ารรสู้ ารสนเทศ: สมรรถนะท่จี าเป็นสาหรบั การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21โดย ดร.อนุชา โสมาบุตรการรู้สารสนเทศ คอื อะไรInformation Literacy Definedการรสู้ ารสนเทศ คือ ชุดของสมรรถนะท่ีจาเป็นของบคุ คลในการรบั รู้ (recognize)ความจาเป็นของสารสนเทศ และสามารถในการคน้ หา ประเมนิ และใช้สารสนเทศทจ่ี าเป็นอยา่ งมีประสิทธิภาพ การรสู้ ารสนเทศเปน็ สงิ่ ทีม่ คี วามสาคัญมากขึ้นในสภาพแวดลอ้ มที่มีการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยแี ละการส่อื สารอยา่ งรวดเร็วและมีการขยายตัวของแหล่งสารสนเทศมากขนึ้ ด้วยเกิดความซับซ้อนที่เพิ่มข้ึนของสภาพแวดลอ้ มเชน่ น้ี จะทาให้บุคคลมีทางเลือกหรอื ตวั เลือกของสารสนเทศท่ีหลากหลาย เช่น สารสนเทศจากการศกึ ษาคน้ คว้า สารสนเทศทีค่ ้นพบจากการปฏิบัตงิ าน หรือแม้นแต่สารสนเทศที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจาวัน ซึ่งสารสนเทศอาจอยู่ในหอ้ งสมุด แหล่งทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ หนว่ ยงานเฉพาะทาง สอื่ และอนิ เทอร์เน็ต ยิ่งไปกวา่ นน้ั สารสนเทศทีเ่ ข้ายงั บุคคลนน้ั เป็นสารสนเทศที่อาจยังไม่ไดร้ บั การคดั กรอง ขาดความชัดเจน ไม่สอดคล้องกับความต้องการ ไมถ่ กู ต้องและน่าเชือ่ ถอื นอกจากน้ี สารสนเทศยังสามารถค้นหาไดจ้ ากส่อื ท่ีหลากหลาย ท้ังจากการไดร้ ับฟงั การมองเหน็ และการสมั ผัสความรสู้ กึ ซึ่งสิง่ เหลา่ นเ้ี ป็นความทา้ทายท่ีบคุ คลาจะตอ้ งประเมินและทาความเข้าใจในสารสนเทศท่ีรับรู้ ทง้ั นี้ ความไม่แนน่ อนของคุณภาพและการขยายตวั ของสารสนเทศเปน็ ความท้าทายของสงั คมเปน็ อย่างยิ่ง โดยท่ีความถกู ต้องสมบรู ณข์ องสารสนเทศไมไ่ ด้ขน้ึ อย่กู บั ตวัสารสนเทศเอง แต่ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถของสารสนเทศที่จะนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์และมปี ระสิทธภิ าพการรูส้ ารสนเทศเป็นพ้นื ฐานสาหรับการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต เน่ืองจากเป็นปกตขิ องทกุ สาขาอาชพี ระดับการศึกษา สังคมและสภาพแวดล้อมทจี่ ะต้องใชส้ ารสนเทศโดยการร้สู ารสนเทศจะทาใหผ้ ูเ้ รียนใส่ใจในเนื้อหาหลกั และทาใหเ้ กิดการตรวจสอบเน้อื หาด้วยตนเอง รวมทง้ั เป้นการกากบั กระบวนการเรยี นร้ขู องตนเองดว้ ย โดยบุคคลท่มี กี ารร้สู ารสนเทศ ตอ้ งมีความสามารถดังนี้1. กาหนดขอบเขตของสารสนเทศที่จาเป็นได้2. เขา้ ถงึ สารสนเทศที่จาเปน็ ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล
3. ประเมินสารสนเทศและแหลง่ ท่มี าอยา่ งมีวิจารญาณ4. เลือกและรวบรวมสารสนเทศเปน็ หมวดหมู่5. ใช้สารสนเทศได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์6. ทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใชส้ ารสนเทศอย่างรอบด้าน เชน่ ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ การเมอื งและสงั คม7. เข้าถงึ และใช้สารสนเทศอยา่ งมจี รยิ ธรรมและถกู ต้องตามกฎหมายการรูส้ ารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศInformation Literacy and Information Technologyการรู้สารสนเทศมีความเก่ียวขอ้ งกบั ทกั ษะเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมนี ยั สาคญัสาหรับการใช้สารสนเทศของบุคคล ระบบการศึกษา และสงั คมโดยรวม ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศใหบ้ คุ คลสามารถใช้คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมประยกุ ต์ฐานข้อมลู และเทคโนโลยีต่างๆ ในการเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ อยา่ งกว้างขวาง ท้งัเพอ่ื งานวิชาการ การปฏบิ ัติงานและเป้าหมายสว่ นบคุ คล บุคคลที่รู้สารสนเทศจาเปน็ ตอ้ งพัฒนาทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศการรสู้ ารสนเทศซ่ึงมคี วามทบั ซ้อนกบั ทกั ษะเทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการพัฒนาสมรรถนะของบุคคล ยงิ่ กวา่ นัน้ ทกั ษะเทคโนโลยสี ารสนเทศจะสนบั สนุนและสง่ เสริมการรู้สารสนเทศ ในปี 1999 ไดม้ รี ายงานจากสภาวิจัยแหง่ ชาติ สหรฐั อเมริกา ที่ให้มกี ารสง่ เสริมแนวคิด \"ความคล่องแคลว่ \" (fluency) กบัเทคโนโลยีสารสนเทศและการระบถุ งึ ความสัมพนั ธก์ นั ระหว่างการรู้สารสนเทศการรู้คอมพิวเตอร์ (computer literacy) และกรอบสมรรถนะดา้ นเทคโนโลยี โดยในรายงานระบุว่า การรคู้ อมพิวเตอร์ เน้นการเรยี นรู้เฉพาะฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ประยุกต์ ในขณะท่ีความคล่องดว้ ยเทคโนโลยี (fluency with technology) มงุ่ เน้นทาความเขา้ ใจแนวคิดพื้นฐานของเทคโนโลยี การประยกุ ตใ์ นการแก้ปัญหาและวิจารณญาณในการใชเ้ ทคโนโลยี นอกจากน้ี รายงานยงั กลา่ วถึงความแตกตา่ งระหวา่ งความคล่องด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการรู้สารสนเทศที่เปรียบได้กบัการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ในขณะท่กี ารรสู้ ารสนเทศมุ่งเนน้เกยี่ วกบั เน้ือหา การส่ือสาร การวเิ คราะห์ การค้าหาสารสนเทศ และการประเมนิแต่ความคล่องด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมุ่งเน้นความเข้าใจเชงิ ลกึ เกี่ยวกับเทคโนโลยีกบั การศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ซง่ึ จะสามารถพัฒนาทักษะใหส้ ูงขึน้ ได้
ความคลอ่ งดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศอาจต้องใช้ความสามารถทางปญั ญามากกวา่ การทอ่ งจาซอฟต์แวรแ์ ละฮารด์ แวรท์ ีเ่ ก่ยี วข้องกบั \"ความรูค้ อมพิวเตอร์\"โดยหากกล่าวอีกนยั หน่ึง การรู้สารสนเทศเป็นกรอบการทางานทางปญั ญาในการทาความเข้าใจ การค้นหา การประเมินและการใช้สารสนเทศ ซึ่งกิจกรรมทางปัญญาดงั กลา่ วจะประสบความสาเร็จได้ส่วนหนงึ่ ต้องอาศยั ความคลอ่ งดว้ ยเทคโนโลยีดว้ ยวิธกี ารในการตรวจสอบ แต่ทส่ี าคญั ที่สดุ คือการตัดสนิ ใจและการให้เกิดผลเชิงวิพากษ์ ซ่ึงการรู้สารสนเทศเบ้ืองต้นและการขยายไปถึงการเรียนรู้ตลอดชีวติ โดยใชค้ วามสามารถซึ่งอาจจะใชเ้ ทคโนโลยี แตท่ ั้งนี้ ขนึ้ อยกู่ บั ความอิสระส่วนตวั ของแต่ละบุคคล
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: