รายงานเรือง ความเปนมาของ อินเตอร์เน็ต
คํานํา ร า ย ง า น ฉ บั บ นี จั ด ทํา ขึ น เ พื อ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ร ย น ว ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ ส า ร ะ ส น เ ท ศ โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื อ ใ ห้ ผู้ จั ด ทํา ไ ด้ ฝ ก ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า แ ล ะ นํา สิ ง ที ไ ด้ ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ม า ส ร้ า ง เ ป น ชิ น ง า น เ ก็ บ ไ ว้ เ ป น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ ร ย น ก า ร ส อ น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ ค รู ต่ อ ไ ป ทั ง นี เ นื อ ห า ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ม า จ า ก ห นั ง สื อ แ บ บ เ ร ย น แ ล ะ จ า ก ห นั ง สื อ คู่ มื อ ก า ร เ ร ย น อี ก ห ล า ย เ ล่ ม ใ ห้ คาํ แ น ะ นํา เ พื อ แ ก้ ไ ข ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ต ล อ ด ก า ร ทาํ ง า น ผู้ จั ด ทาํ ห วั ง ว่ า ร า ย ง า น ฉ บั บ นี ค ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ผู้ ที นํา ไ ป ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ต า ม ค ว า ม ค า ด ห วั ง
สารบัญ หนา้ 1 หนา้ 5 เรอง ประวตั คิ วามเปนมาของอินเตอร์เนต็ เรอง อินเตอร์เนต็ ในประเทศไทย
ประวัติความเปนมาของอินเตอร์เน็ต จุดเร่มิ ตน ของอนิ เตอรเน็ตนัน้ เรม่ิ นับหน่ึงตัง้ แตปี พ.ศ. 2500 โดยหนวยงาน ARPA (Advanced Research Project Ageney) ของกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา โดยไดแรงกระตนุ จากการท่ีสหภาพโซเวียตสง ดาวเทียมสปุ ตนิกข้นึ สอู วกาศ โดยในปี พ.ศ. 2506 หนวยงาน ARPA วา จางบริษทั RandCorporationศึกษาถึงวิธใี นการสงั่ งานและควบคมุ ระบบเน็ตเวิรก ท่ีสามารถรอดพนตากความหายนะ หากถกู โจมตดี ว ยอาวุธระเบดิ ปรมาณจู ากสหภาพโซเวียต ผลจากการศกึ ษาพบวา คําตอบของปัญหาดงั กลาวก็คอื การไม กาํ หนดจดุ ศนู ยก ลางทีจ่ ําเพราะเจาะจงและการออกแบบระบบเครอื ขา ยท่เี ตรยี มพรอมรบั มือกับความเสียหายท่ีจะเกิด ข้นึ จากแนวความคิดดังกลาวจงึ ผสมผสานกับจนเกิดรปู แบบของอนิ เตอรเน็ต นัน้ คืออินเตอรเน็ตจะไมมีการกาํ หนด จุดศนู ยก ลางของการตดิ ตอที่แนนอนตายตัว
พ.ศ. 2512 โครงการ APRANet ทีถ่ ือเป็นโครงการนํารองของอินเตอรเ น็ต ภายใตก ารสนับสนนุ ของกระทรวงกลาโหมของ สหรัฐอเมรกิ าไดทาํ การเช่อื มโยงโนด 4 จดุ ไดแก เมืองซานตาบารบ ารา และมหาวทิ ยาลัยรัฐยูทาห ภายในระยะเวลาเพียง 2 ปี จํานวนโนดเพ่มิ ข้นึ เป็น 15 จดุ โดยรวมเอาสถาบันดังๆ อยา งเอม็ ไอที หมาวทิ ยาบัยฮารวารดและองคการนาซาเอาไว พ.ศ. 2515 ระบบ Telnet ไดอ อกถกู นํามาเผยแพร พ.ศ. 2516 ไดมกี ารเช่ือมโยงโครงการ ARPANet ไปยงั ตางประเทศเป็นครัง้ แรก โดยเช่ือมตอ ไปยังประเทศองั กฤษ และนอรเวย และปีเดยี วกนั ไดมีการนําระบบ FTP ออกเผยแพร พ.ศ. 2520 มกี ารคิดคนระบบอี- เมลลและนําออกเผยแพร พ.ศ. 2522 เริ่มตนการเผยแพรร ะบบกลมุ ขา วสาร พ.ศ. 2525 โครงการ ARPANet ไดถ กู ปรับเปลีย่ นมาใชโ ปรโตคอล TCP/IP ออกเผยแพร พ.ศ. 2527 มีการนําระบบ DSN (Domain Name Server) มาใชใ นการอางอิงตําแหนงหรือที่อยรู ะหวา งโดเมน พ้ืนฐาน 6 กลมุ พ.ศ. 2529 สถาบนั National Science (NSF) ไดร ิเรมิ่ โครงการ NSFNet โดยใชศูนยกลางที่ใชเคร่อื งซูเปอรค อมพวิ เตอร 5 เคร่ือง ตอ เช่อื มกัน เพ่อื สรางเสนทางเช่ือมตอ ความเรว็ สงู ที่มคี วามเรว็ 56 kbps แตจะแตกตางจากโครงการ NSFNet ซ่งึ เน นการเช่ือมโยง ระหวา งหนวยงานที่ทาํ การคนควา ใหทางทหารหรอื รัฐบาล โดย NSFNet จะทาํ การเช่ือมตอระหวางหนวยงานทีท่ างการศกึ ษาทงั้ หลายเขาดว ยกันพ.ศ. 2530 จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีมสี ถานะเป็น โฮสต (Host) เพมิ่ ข้นึ เป็น 10,000 จุด
พ.ศ. 2531 สายเช่ือมถูกปรับปรงุ มาใชมาตรฐาน T1 (ความเร็ว 1.544 Mbps) พ.ศ. 2532 ทมิ เบอรเนอรส ลี (บดิ าแหงเว็บ) ไดจดั ทําเอกสารนําเสนอ ซ่งึ เป็นจดุ เร่ิมตน กําเนิดของ Wold Wide Web หรือเขียน สัน้ ๆ วา WWW พ.ศ. 2533 โครงการ ARPANet มอี ันตองสนิ้ สุดลง ขณะเดียวกนั ระบบอารซี ไดร ับการเผยแพรเขา สูส ารธารณชน บริษทั The Wold เป็นบริษทั ใหบรกิ ารเช่ือมตอ อินเตอรเน็ตในเชงิ พาณิชยแหงแรงของโลก พ.ศ. 2534 ระบบ โกเฟอร (Gopher) ไดรับการประกาศทดลองใชง านจริง และไดรบั การประกาศตวั เวิลด ไวด เว็บ ที่ Conceil European Ia Recherche Nucleaire ในประเทศสวติ เซอรแลนด สายเช่ือมหลกั ไดถูเปล่ยี นมาใชมาตรฐาน T3 พ.ศ. 2535 ไดมีความรว มมือในการจัดตงั้ องคกร ISOC (Internet Society) ข้ึนทเ่ี มืองวิโอลา ซ่ึงเป็นครงั้ แรกที่มีการเปิดตวั โปรแกรมเว็บบราวเซอรท เ่ี ป็นแบบกราฟฟิกภาคภาษาอังกฤษตวั แรกของโลก และจากการสํารวจพบวา จํานวนเคร่อื งโฮสตเพิม่ ข้ึน เป็น 1,000,000เคร่อื ง พ.ศ. 2536 เปิดตวั อยางสวยงามดวยโปรแกรม Mosaic For X ของนายมารกแอนเดอรเซน หลังจากนัน้ ไมน านก็มีเวอรชนั สาํ หรับเคร่อื งพซี ีและเคร่ืองแมคอินทอซ ตดิ ตามออกมาในปีเดียวกัน ทําเนียบขาวของประเทศสหรัฐอเมริกาไดตดั สนิ ใจตอ สายออนไลนของอินเตอรเน็ตและมกี ารกาํ หนดมาตรฐานเก่ยี วกับ HTML เวอรช ัน่ 1.0
พ.ศ. 2537 มารก แอนเดอรเซน และเจม คลารก ประธานฝายบริหารของซลิ คิ อน กราฟฟิกส ไดรวมกนั จัดตงั้ บริษทั Mosaic Commounications Corporation. ซ่งึ ในภายหลงั ไดเปลย่ี นช่ือเป็น บริษทั Netscape Communications Corporation ซ่งึ ในปีนี้เองท่ีสถาบนั Mit ไดจัดการประชมุ W3 ข้นึ เป็นครัง้ แรกและมาตรฐานของHTML ไดร ับ การปรับปรงุ จนกลายเป็นเวอรชัน 2.0 ที่นาต่ืนเตน ทส่ี ุดคอื การนําเอาอินเตอรเ น็ตมาสรา งสรรคประโยชนเชิงพาณิชยในรูปแบบของ ไซเบอรมอลล พ.ศ. 2538 บรษิ ทั Netscape Communications Corp. ไดแปลงสภาพเป็นบรษิ ทั มหาชนเกิดความเปลีย่ นแปลงท่สี าํ คัญที่ทาํ ให โครงการ NSFNet ไมอาจตอบสนองความตอ งการทีแ่ ทจรงิ ไดจ งึ ตองกําจัดวงการใชงานอยเู พยี งแคก ารตอ เช่อื มเครอื ขายเพ่อื การ คนควาวจิ ยั เทานัน้ พ.ศ. 2539 บิลล เกตส และบริษทั ไมโครซอฟตข องเขาไดก าวกระโดดเขาสสู มภมู อิ ินเตอรเน็ต ดว ยโปรแกรมเว็บบราวเซอรต วั เกง อยางอินเตอรเ น็ตเอ็กโพเลอร (Internet Explore) เคร่ืองโฮลตคอมพวิ เตอรพุง พรวดข้ึนไปแลวกวา 10.000,000 เคร่ือง
อินเตอรเ์ น็ตในประเทศไทย จุดท่เี ช่อื มกับระบบอินเตอรเ น็ตในตางประเทศนัน้ มชี ่อื เรยี กวา อนิ เตอรเน็ต – เกตเวย (Internet Gateway) และสาํ หรับการตอเช่ือม อินเตอรเน็ตภายในประเทศนัน้ จะมีหนวยงานท่ีใหบรกิ าร (โดยไมคิดคาบรกิ าร) การตอ เช่ือมของผูใช ซ่งึ เรยี กหนวยงานนี้วา หนวย งานใหบ ริการอินเตอรเ น็ตหรอื ISP (Internet Server Provider) โดยตวั ISP ก็จะสามารถติดตอกับระบบคอมพวิ เตอรข องตนเอง เขา กบั ระบบเครอื ขา ยคอมพิวเตอรของ ISP ก็สามารถตดิ ตอ กับเคร่อื งคอมพิวเตอรตา งๆ บนระบบอินเตอรเ น็ตทัว่ โลกได เราจะ สามารถเห็นภาพโดยรวมของระบบเครือขา ยอินเตอรเ น็ตในประเทศไทยได สาํ หรบั ในประเทศไทยเริ่มเช่ือมโยงกบั เครอื ขา ยอนิ เตอรเ น็ตในปี พ.ศ. 2532 ท่มี หาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร เพ่อื สง จดหมาย อเิ ลก็ ทรอนิกส (E-mail) กบั ประเทศออสเตรเลียตอ มากระทรวงวทิ ยาศาสตร โดยการดําเนินการของศนู ยเ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส และคอมพวิ เตอรแหง ชาติ (NECTEC) ไดจ ัดทําโครงการเช่อื มโยงเครอื ขายระหวา งวิทยาลยั ข้นึ หนายงาน ISP ท่ีจุฬาลงกรณ ซ่งึ เรยี กวาเครอื ขายไทยเน็ต และทีก่ ระทรวงวทิ ยาศาสตร ซ่ึงเรยี กวา เครือขา ยไทยสาร โดยทัง้ สองแหงใหบ รกิ ารเฉพาะสภาบนั การ ศึกษาและหนวยงานราชการเทา นัน้ ตอมาความตองการใชอินเตอรเน็ตมากข้ึน การส่ือสารแหงประเทศไทยซ่งึ ดแู ลรบั ผดิ ชอบการ ตดิ ตอส่อื สารระหวา งประเทศโดยตรงกไ็ ดอนมุ ตั ใิ หเ อกชนเขา มาดําเนินการใหบรกิ ารอินเตอรเ น็ตภายในประเทศแกห นวยงานเอกชน ตา งๆ ข้ึน ซ่ึงในชว งนัน้ มีดว ยสองแหง คอื การบกิ ารของบรษิ ทั อนิ เตอรเ น็ตไทยแลนด (Internet Thailand) และบรษิ ทั เคเอสซี โดย จะเช่อื มไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
จดั ทําโดย นาย ธรี นยั วะเกิดเปม นาย รฐั ภมู ิ ลาสุด คอมพวิ เตอร์ สาขาบญั ชี
จัดทําโดย น.ส.เอมื พร เชือกลางใหญ่ นส. มณฑติ า ริพลทา สาขาบญั ชี สาขาบัญชี
จัดทาํ โดย น.ส.อลั จนา วารีศรี น.ส.นันทพร ประกงิ สาขาบัญชี สาขาบัญชี
จดั ทาํ โดย น.ส.ชวลั รตั น์ มะตนเด สาขาบัญชี
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: