แผนกวชิ าชา่ งยนต์ ประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน การตรวจประเมนิ การใชพ้ ลงั งาน อานาจ อมิ่ สุข 2561 วิ ท ย า ลั ย เ ท ค นิ ค ป ร า จี น บุ รี
ประสิทธิภาพทางพลงั งานประสิทธิภาพทางพลังงานเป็นคาท่ีกวา้ งมากทรี่ ะบถุ ึงวธิ กี ารหลายต่อหลายวธิ ีที่เราสามารถใช้เพ่อื ให้กจิ กรรมตา่ งๆ (การใช้ไฟ ความรอ้ น การเคลอ่ื นไหว ฯลฯ) ในปรมิ าณเท่าเดิมเสร็จสิ้นได้ดว้ ยการใชพ้ ลงั งานทนี่ อ้ ยลง คานคี้ รอบคลุมถงึ รถยนตท์ มี่ ีประสิทธภิ าพ หลอดไฟประหยัดพลังงาน การปรบั ปรุงการปฏบิ ัติงานของอตุ สาหกรรม การระบายอากาศของอาคารทดี่ ขี น้ึเน่อื งจากการประหยัดพลังงานและการประหยัดเงนิ มกั ใหพ้ ลงั งานเท่าเดมิ ดังน้ันประสิทธภิ าพทางพลงั งานจงึ ให้ผลตอบแทนสงูใช้พลงั งานนอ้ ยลงแตป่ ระสิทธิภาพดกี วา่ประสทิ ธิภาพทางพลังงานมกั ใหผ้ ลในดา้ นบวกจานวนมาก ตัวอย่างเช่น เครอ่ื งซักผา้ หรือเคร่อื งล้างจานที่มปี ระสทิ ธิภาพใช้นา้ น้อยลง ประสิทธภิ าพยังมอบความสะดวกสบายในระดบั ท่ีสงู ข้ึน ตวั อยา่ งเชน่ บา้ นทีม่ กี ารระบายอากาศท่ดี ีจะอนุ่ ขึน้ ในหนา้ หนาว เย็นลงในหนา้ รอ้ นและมีสภาพน่าอย่มู ากขึ้น ต้เู ยน็ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพจะสง่ เสยี งดงั น้อยลง ไมม่ ีน้าแขง็ จบั ตัวเปน็ก้อน ไอน้าไม่จับตัวเปน็ ของเหลวดา้ นนอก และมีแนวโน้มที่จะมีอายนุ านขน้ึ การใช้ไฟทม่ี ีประสทิ ธภิ าพจะใหแ้ สงสวา่ งมากข้ึนในท่ที ี่คุณต้องการ ดังนัน้ \"ประสทิ ธภิ าพ\" จริงๆ แลว้หมายถึง \"ใชพ้ ลังงานนอ้ ยลงแต่ดกี วา่ \"ความมปี ระสิทธภิ าพมศี ักยภาพมหาศาล มีหลายวธิ ีการง่ายๆ ทคี่ ุณสามารถทาได้ เช่น ตดิ ต้ังเครื่องระบายอากาศเพม่ิ เติมบนหลงั คา ใชก้ ระจกและประตูหน้าต่างทร่ี ะบายความร้อนไดด้ ีเย่ียม หรอื ซอ้ื เคร่อื งซักผ้าที่มปี ระสทิ ธิภาพสูงเม่อื เครือ่ งเกา่ ชารดุ ตัวอยา่ งเหลา่ น้ีจะช่วยประหยัดทงั้ เงนิ ท้ังพลงั งาน แต่การประหยัดสงู สุดจะไม่เกดิ ขึ้นจากวธิ ีการทเ่ี พมิ่ มากข้นึ เรือ่ ยๆเหล่านัน้ ประโยชน์ทีแ่ ท้จริงจะเกิดจากการพิจารณาแนวคดิ ใหมท่ ัง้ หมด เชน่ \"บา้ นทั้งหลงั \"\"รถท้งั คนั \" หรอื แม้แต่ \"ระบบขนส่งมวลชนทัง้ ระบบ\" เมอื่ คุณทาเชน่ นี้ คุณจะลดการใช้พลงั งานลงได้ 4 ถึง 10 เทา่ ของพลงั งานท่ีจาเป็นต้องใช้ในปจั จบุ ันยกตัวอย่างเช่นบา้ นหลังหน่งึ หากมกี ารระบายอากาศท่เี หมาะสมทภ่ี ายนอกทัง้ หมด (จากหลังคาถงึ หอ้ งใตด้ นิ ) ซงึ่ ต้องลงทนุ เพิม่ เตมิ จะต้องใช้ความรอ้ นต่ามากจนคุณสามารถติดต้งัระบบทาความร้อนที่เลก็ และถูกลง ซงึ่ จะชดเชยค่าใช้จ่ายสาหรบั ติดต้งั การระบายอากาศเพิ่มเตมิ ผลทไี่ ด้คือบ้านทต่ี อ้ งการพลงั งานเพียง 1 ใน 3 โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ยแพงขึ้นในการ
สร้าง และหากมกี ารระบายอากาศเพมิ่ ขนึ้ โดยติดตง้ั ระบบระบายอากาศทีม่ ปี ระสิทธภิ าพสงูบา้ นจะร้อนนอ้ ยลงเหลอื 1 ใน 10 ซง่ึ ฟงั ดูยอดเย่ยี มมาก แต่สงิ่ เหลา่ น้ีเกิดข้ึนจริงแลว้ โดยบ้านทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ถูกสรา้ งขึ้นในยโุ รปใน 10 ปที ผี่ า่ นมา นไ่ี ม่ใช่ความฝนั แห่งอนาคต แต่เป็นสว่ นหนึ่งของชวี ติ ประจาวนั ของหลายพนั ครอบครัวอกี ตัวอย่างหนงึ่ คอื ให้คุณจนิ ตนาการว่าเป็นผจู้ ัดการสานกั งาน ตลอดทั้งหน้ารอ้ นเครือ่ งปรบั อากาศปัม๊ ความเยน็ ไปท่ตี วั พนกั งานเพ่ือให้พวกเขาทางานไดแ้ ข็งขนั ขน้ึ การทาอยา่ งนเี้ สียคา่ ใช้จา่ ยสูงมาก คณุ สามารถให้วศิ วกรทีฉ่ ลาดปรับปรงุ ประสิทธภิ าพของเครอื่ งปมั๊ความเย็น แตแ่ ทนที่จะทาอย่างนั้น ทาไมไมห่ ยุดคิดแล้วพิจารณาทั้งระบบ ถ้าเราปรบั ปรุงสานกั งานให้ปอ้ งกันแสงอาทติ ยไ์ มใ่ หส้ ่งความร้อนมายงั สานกั งานจนเหมือนเตาอบ จากนน้ั จึงติดตั้งคอมพวิ เตอร์ เครือ่ งถ่ายเอกสาร และไฟท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพทางพลงั งาน (ซึ่งประหยดั ไฟและปลอ่ ยความร้อนนอ้ ยลง) จากนั้นติดตง้ั ระบบปรบั อากาศทไี่ ม่ใชก้ าลงั ในการทางาน เชน่การระบายอากาศในตอนกลางคืน คุณอาจพบว่าระบบปรบั อากาศไมจ่ าเป็นอกี ตอ่ ไป และแน่นอนว่าหากอาคารได้รับการวางแผนและสร้างอยา่ งเหมาะสมแล้ว คุณจะไม่ซ้อืเครือ่ งปรบั อากาศต้ังแต่แรกมุ่งไปข้างหนา้อาจมีคาถามว่า ถา้ การใชพ้ ลังงานน้อยลงทาให้ประหยัดลงอย่างมากเชน่ น้ี ทาไมทุกคนไม่ลงมือทาล่ะ เราขอบอกว่าหลายคนใชป้ ระโยชน์จากประสทิ ธภิ าพทางพลังงาน ขอ้ มลู จากสภาแหง่ สหรฐั อเมริกาเพ่ือเศรษฐกิจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพทางพลงั งานระบุว่า การใช้พลงั งานต่อคนในพ.ศ. 2543 เกือบเท่ากับในพ.ศ. 2516 และในชว่ ง 27 ปเี ดยี วกันนัน้ ผลผลิตทางเศรษฐกจิ(ผลิตภณั ฑ์มวลรวมประชาชาติ) ต่อคนเพ่มิ ขน้ึ 74% แต่นี่เปน็ เพียงการเริม่ ตน้ เทา่ นัน้ หากตอ้ งการใชป้ ระโยชนจ์ ากศกั ยภาพมหาศาลของประสิทธภิ าพทางพลงั งาน ซง่ึ โชคไมด่ ีท่ีจบั ตอ้ งไม่ไดเ้ หมอื นพนื้ ท่ีบอ่ น้ามนั เราต้องมนี โยบายของรฐั บาลทเ่ี หมาะสมเสยี กอ่ น เพ่อื ใหไ้ ด้สิง่ นนั้มา เครื่องมือชนิ้ เดียวทส่ี าคัญทสี่ ดุ คอื การกาหนดมาตรฐานของประสทิ ธภิ าพขั้นต่าสาหรับบ้าน สานักงาน รถยนต์ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า เป็นต้น ซ่งึ ต้องแสดงออกมาเป็นคา่ ใชจ้ ่ายของทั้งวงจรชวี ติ ท่นี อ้ ยท่สี ดุ อยา่ งไรกต็ ามรฐั บาลมกั เพกิ เฉยตอ่ มาตรฐานของประสิทธิภาพทางพลังงานหรอื มีมาตรฐานต่าเกินไป นอกจากนร้ี ัฐบาลตา่ งๆ ยังควรควา้ โอกาสทางนโยบายเพิ่มเติมเพ่อืสง่ เสรมิ นวัตกรรมและการปรบั ปรงุ ต่อเนือ่ งของเทคโนโลยีประสิทธภิ าพทางพลังงาน
2. การตรวจประเมินด้านพลังงาน (ENERGY AUDIT)การตรวจประเมินด้านพลังงาน (Energy Audit) คือวิธีการในการตรวจประเมินกระบวนการ หรือเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้พลังงาน เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และการสูญเสียพลังงาน ก่อนดาเนินการในการปรับปรุง โดยมุ่งหวังในลดการสูญเสียพลังงาน และเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน ซ่ึงจะส่งผลโดยตรงในการลดต้นทุนด้านพลังงานในท่ีสุด สาหรับในคู่มือเล่มนี้ได้กาหนดแนวทางในการตรวจประเมินด้านพลังงานไว้ 2 แนวทาง คือ การตรวจประเมินด้านพลังงานเบื้องต้น (Visual & Simple Energy Audit) การตรวจประเมินประสิทธิภาพพลังงานและการตรวจวัดการ สูญเสียพลังงานโดยละเอียด (Detailed Energy Audit)โดยมีรายละเอียดในแนวทางของการตรวจประเมินด้านพลังงานดังน้ี 2.1 การตรวจประเมินด้านพลังงานเบื้องต้นการตรวจประเมินด้านพลังงานเบ้ืองต้น (Visual & Simple Energy Audit) คือการตรวจประเมินโดยใช้แนวทางง่าย ๆ ในการสังเกต การฟังเสียง การสัมผัส ซ่ึงอาจใช้ร่วมกับเคร่ืองมือพื้นฐานง่าย ๆ เช่น นาฬิการจับเวลา เทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิห้อง เป็นต้น โดยอาศัยหลักการจากเทคนิคที่ควรรู้ (Tips) และตารางสาเร็จรูป (Table) มาใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาการสูญเสียด้านพลังงานของกระบวนการ เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ โดยยังไม่ต้องพึ่งพาเครื่องมือวัดด้านพลังงานท่ีซับซ้อน หรือการคานวณด้านวิศวกรรมที่ยุ่งยาก และสามารถดาเนินการปรับปรุงและแก้ไขในทันทีโดยไม่ต้องคานึงถึงรายละเอียดในเรื่องการคานวณผลประหยัด หรือการลงทุนมากนัก ดังแสดงในตัวอย่างตัวอย่าง
“นายมานะ เป็นช่างดูแลเครื่องอัดอากาศ พบว่าห้องอากาศอัดมีอุณหภูมิสูง (เดินเข้าไปใกล้แล้วรู้สึกร้อน) จึงไปนาเทอร์โมมิเตอร์มาวัดอุณหภูมิภายในห้อง พบว่าอุณหภูมิภายในห้องสูงกว่าอุณหภูมินอกห้อง 9 องศาเซลเซียส จึงบันทึกข้อเสนอแนะในการประหยัดพลังงานถึงผู้จัดการฝ่ายซ่อมบารุงว่า หากบริษัท ทาช่องระบายอากาศร้อนออกจากห้องได้ จะสามารถลดอุณหภูมิของอากาศท่ีเข้าเคร่ืองอัดอากาศได้ จะทาให้สามารถประหยัดพลังงานของเคร่ืองอัดอากาศได้ถึง 3 %” Air Compressor 2.2 การตรวจประเมินประสิทธิภาพพลังงานและการตรวจวัดการสูญเสีย พลังงานโดยละเอียดการตรวจประเมินประสิทธิภาพพลังงานและการตรวจวัดการสูญเสียพลังงานโดยละเอียด (Detailed Energy Audit) คือ วิธีการในการตรวจประเมิน กระบวนการหรือเครื่องจักรอุปกรณ์ท่ีใช้พลังงาน โดยใช้เครื่องมือวัดด้านพลังงาน ร่วมกับการคานวณและวิเคราะห์โดยใช้หลักด้านวิศวกรรม เพื่อคานวณหาประสิทธิภาพ และปริมาณการสูญเสียพลังงานโดยละเอียด รวมถึงการกาหนดแนวทางและวิธีการในการปรับปรุงเพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน แนวทางน้ีเหมาะสมสาหรับกระบวนการ หรือเคร่ืองจักรอุปกรณ์โดยท่ัวไปท่ีมีการใช้พลังงานในปริมาณท่ีสูง หรือต้องใช้เงินลงทุนในการปรับปรุงประสิทธิภาพจานวนมาก จึงมีความจาเป็นท่ีต้องใช้ข้อมูลในด้านผลประหยัดท่ีใกล้เคียงกับความเป็นจริงเพื่อประกอบการตัดสินใจในการดาเนินการปรับปรุง หรือใช้ข้อมูลด้านประสิทธิภาพพลังงานในการเฝ้าระวังด้านประสิทธิภาพพลังงานขององค์กร เช่น การวัดประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศการตรวจประเมินประสิทธิภาพหม้อไอน้า เป็นต้นข้อจากัดที่สาคัญของการตรวจประเมินประสิทธิภาพพลังงานและการตรวจวัดการสูญเสียพลังงานโดยละเอียด คือผู้ตรวจประเมินต้องมีพ้ืนฐานความรู้ที่เพียงพอทั้ง
ด้านการใช้เครื่องมือวัดด้านพลังงานอย่างถูกต้อง และความรู้ด้านวิศวกรรมที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์ 3. พื้นฐานของการตรวจวัดการใช้พลังงานพลังงานมีความสาคัญต่อผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจขนาดใหญ่เป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากพลังงานเป็นต้นทุนหลักอย่างหนึ่งของสินค้า การลดหรือการบริหารจัดการการใช้พลังงานท่ีเหมาะสมจะช่วยปรับปรุงในด้านต่างๆ ของโรงงาน ได้แก่ ราคาของสินค้า งบประมาณรายจ่าย ตลอดจนการบารุงรักษาเชิงป้องกันสาหรับเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ในโรงงาน โดยการที่จะลดการใช้พลังงานได้นั้นจะต้องทาการตรวจการใช้พลังงานประกอบด้วยเสมอ ความสาคัญของการตรวจวัดการใช้พลังงานสามารถสรุปได้ดังน้ี- ทาให้ทราบปริมาณการใช้และการสูญเสียพลังงาน ท้ังก่อนและหลังการดาเนินมาตรการประหยัดพลังงาน- ทาให้ทราบประสิทธิภาพการใช้พลังงานทั้งของเครื่องจักร อุปกรณ์ และของโรงงานโดยรวม- เป็นข้อมูลในการประเมินแนวทางการประหยัดพลังงานท่ีเป็นได้ และใช้ในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุน- ใช้ในการกาหนดดัชนีการใช้พลังงานเพื่อใช้ตรวจสอบ และติดตามผลการประหยัดพลังงานหลังจากได้มีการดาเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานไปแล้ว วัตถุประสงค์ในการตรวจวัดการใช้พลังงานเพ่ือให้ทราบว่า- มีการใช้พลังงานที่ไหนและเมื่อไหร่ เช่น กระบวนการผลิตส่วนใดของโรงงานมีการใช้พลังงานบ้าง ช่วงเวลาของการใช้พลังงานในแต่ละส่วนคิดเป็นกี่ช่ัวโมงต่อวันหรือกี่วันต่อสัปดาห์- มีการใช้พลังงานอย่างไร เช่น มีการใช้พลังงานจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงน้ามันเตาที่หม้อไอน้า มีการใช้พลังงานความร้อนจากไอน้าในการต้มวัตถุดิบ- มีการใช้พลังงานเพ่ือทาอะไร เช่น เพื่ออบแห้งสินค้า เพื่อให้ความเย็นในพื้นท่ีการผลิต
จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว ทาให้พอสรุปสิ่งที่ต้องการทาการตรวจวัดได้อย่างน้อย 4ประการ คือ1) กระบวนการและปริมาณการผลิตของโรงงานในสภาพปกติ2) ปริมาณการใช้พลังงานในสภาพปกติ ท้ังปริมาณการใช้ไฟฟ้า และปริมาณการใช้เชื้อเพลิง3) ช่วงเวลาการผลิต และช่วงเวลาที่ไม่ได้ทาการผลิตของโรงงาน4) สภาพภูมิอากาศแวดล้อม ในกรณีท่ีสภาพภูมิอากาศมีผลต่อการใช้พลังงานของกระบวนการผลิตจะสังเกตได้ว่า การตรวจวัดการใช้พลังงานจะเน้นที่การตรวจวัดในสภาวะที่โรงงานทาการผลิตปกติ ไม่ใช่ช่วงเวลาท่ีต้องเร่งทาการผลิตเน่ืองจากมีคาสั่งซ้ือเข้ามามากในช่วงเทศกาล หรือในทางกลับกัน ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ผลิตน้อยกว่าปกติ ท้ังน้ีเน่ืองจากปริมาณการใช้พลังงานและประสิทธิภาพการใช้พลังงานท่ีได้จากสภาวะปกตินั้นจะเป็นค่าที่แท้จริงของโรงงาน และสามารถเป็นค่าฐานในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุน และใช้เป็นดัชนีเปรียบเทียบก่อนและหลังการดาเนินการตามแนวทางการประหยัดพลังงานได้ในการตรวจวัดการใช้พลังงานจะกระทากันอยู่ 2 ลักษณะ คือ การตรวจวัดแบบชั่วขณะ และการตรวจวัดแบบต่อเนื่อง การตรวจวัดแบบช่ัวขณะเป็นกา รตร วจวัด ครั้งเดี ยวเพ่ื อให้ได้ ค่ าที่เป็นตั วแทนกา รทาง าน ในข ณะท่ีเ ครื่องจักรหรืออุปกรณ์ทางานที่สภาวะปกติ ซ่ึงในกรณีของโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก การตรวจวัดชั่วขณะส่วนใหญ่จะเพียงพอแล้วสาหรับการวิเคราะห์แนวทางการประหยัดพลังงาน ข้อดีของการตรวจวัดแบบชั่วขณะคือ ทาได้ง่ายและประหยัดเวลา ส่วนข้อเสียคือ หากตรวจวัดในช่วงเวลาที่เครื่องจักรไม่ได้ทางานท่ีสภาวะปกติจะทาให้ได้ค่าตัวแทนที่ไม่ถูกต้อง ทาให้ผลการวิเคราะห์การใช้พลังงานท่ีได้เบี่ยงเบนไปจากความจริง
การตรวจวัดแบบต่อเนื่องเป็นการตรวจวัดการใช้พลังงานซ้า ๆ กันอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง ๆ เช่นทุกช่ัวโมง หรือทุก 15 นาที เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ต่อเน่ือง ซึ่งส่วนใหญ่การตรวจวัดแบบนี้จะทากับเครื่องจักรท่ีมีลักษณะการทางานไม่คงท่ี แปรเปลี่ยนตลอดเวลา หรือเป็นเคร่ืองจักรหลักท่ีมีการใช้พลังงานมากและต้องการทราบลักษณะการเปลี่ยนแปลงของการใช้พลังงาน (Energy Load Profile) อย่างละเอียด ข้อดีของการตรวจวัดแบบต่อเนื่องคือ ได้ค่าท่ีเป็นตัวแทนการทางานของเคร่ืองจักรท่ีถูกต้องแน่นอน ทาให้สามารถวิเคราะห์การใช้พลังงานได้อย่างถูกต้องแม่นยา ส่วนข้อเสียคือ ต้องใช้เวลามากและส้ินเปลืองกาลังคนในการบันทึกข้อมูลหรือสิ้นเปลืองเงินลงทุนในการเช่าหรือซื้อเครื่องมือวัดที่สามารถบันทึกข้อมูลต่อเน่ืองได้อย่างอัตโนมัติ การตรวจวัดการใช้พลังงานโดยทั่วไปจะมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 4. การศึกษารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นการดาเนินการตรวจวัดและวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานท่ีดีมีประสิทธิภาพน้ันควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนที่จะดาเนินการตรวจวัดฯ เพื่อให้สามารถตรวจวัดได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากข้ึน ซ่ึงการศึกษารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเป็นส่วนหน่ึงที่สาคัญของการเตรียมความพร้อมการดาเนินการตรวจวัดการรวบรวมข้อมูล เบื้องต้นที่เกี่ยวข้องและก ารใช้พลังง านของโ รงง านคว รเป็นข้อมูลย้อนหลังอย่างน้อย 1 ปี โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ี- เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานให้ผู้ดาเนินการตรวจวัด สามารถเข้าใจภาพรวมของการใช้พลังงานในกระบวนการผลิต ทราบว่าพลังงานถูกนาไปใช้ที่ใดบ้าง- เพื่อให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการผลิตกับการใช้พลังงาน- เพื่อให้สามารถวางแผนในการตรวจวัด และเก็บข้อมูลการใช้พลังงานของโรงงานข้อมูลเบื้องต้นที่ทีมผู้ดาเนินการตรวจวัดควรรวบรวม ได้แก่ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่ได้รับจากทางโรงงาน ดังนี้1. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้พลังงานแต่ละชนิดของโรงงานกับ
ผลผลิตโดยจัดทากราฟดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตและควรแปลงหน่วยของพลังงานแต่ละชนิดให้เป็นหน่วยเดียวกัน เช่น MJ/ตันผลผลิต เพื่อนามาเปรียบเทียบให้ทราบว่าพลังงานชนิดใดที่มีการใช้มากในโรงงาน พลังงานประเภทใดหรือทรัพยากรใดเป็นค่าใช้จ่ายหลักของโรงงาน2. พิจารณาแนวโน้มของค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตว่าเป็นอย่างไรแปรผันอย่างไรกับปริมาณผลผลิต เพ่ือเป็นข้อสังเกตให้ใช้ไปหาคาตอบช่วงที่ทาการตรวจวัด3. จากข้อ 1 และ 2 จะทาให้ทราบแล้วว่าพลังงานใดที่เป็นปัจจัยหลักในการผลิตของ โรง ง าน และ คว รให้ ความ ส นใ จ ในก า รห าศั ก ยภ าพ ในก ารป ระห ยัด ในก า รป ระห ยัด5. การจาแนกเคร่ืองจักรหรืออุปกรณ์การจาแนกและจัดทารายการเครื่องจักรถือว่ามีส่วนสาคัญในการสารวจตรวจวัด การท่ีจะได้ข้อมูลถูกต้องครบถ้วนต้องอาศัยข้อมูลของเครื่องจักรที่ถูกต้องครบถ้วนด้วยเช่นกัน เพ่ือที่จะทราบจานวนเคร่ืองจักรทั้งหมดที่ต้องการทาการตรวจวัด ใช้ในการวางแผนการตรวจวัด ข้อมูลพื้นฐานของเคร่ืองจักรช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของการวัด การวิเคราะห์การใช้พลังงานและการวิเคราะห์มาตรการการอนุรักษ์พลังงาน การจัดทารายการเคร่ืองจักรยังเป็นส่วนประกอบสาคัญในการดาเนินมาตรการบารุงรักษาเครื่องจักร การวางแผน ตรวจสอบการบารุงรักษาเครื่องจักรอีกทั้งช่วยในการตรวจติดตามผลการดาเนินมาตรการการอนุรักษ์พลังงานอีกด้วยการรวบรวมข้อมูลสาหรับจัดทารายการเครื่องจักรต่างๆ ควรจัดทาเป็นรายละเอียดข้อมูลประวัติเคร่ืองจักร ดังรูปแสดงตัวอย่างแบบฟอร์มรายละเอียดข้อมูลประวัติเคร่ืองจักร ซ่ึงเป็นการรวบรวมข้อมูลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับเคร่ืองจักรมาให้ละเอียดที่สุด เพื่อประโยชน์ในการดาเนินงานต่อไป จะได้ไม่ต้องไปค้นหารายละเอียดท่ีอื่นอีกให้เสียเวลา หากเป็นไปได้รายละเอียดข้อมูลประวัติเครื่องจักรน้ีควรจะเป็นการ์ดแข็งเพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการบารุงรักษาเครื่องจักรการตั้งรหัสเครื่องจักรเป็นประโยชน์ในการจัดเก็บข้อมูลประวัติและค้นหาข้อมูลเหล่าน้ี ดังในตัวอย่างนี้ตั้งรหัส 6 ตัว (0010-01)
4 ตัวแรกคือ 0010 จะเป็นการกาหนดตัวเครื่องจักร เช่น คอมเพรสเซอร์ 2 ตัวท้ายเป็นการกาหนดเฉพาะตัวในกรณีที่เครื่องจักรน้ันมีใช้หลายเคร่ือง เช่น คอมเพรสเซอร์มี 5 เคร่ือง ก็จะกาหนดแต่ละตัวเป็น 01 ถึง 05 เป็นต้น ตัวอย่างแบบฟอร์มรายละเอียดข้อมูลประวัติเครื่องจักร 6. การศึกษาการใช้พลังงานในกระบวนการผลิตพลังงานถูกนาไปใช้เป็ นทรัพย าก รในก ารผลิต ในโรงง านอุ ตสาหก รรมอันเน่ืองม าจากความต้องการในการกระบวนการผลิตดังนั้นในขั้นตอนแรกก่อนที่จะตรวจวัดและวิเคราะห์การใช้พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม เราต้องเร่ิมจากการทาความเข้าใจและพิจารณาแผนผังกระบวนการผลิต (Processing flow chart) โดยการพิจารณาจากจุดเริ่มต้นที่วัตถุดิบ (Rawmaterial) ถูกนาเข้าไปผ่านกระบวนการต่างๆ ในแต่ละข้ันตอนจนกระทั่งได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายออกมา เม่ือทาการตรวจวัด เก็บข้อมูล และวิเคราะห์การใช้พลังงานสามารถที่จะสังเกตทาความเข้าใจและทราบได้ว่าในการผลิตแต่ละข้ันตอนจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่ึง แหล่งพลังงานที่ต้องการใช้งานมีอะไรบ้างพลังงานถูกนาไปใช้เพื่ออะไร ใช้อย่างไร ซ่ึงจะทาให้เราสามารถทราบและเข้าใจถึงการใช้พลังงาน (Energy flow) ได้ ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดความสะดวกในการวิเคราะห์การใช้พลังงานได้ดียิ่งข้ึน ดังน้ันเม่ือผู้ดาเนินการตรวจวัดรวบรวมข้อมูลเบ้ืองต้นท่ีเก่ียวข้องกับการใช้พลังงานของโรงงานได้แล้ว สิ่งท่ีต้องดาเนินการ
ต่อไปคือ พยายามทาความเข้าใจกับกระบวนการผลิตของโรงงานให้มากท่ีสุด ซ่ึงผู้ดาเนินการตรวจวัดสามารถทาความเข้าใจกระบวนการผลิตใน 2 ช่วงด้วยกัน• ช่วงแรก คือ ช่วงก่อนเข้าไปทาการตรวจวัดพลังงานในโรงงาน โดยอาศัยข้อมูลเบ้ืองต้น• ช่วงที่ 2 คือ ขณะท่ีทาการตรวจวัดในโรงงาน โดยหลังจากที่ผู้ทาการตรวจวัดได้ทาความเข้าใจข้อมูลเบื้องต้นของโรงงานแล้ว การพูดคุยสอบถามการทางานกับพนักงานในระดับปฏิบัติงานจะทาให้เข้าใจการใช้พลังงานของกระบวนการผลิตของโรงงานในอีกระดับหนึ่งเคร่ืองมือท่ีสามารถช่วยให้วิศวกรหรือผู้ดาเนินการตรวจวัดเข้าใจกระบวนการผลิตได้มากคือ การทาแผนผังการใช้พลังงานของแต่ละกระบวนการผลิต (Energy flowdiagram: EFD) การทาแผนผังการใช้พลังงานของกระบวนการผลิต (EFD) จะทาให้ท ราบ ระดั บ พลัง ง า นที่ ต้ อง ก า รข อง แต่ ละก ระบ วนก ารทั้ ง ห ม ด ในโ รง ง านท้ังน้ีการทา Energy flow diagram และ Process mapping ก่อนทาการตรวจวัดจะไม่สามารถระบุข้อมูลได้ครบสมบูรณ์ ข้อมูลที่ขาดหายไปน่ันหมายถึง ข้อมูลที่ต้องตรวจวัดและเก็บเพิ่มเติม 7. การตรวจวัดระบบท่ีใช้พลังงานการตรวจวัดการใช้พลังงานท่ีดี มีการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นอย่างละเอียด มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ และทาการตรวจวัดได้ค่าท่ีถูกต้องจะทาให้การวิเคราะห์แนวทางการประหยัดพลังงานเป็นไปอย่างชัดเจน ถูกต้อง และรวดเร็ว การวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุนมีความถูกต้องแม่นยา ทาให้การตัดสินใจดาเนินแนวทางการประหยัดพลังงานของโรงงานสามารถทาได้อย่างม่ันใจกรณีศึกษา: การตรวจวัดการใช้พลังงานท่ีดีโรงงานแห่งหน่ึงมีเครื่องทานา้ เย็น (Chiller) ขนาด 300 ตัน อยู่ 1 เคร่ือง ผลการตรวจวัดสภาพการทางานเทียบกับข้อมูลติดตั้ง (Specification) เป็นไปตามตารางต่อไปนี้
หมายเหตุ: 1) ชั่วโมงการใช้งาน 10.5 ช่ัวโมง/วัน และ 365 วัน/ปี, 2) ค่าไฟฟ้าเฉล่ียต่อหน่วยของโรงงาน 4.00 บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมงข้อมูลติดต้ังของเครื่องทานา้ เย็นเครื่องน้ีกาหนดว่า ค่าความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างสารทาความเย็นที่คอนเดนเซอร์ และน้าหล่อเย็นขาออกไม่ควรเกิน 1.5 °Cแต่จากการตรวจวัดพบว่ามีค่าสูงถึง 4.45 °C ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนท่ีต่าลง เนื่องจากการเกิดตะกรันหรือการอุดตันภายในท่อของคอนเดนเซอร์จากประสบการณ์ที่ผ่านมาของวิศวกรประจาโรงงานและท่ีปรึกษาด้านพลังงานพบว่าก า ร ล้ า ง ทา ค ว า ม ส ะ อ า ด ค อ น เ ด น เ ซ อ ร์ จ ะ ส า ม า ร ถ ป รั บ ป รุ ง ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง เ ค รื่ อ ง ทา น้าเย็นชุดนี้ได้จนมีค่าประมาณ 0.70 กิโลวัตต์/ตันความเย็นจะเห็นได้ว่า จากการตรวจวัดและรวบรวมข้อมูลที่ละเอียด ครบถ้วน และถูกต้อง ทาให้โรงงานแห่งนี้สามารถวิเคราะห์ศักยภาพในการประหยัดพลังงานได้อย่างชัดเจนแม่นยา โดยการล้างทาความสะอาดคอนเดนเซอร์จะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้ถึง239,248 บาท/ปี และมีระยะเวลาคืนทุนรวดเร็วภายในเวลาประมาณ 3 เดือนเท่าน้ัน
Bibliographyกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2555). การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน. In คู่มือการตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน สาหรับวิสาหกิจขนาดกลาง (pp. 2-2,2-3,2-10,2-11). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: