแต่ละชนิด และเผ่ือเบ็ดเตล็ดเป็ น เปอร์เซ็นตต์ ามหลกั เกณฑก์ ารเผอื่ ปริมาณงานระบบไฟฟ้าของกรมบญั ชีกลาง 9. สืบราคาวสั ดุ ค่าแรง งานระบบไฟฟ้าต่าง ๆ จากแหล่งขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อคาํ นวณค่าใชจ้ ่ายท้งั หมด ของงานระบบไฟฟ้า ตวั อย่างที่ 7.1 จากแบบที่กาํ หนดใหต้ ่อไปน้ี จงหาปริมาณวสั ดุงานระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งที่มีหน่วยเป็นจาํ นวน นบั ของอาคารพกั อาศยั ช้นั เดียว รายการประกอบแบบไฟฟ้าแสงสว่าง สัญลกั ษณ์ รายละเอยี ด หมายเหตุ โคมไฟกลม 1 36 วตั ต์ 1. การเดินสายไฟฟ้าท้งั หมดเดินลอยท้งั สิ้น ดาวน์ไลท์ 2. สายไฟฟ้าท้งั หมดใชต้ ามมาตฐานการไฟฟ้า โคมนีออน 1 36 วตั ต์ 3. สายไฟฟ้าท่ีเดินบนโครงหลงั คาให้ร้อยดว้ ยท่อพีวซี ี สวติ ซ์ปิ ด – เปิ ด สูงจากพ้ืน 1.50 ม. 4. บลอ๊ คไฟใหฝ้ ังผนงั พดั ลมดูดอากาศขนาด 12 นิ้ว 5. ติดต้งั ออดภายในอาคาร 1 ชุด เตา้ รับมขี าดิน สูงจากพ้ืน 1.50 ม. โคมไฟภายในและภายนอกอาจมีการเปล่ียนแปลงไดข้ ณะ ก่อสร้าง เตา้ รับโทรศพั ท์ จาํ นวนไฟแสงสว่างอาจมีการเพม่ิ จดุ หรือลดลงตามความ เหมาะสม แผงควบคมุ (ตามมาตรฐานการไฟฟ้า) หลกั สายดินทองแดงหุ้มเหลก็ ยาว 1.50 ม. (ตามมาตรฐานการไฟฟ้า)

12 ซกั ลา้ ง หอ้ งน้าํ ครัว หอ้ งนอน 1 หอ้ งน้าํ ห้องนอน 2 หอ้ งนอน 3 อาหาร รับแขก เฉลียง แปลนไฟฟ้าแสงสว่าง

วธิ ที ํา 13 นบั จาํ นวนวสั ดุ อปุ กรณ์ต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าจากแบบแปลนไฟฟ้าแสงสวา่ งไดด้ งั น้ี สัญลักษณ์ รายละเอยี ด จาํ นวน 7 ชุด โคมไฟกลม 1 36 วตั ต์ 25 ชุด 3 ชุด ดาวน์ไลท์ 14 ชุด 31 ชุด โคมนีออน 1 36 วตั ต์ 4 ชุด สวติ ซป์ ิ ด – เปิ ด สูงจากพ้ืน 1.50 ม. 4 ชุด 1 ชุด เตา้ รับมีขาดิน สูงจากพ้ืน 1.50 ม. 1 ชุด เตา้ รับสายอากาศโทรทศั น์ เตา้ รับโทรศพั ท์ แผงควบคุม ติดผนงั สูงจากพ้ืน 1.80 ม. (ตามมาตรฐานการไฟฟ้า) หลกั สายดินทองแดงหุม้ เหลก็ ยาว 1.50 ม. (ตามมาตรฐานการไฟฟ้า)

14 ตัวอย่างที่ 7.2 จากแบบรูปตดั ท่ีกาํ หนดให้ต่อไปน้ี และขอ้ มูลตามตวั อยา่ งที่ 7.1 จงหาปริมาณวสั ดุ อุปกรณ์งาน ไฟฟ้าแสงสวา่ งที่ใชว้ ิธีการหาปริมาณโดยการวดั ความยาวภายในหอ้ งอาหารและหอ้ งรับแขกของอาคารพกั อาศยั ช้นั เดียว กระเบ้ืองหลงั คาลอนคู่ (ระบุสีและรุ่นภายหลงั ) ตะเฆร่ าง / สนั เหลก็ 2C - 200 × 75 × 20 × 3.2 มม. อเสเหลก็ 2C - 150 × 75 × 20 × 3.2 มม. อกไก่เหลก็ 2C - 200 × 75 × 20 × 3.2 มม. ระดบั หลงั อกไก่ + 6.55 จนั ทนั เหลก็ C - 125 × 50 × 20 × 3.2 มม. เชิงชาย ไมเ้ น้ือแขง็ 1 1/8” × 8” ด้งั เหลก็ 2C - 150 × 50 × 20 × 3.2 มม. แปสาํ หรับกระเบ้ืองลอนคู่ @ 0.50 ม. ร+ะ4ด.บั15หลงั อเส ระดบั พ้ืน + 0.85 หอ้ งนอน รับแขก ระดบั ดิน + 0.00 รูปตดั

15 รายละเอยี ดข้อกาํ หนดเกย่ี วกับงานไฟฟ้าแสงสว่าง สายวงจรยอ่ ยแสงสวา่ ง สายแยกจากสวติ ซเ์ ขา้ ดวงโคม และสายดินใชส้ าย IEC 01 ขนาด 2.5 ตร.มม. เดินในท่อร้อยสาย อโลหะชนิดยพู วี ีซี (uPVC) สายวงจรยอ่ ยเตา้ รับไฟฟ้า สายระหวา่ งเตา้ รับไฟฟ้า และสายดินใชส้ าย IEC 01 ขนาด 2.5 ตร.มม. เดนิ ในทอ่ ร้อยสายอโลหะ ชนิด ยพู วี ีซี (uPVC) วิธีทาํ 1. ศึกษารายการประกอบแบบ และรูปตดั อาคาร เพ่อื ใหท้ ราบขอ้ มลู ดงั น้ี ความสูงจากพ้นื ช้นั ท่ี 1 ถึงระดบั ฝ้าเพดาน = 3.30 เมตร ความสูงของตแู้ ผงเมนสวิตซ์ สูงจากพ้นื = 1.80 เมตร ความสูงของสวติ ซจ์ ากพ้นื = 1.50 เมตร สายเมนวงจรยอ่ ย ขนาด = 2.50 ตร.มม. (สาย IEC 01) สายวงจรยอ่ ยแสงสวา่ งและเตา้ รับ = ขนาด 2.50 ตร.มม. (สาย IEC 01) ระยะแนวด่ิงของตูแ้ ผงเมนสวิตซ์ = ความสูงจากพ้นื ถึงฝ้าเพดาน - ความสูงของตแู้ ผงเมนสวิตซ์ จากพ้ืน = 3.30 - 1.80 = 1.50 เมตร ระยะแนวด่ิงของสวิตซ์ = ความสูงจากพ้นื ถึงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวิตซจ์ ากพ้นื = 3.30 - 1.50 = 1.80 เมตร ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าท้งั หมด = ท่ออโลหะชนิด uPVC หมายเหตุ สายไฟฟ้าชนิด IEC 01 นิยมเรียกว่า “สาย THW” เป็ นสายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว ใช้ในงาน ติดต้งั เดินสายไฟฟ้าทว่ั ไป นิยมนาํ มาเดินสายไฟฟ้าแบบร้อยท่อ หา้ มใชง้ านเดินสายไฟฟ้าร้อยท่อฝัง ดินหรือฝังดินโดยตรง การเดินสายระบบไฟฟ้าแสงสว่างด้วยสายไฟฟ้าชนิดน้ีแต่ละจุดจะใช้ สายไฟฟ้า 2 เส้น ไดแ้ ก่ สายไฟฟ้า และสายดิน ดงั น้นั ปริมาณสายไฟฟ้าท้ังหมด = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง) × 2

16 กาํ หนดจุดเดินสายไฟฟ้าเพอื่ ติดต้งั ดวงโคมภายในอาคารตามสวทิ ซแ์ ตล่ ะจุดดงั รูป ซกั ลา้ ง หอ้ งน้าํ ครัว หอ้ งน้าํ หอ้ งนอน 1 จดุ ท่ี 1 ห้องนอน 2 หอ้ งนอน 3 จดุ ท่ี 2 อาหาร รับแขก เฉลียง จดุ ท่ี 5 จุดท่ี 3 จุดท่ี 4 แปลนไฟฟ้าแสงสวา่ ง

17 3. หาปริมาณวสั ดุโดยแยกตามจุดที่กาํ หนดไว้ 3.1 ภายในห้องนอน จดุ ที่ 1 (ต่อจากแผงเมนสวติ ซ์) 1) เขียนเส้นแนวเดินสายไฟฟ้าเพือ่ ติดต้งั ดวงโคมและวดั ความยาวตามแนวเส้นประ ดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง ห้องน้าํ ครัว หอ้ งน้าํ ห้องนอน 1 จดุ ท่ี 1 ห้องนอน 2 หอ้ งนอน 3 รับแขก อาหาร เฉลียง แปลนไฟฟ้าแสงสว่าง

18 2) หาความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง ความยาวแนวราบ = ระยะจากตูแ้ ผงเมนสวติ ซ์ ถึงตาํ แหน่งสวติ ซ์และดวงโคม = 3.50 + 3.50 = 7 เมตร ความยาวแนวด่ิงของตูแ้ ผงเมนสวติ ซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของตแู้ ผงเมนสวิตซจ์ ากพ้ืน = 1.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของสวิตซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวิตซจ์ ากพ้ืน = 1.80 เมตร ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = 7 + 1.50 + 1.80 ตอบ = 10.30 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า 3.1) สายเมนวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้าจากตแู้ ผงเมนสวติ ซ์ - ตาํ แหน่งสวิตซ์ = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 = (3.50 + 1.50) × 2 ตอบ = 10 เมตร 3.2) สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้าจากตาํ แหน่งสวติ ซ์ - ดวงโคม = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแต่ละจุด ถึงตาํ แหน่งสวิตซ์ = 3.50 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = จาํ นวนจุดของสวติ ซ์ × ระยะแนวด่ิงของสวิตซ์ = 1 × 1.80 = 1.80 เมตร ความยาวของสายไฟฟ้า = (3.50 + 1.80) × 2 ตอบ = 10.60 เมตร

19 3.2 ภายในห้องนอน จดุ ท่ี 2 (ต่อจากจดุ ที่ 1) 1) เขยี นเส้นแนวเดินสายไฟฟ้าเพ่ือติดต้งั ดวงโคมและวดั ความยาวตามแนวเสน้ ประ ดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง ห้องน้าํ ครัว ห้องนอน 1 ห้องน้าํ จดุ ท่ี 1 ห้องนอน 2 ห้องนอน 3 รับแขก จดุ ที่ 2 อาหาร เฉลียง แปลนไฟฟ้าแสงสว่าง 2) หาความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง

20 ความยาวแนวราบ = ระยะจากตาํ แหน่งสวติ ซถ์ ึงดวงโคมแต่ละจุด = 1.00 + 3.50 + 3.50 +3.50 = 11.50 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวติ ซ์จากพ้ืน = 1.80 เมตร ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าท้งั หมด = 11.50 + 1.80 ตอบ = 13.30 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้า = ความยาวของสายไฟฟ้าจากตาํ แหน่งสวิตซ์ - ดวงโคม = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแตล่ ะจุด ถึงตาํ แหน่งสวิตซ์ = 1.00 + 3.50 + 3.50 +3.50 = 11.50 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = จาํ นวนจุดของสวติ ซ์ × ระยะแนวด่ิงของสวิตซ์ = 1 × 1.80 = 1.80 เมตร ความยาวของสายไฟฟ้าท้งั หมด = (11.50 + 1.80) × 2 ตอบ = 26.60 เมตร

21 3.3 ภายในห้องรับแขก จุดท่ี 3 (ต่อจากแผงเมนสวติ ซ์) 1) เขียนเสน้ แนวเดินสายไฟฟ้าเพ่อื ติดต้งั ดวงโคมและวดั ความยาวตามแนวเส้นประ ดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง ห้องน้าํ ครัว หอ้ งน้าํ ห้องนอน 1 หอ้ งนอน 3 หอ้ งนอน 2 รับแขก 3.50 อาหาร 5.00 เฉลียง จุดที่ 3 แปลนไฟฟ้าแสงสว่าง 2) หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง

22 ความยาวแนวราบ = ระยะจากตูแ้ ผงเมนสวติ ซ์ ถึงตาํ แหน่งสวิตซ์จุดท่ี 3 และดวง โคม = 3.50 + 5.00 + 1.00 + 3.50 = 13 เมตร ความยาวแนวด่ิงของตูแ้ ผงเมนสวติ ซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของตแู้ ผงเมนสวติ ซ์จากพ้ืน = 1.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของสวติ ซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวิตซ์จากพ้ืน = 1.80 เมตร ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = 13 + 1.50 + 1.80 ตอบ = 16.30 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า 3.1) สายเมนวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้าจากตแู้ ผงเมนสวิตซ์ - ตาํ แหน่งสวิตซ์ = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 = (3.50 + 5.00 + 1.50) × 2 ตอบ = 20 เมตร 3.2) สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้าจากตาํ แหน่งสวิตซ์ - ดวงโคม = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 = (1.00 + 3.50) × 2 ตอบ = 9 เมตร

23 3.4 ภายในห้องรับแขก จดุ ท่ี 4 (ต่อจากสวติ ซ์จดุ ที่ 3) 1) เขียนเสน้ แนวเดินสายไฟฟ้าเพอ่ื ติดต้งั ดวงโคมและวดั ความยาวตามแนวเสน้ ประ ดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง ห้องน้าํ ครัว ห้องน้าํ หอ้ งนอน 1 หอ้ งนอน 3 ห้องนอน 2 รับแขก อาหาร เฉลียง จุดท่ี 3 จุดท่ี 4 แปลนไฟฟ้าแสงสวา่ ง 2) หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง

24 ความยาวแนวราบ = ระยะจากตาํ แหน่งสวติ ซถ์ ึงดวงโคมแต่ละจุด = 3.50 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวติ ซ์จากพ้ืน = 1.80 เมตร ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าท้งั หมด = 3.50 + 1.80 ตอบ = 5.30 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้า = ความยาวของสายไฟฟ้าจากตาํ แหน่งสวติ ซ์ - ดวงโคม = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแต่ละจุด ถึงตาํ แหน่งสวิตซ์ = 3.50 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = จาํ นวนจุดของสวติ ซ์ × ระยะแนวด่ิงของสวิตซ์ = 1 × 1.80 = 1.80 เมตร ความยาวของสายไฟฟ้าท้งั หมด = (3.50 + 1.80) × 2 ตอบ = 10.60 เมตร

25 3.5 ภายในห้องรับแขก จดุ ท่ี 5 (ต่อจากสวติ ซ์จดุ ท่ี 4) 1) เขยี นเสน้ แนวเดินสายไฟฟ้าเพือ่ ติดต้งั ดวงโคมและวดั ความยาวตามแนวเสน้ ประ ดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง หอ้ งน้าํ ครัว หอ้ งน้าํ ห้องนอน 1 ห้องนอน 3 หอ้ งนอน 2 รับแขก อาหาร เฉลียง จดุ ท่ี 5 จดุ ที่ 4 แปลนไฟฟ้าแสงสวา่ ง 2) หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดิ่ง

26 ความยาวแนวราบ = ระยะจากตาํ แหน่งสวติ ซถ์ ึงดวงโคมแตล่ ะจุด = 3.50 + 3.50 + 3.50 +3.50 = 14 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของสวติ ซจ์ ากพ้ืน = 1.80 เมตร ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้าท้งั หมด = 14 + 1.80 ตอบ = 15.80 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า สายวงจรยอ่ ย ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม. ความยาวของสายไฟฟ้า = ความยาวของสายไฟฟ้าจากตาํ แหน่งสวิตซ์ - ดวงโคม = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 2 ความยาวแนวราบ = ระยะจากดวงโคมแตล่ ะจุด ถึงตาํ แหน่งสวิตซ์ = 3.50 + 3.50 + 3.50 +3.50 = 14 เมตร ความยาวแนวดิ่ง = จาํ นวนจุดของสวติ ซ์ × ระยะแนวด่ิงของสวิตซ์ = 1 × 1.80 = 1.80 เมตร ความยาวของสายไฟฟ้าท้งั หมด = (14 + 1.80) × 2 ตอบ = 31.60 เมตร 4. รวมปริมาณวสั ดุท้งั หมด 4.1 ท่อร้อยสายไฟฟ้า ชนิด uPVC ความยาวท้งั หมด = 10.30 + 13.30 + 16.30 + 5.30 + 15.80 ตอบ = 61 เมตร 4.2 งานสายเมนวงจรยอ่ ยแสงสวา่ ง ความยาวท้งั หมด = 10 + 20 ตอบ = 30 เมตร 4.2 งานสายวงจรยอ่ ยแสงสวา่ ง ความยาวท้งั หมด = 10.60 + 26.60 + 9 + 10.60 + 31.60 ตอบ = 88.40 เมตร 5. เผอ่ื ปริมาณวสั ดุท้งั หมดตามหลกั เกณฑข์ องกรมบญั ชีกลาง 5.1 ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า ชนิด uPVC ความยาวท้งั หมด = 61 เมตร

27 เผือ่ ความยาว 5 เปอร์เซ็นต์ = 61 × 1.05 ตอบ = 64.05 เมตร ตอบ ตอบ เผ่อื เบด็ เตลด็ 15 เปอร์เซ็นต์ = 64.05 × 1.15 = 73.66 เมตร ปริมาณงานทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าท้งั หมด = 74 เมตร 5.2 งานสายเมนวงจรยอ่ ยแสงสวา่ ง (สายไฟฟ้า ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.) ความยาวท้งั หมด = 30 เมตร เผ่อื ความยาว 5 เปอร์เซ็นต์ = 30 × 1.05 = 31.50 เมตร เผื่อเบด็ เตลด็ 5 เปอร์เซ็นต์ = 31.50 × 1.05 = 33.08 เมตร ปริมาณงานสายไฟฟ้าท้งั หมด = 34 เมตร 5.3 งานสายวงจรยอ่ ยแสงสว่าง (สายไฟฟ้า ชนิด IEC 01 ขนาด 2.50 ตร.มม.) ความยาวท้งั หมด = 88.40 เมตร เผอ่ื ความยาว 15 เปอร์เซ็นต์ = 88.40 × 1.15 = 101.66 เมตร เผอื่ เบด็ เตลด็ 5 เปอร์เซ็นต์ = 101.66 × 1.05 = 106.74 เมตร ปริมาณงานสายไฟฟ้าท้งั หมด = 103.74 เมตร

28 ตัวอย่างท่ี 7.3 จากแบบและขอ้ มลู ตามตวั อยา่ งท่ี 7.2 จงหาปริมาณวสั ดุงานระบบเตา้ รับไฟฟ้าภายในหอ้ งนอน 3 วิธีทํา 1) เขียนเส้นแนวเดินสายไฟฟ้าเพ่ือติดต้งั เตา้ รับภายในหอ้ งนอน 3 และวดั ความยาวตามแนวราบดงั รูปต่อไปน้ี ซกั ลา้ ง หอ้ งน้าํ ครัว ห้องนอน 1 1.00 หอ้ งน้าํ หอ้ งนอน 2 รับแขก ห้องนอน 3 อาหาร เฉลียง แปลนไฟฟ้าแสงสวา่ ง

29 2) หาความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง ความยาวแนวราบ = ระยะจากแผงเมนสวิทซถ์ ึงตาํ แหน่งเตา้ รับแต่ละจุด = 1.00 + 3.50 = 4.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของแผงเมนสวิทซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน – ความสูงของแผงเมนสวทิ ซ์ = 3.30 - 1.80 = 1.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของตาํ แหน่งเตา้ รับ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของตาํ แหน่งเตา้ รับ = 3.30 - 1.50 = 1.80 เมตร ความยาวของท่อร้อยสายไฟฟ้า = 4.50 + 1.50 + 1.80 = 7.80 เมตร เผื่อความยาว 15 เปอร์เซ็นต์ = 7.80 × 1.15 = 8.97 เมตร เผอื่ เบด็ เตลด็ 15 เปอร์เซ็นต์ = 8.97 × 1.15 = 10.32 เมตร ตอบ ปริมาณงานทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า = 10.32 เมตร 3) หาความยาวของสายไฟฟ้า ความยาวของสายไฟฟ้า = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวด่ิง) × 3 ความยาวแนวราบ = ระยะจากแผงเมนสวทิ ซ์ถึงตาํ แหน่งเตา้ รับแตล่ ะจุด = 1.00 + 3.50 = 4.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของแผงเมนสวิทซ์ = ความสูงฝ้าเพดาน – ความสูงของแผงเมนสวทิ ซ์ = 3.30 - 1.80 = 1.50 เมตร ความยาวแนวดิ่งของตาํ แหน่งเตา้ รับ = ความสูงฝ้าเพดาน - ความสูงของตาํ แหน่งเตา้ รับ = 3.30 - 1.50 = 1.80 เมตร ความยาวของสายไฟฟ้า = (3.50 + 1.50 + 1.50) × 3 ตอบ = 19.50 เมตร

30 หมายเหตุ 1. กรณีเดินสายเตา้ รับไฟฟ้าแบบร้อยท่อ โดยทวั่ ไปนิยมใชส้ ายไฟฟ้าชนิด “สาย THW” เป็นสายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว ใชใ้ นงานติดต้งั เดินสายไฟฟ้าทว่ั ไป นิยมนาํ มาเดินสายไฟฟ้าแบบร้อย ท่อ หา้ มใชง้ านเดินสายไฟฟ้าร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง การเดินสายระบบไฟฟ้าเตา้ รับดว้ ย สายไฟฟ้าชนิดน้ีแต่ละจุดจะใชส้ ายไฟฟ้า 3 เส้น ได้แก่ สายไฟฟ้า และสายดิน และสายนิวทรัล ดงั น้นั ปริมาณสายไฟฟ้าท้ังหมด = (ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดงิ่ ) × 3 2. กรณีเดินสายเตา้ รับไฟฟ้าสายไฟฟ้าแบบเดินลอย (ตีกิ๊บ) โดยทวั่ ไปนิยมใชส้ ายไฟฟ้าชนิด “สาย VAF” เป็ นสายไฟฟ้าท่ีมีลกั ษณะเป็ นสายแบน ๆ สีขาว การเดินสายระบบไฟฟ้าเตา้ รับด้วย สายไฟฟ้าชนิดน้ีแตล่ ะจุดจะใชส้ ายไฟฟ้า 1 เส้น ดงั น้นั ปริมาณสายไฟฟ้าท้ังหมด = ความยาวแนวราบ + ความยาวแนวดงิ่ 4) เผอ่ื ความยาวของสายไฟฟ้าตามหลกั เกณฑข์ องกรมบญั ชีกลาง ตอบ เผ่ือความยาว 15 เปอร์เซ็นต์ = 20.40 × 1.15 = 23.46 เมตร เผือ่ เบด็ เตลด็ 5 เปอร์เซ็นต์ = 23.46 × 1.05 = 24.63 เมตร ปริมาณงานสายไฟฟ้า = 24.63 เมตร

31 ชือ่ วชิ า ประมาณราคางานสถาปต� ยกรรม แบบฝก หัดหนว ยท่ี 7 ช่ือหน่วย การประมาณราคางานไฟฟา้ เวลาเรยี นรวม 54 ชั่วโมง 3 คร้ังที่ 12-13 หนวยที่ 7 การประมาณราคางานไฟฟ้า จำนวน 6 ชว่ั โมง คาํ ชี้แจง จงแสดงวิธีทาํ 1. จากแบบก่อสร้างที่กาํ หนดใหต้ ่อไปน้ี จงหาปริมาณวสั ดุงานระบบไฟฟ้าของอาคารพกั อาศยั 1.501.00 จดุ0ท6่ีf2 5.00 j 6.00 4.00 จ0ดุ 6ทfี่ 1 muj แปลนไฟฟ้าแสงสว่าง

32 สัญลักษณ์ รายการประกอบแบบไฟฟ้า รายละเอยี ด ดวงโคมดาวไลท์ ขนาด ø 100 มม. ติดฝังฝ้าเพดาน หลอดแอลอีดี ข้วั เกลียว ขนาด 7 วตั ต์ ความสว่างไม่นอ้ ยกวา่ 600 ลูเมน ดวงโคม LED TUBE (T8) แบบเปลือย ติดลอย หลอด 1 - 10 วตั ต์ ความสวา่ ง 800 ลูเมน ดวงโคม LED TUBE (T8) แบบเปลือย ติดลอย หลอด 1 - 20 วตั ต์ ความสวา่ ง 1,600 ลเู มน สวติ ซท์ างเดียว 16A 250V 1 สวิตซ์ พร้อมฝาครอบ พีวีซี ติดฝังเรียบสูงจากพ้ืน 1.30 เมตร สวิตซ์ทางเดียว 16A 250V 2 สวติ ซ์ พร้อมฝาครอบ พวี ซี ี ติดฝังเรียบสูงจากพ้ืน 1.30 เมตร แผงเมนสวิตซ์ ติดผนงั สูงจากพ้ืน 1.80 เมตร รูปตดั 1.1 จาํ นวนดวงโคมดาวไลท์ 1.2 จาํ นวนดวงโคม LED TUBE (T8) แบบเปลือย หลอด 1 - 10 วตั ต์ 1.3 จาํ นวนดวงโคม LED TUBE (T8) แบบเปลือย หลอด 1 - 20 วตั ต์ 1.4 จาํ นวนสวติ ซท์ างเดียว 16A 250V 1 สวิตซ์ 1.5 จาํ นวนสวติ ซท์ างเดียว 16A 250V 2 สวิตซ์ 1.6 ความยาวของทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าจุดที่ 1 (จากแผงเมนสวิตซ์ - สวิตซ์ a - c)

33 ช่อื วิชา ประมาณราคางานสถาปต� ยกรรม แบบทดสอบหนวยที่ 7 ช่ือหน่วย การประมาณราคางานไฟฟ้า เวลาเรยี นรวม 54 ชว่ั โมง 3 คร้งั ท่ี 12-13 หนวยที่ 7 การประมาณราคางานไฟฟ้า จำนวน 6 ชวั่ โมง แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยที่ 7 คําชี้แจง จงเลือกคาํ ตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. สายไฟฟ้าชนิดใดเหมาะสาํ หรับใชใ้ นงานเดินสายไฟฟ้าแบบเปิ ด โดยใชค้ ลิปรัดสายไฟฟ้า ก. VAF ข. VTC ค. THW ง. NYY 2. ท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิด พวี ซี ี สีเหลือง เหมาะสาํ หรับใชง้ านเดินสายไฟฟ้าตามขอ้ ใดมากท่ีสุด ก. เดินฝังดิน ข. เดินผงั ในผนงั ค. เดินลอยบนผนงั ง. เดินลอยในท่ีเปี ยกช้ืน 3. รางเดินสายไฟฟ้าชนิดใดเหมาะสาํ หรับติดต้งั ในที่เปิ ดโลง่ หา้ มใชเ้ ป็นตวั นาํ สาํ หรับตอ่ ลงดิน ก. รางพีวซี ี ข. รางอโลหะ ค. รางวายเวย์ ง. รางเอชดีพอี ี 4. ตามหลกั เกณฑก์ ารหาปริมาณงานระบบไฟฟ้าของกรมบญั ชีกลางกาํ หนดให้เผ่ือความยาวสายไฟฟ้าแรงสูง สายอากาศกี่เปอร์เซนต์ ก. 5 - 10 ข. 10 - 15 ค. 15 - 20 ง. 20 - 25 5. ตามหลกั เกณฑก์ ารหาปริมาณงานระบบไฟฟ้าของกรมบญั ชีกลางกาํ หนดให้เผื่อความยาวท่อสายวงจรย่อยก่ี เปอร์เซนต์ ก. 5 - 7 ข. 5 - 10 ค. 10 - 15 ง. 15 - 20 6. วธิ ีการหาปริมาณงานระบบไฟฟ้าของกรมบญั ชีกลางกาํ หนดใหห้ าปริมาณดวงโคมไฟฟ้า โดยวธิ ีใด ก. นบั เป็นชุดโดยรวมอุปกรณ์ ข. นบั เป็นชุดโดยแยกอปุ กรณ์ ค. นบั เป็นชุดโดยรวมอุปกรณ์แลว้ เผื่อ 3 เปอร์เซนต์ ง. นบั เป็นชุดโดยแยกอุปกรณ์แลว้ เผ่อื 3 เปอร์เซนต์ 7. วสั ดุอุปกรณ์ไฟฟ้าขอ้ ใดที่กรมบญั ชีกลางกาํ หนดใหใ้ ชว้ ธิ ีการประมาณราคาโดยการวดั เชิงปริมาณ ก. เตา้ รับ ข. ดวงโคม ค. แผงสวติ ซ์ ง. ทอ่ ร้อยสายไฟ

34 8. วธิ ีการหาปริมาณสวิตซแ์ ละเตา้ รับ วธิ ีการใดถกู ตอ้ งท่ีสุด ก. นบั เป็นชุด ข. นบั เป็นชุดรวมอุปกรณ์ ค. นบั เป็นชุดแลว้ เผ่ือ 3 เปอร์เซนต์ ง. นบั เป็นชุดแลว้ 5 เปอร์เซ็นต์ 9. วธิ ีการคาํ นวณหาปริมาณทอ่ ร้อยสายวงจรยอ่ ย วิธีการใดถกู ตอ้ งท่ีสุด ก. รวมความยาวในแนวราบ ข. รวมความยาวในแนวราบและแนวดิ่ง ค. รวมความยาวในแนวราบและแนวดิ่งแลว้ เผอื่ 5 - 10 เปอร์เซนต์ ง. รวมความยาวในแนวราบและแนวดิ่งแลว้ เผ่ือ 10 - 15 เปอร์เซนต์ 10. รายการงานไฟฟ้าตามขอ้ ใดต่อไปน้ี ใชว้ ิธีการหาคาํ นวณหาปริมาณโดยการวดั ความยาวท้งั หมด ก. สวติ ซ์ ท่อร้อยสายไฟฟ้า ข. เตา้ รับ ท่อร้อยสายไฟฟ้า ค. ท่อร้อยสายไฟฟ้า เบรกเกอร์ ง. สายไฟฟ้า ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า

35 เฉลยแบบทดสอบ หนวยที่ 7 แบบทดสอบกอนเรยี น 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10 กขคง ง กง กคง แบบทดสอบหลังเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10 กขคง ง กง กคง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook