กระบวนการเรยี นรดู้ ารา ทบี ีเอม็ Dara Teaching with the Brain in mind
Teaching with the Brain in Mind การเรียนรโู้ ดยใช้สมองเปน็ ฐาน คอื การจัดกิจกรรม ให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมอยา่ งมีเป้าหมาย โดยใช้กลยทุ ธ์ เชงิ วิทยาศาสตร์บนพื้นฐานหลกั การทำงานตาม ธรรมชาติของสมอง ครูตอ้ งเรียนรูว้ า่ สมองเรียนรู้ อย่างไร ถา้ ครจู ัดกจิ กรรมโดยไมส่ ามารถบอก หรือ อ้างหลักการตามธรรมชาติของสมองได้กไ็ มถ่ ือว่าได้ จัดกิจกรรมท่ีใช้สมองเป็นฐาน ทมี่ า : เอกสารการอบรม Teaching with the Brain in Mind and Impact Teaching 2551 หน้า 1 แปลโดย อาจารยม์ าลินี คปุ ตรัตน์
กระบวนการเรียนรูด้ ารา ทีบีเอม็ (Dara Teaching with the Brain in Mind) หมายถึง นวัตกรรมการเรยี นรขู้ อง โรงเรียนดาราวิทยาลัยที่เน้นการจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับการทำงานตามธรรมชาติ ของสมอง เป็นการจดั ลำดับกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้ สมองสามารถเรียนรู้ไดด้ ี และเปน็ ไปตามธรรมชาติ การทำงานของสมองมากท่ีสุด เพือ่ ให้สมองไดเ้ รยี นรู้ ได้เตม็ ศกั ยภาพ และไดร้ ับการพฒั นาการเรียนรู้ อยา่ งเหมาะสมกบั วยั ซ่ึงมกี ญุ แจไปสู่หลกั การ ดังกล่าวอยู่ 9 ประการ ดงั น้ี
1. เพ่ิมพลงั การรับรู้ (Affirmation for Celebration) เปน็ การเพม่ิ พลงั ทางใจ เปน็ กจิ กรรมทซี่ อ้ื ใจผเู้ รยี นได้ เป็น กิจกรรมทม่ี ีขนั้ ตอนง่ายๆ ไมซ่ ับซอ้ นในการสรา้ งแรงจูงใจให้ เกดิ ความสนใจ อยากรู้ อยากเรยี น การเพิ่มพลงั การเรยี นรู้จะ ผ่านทางร่างกาย เป็นกิจกรรมท่ชี ่วยใหผ้ เู้ รยี นมีสมองทม่ี ี พลงั งานมากขน้ึ ได้รบั ปรมิ าณออกซิเจนมากขึน้ ด้วยการทำ กจิ กรรมท่ีสร้างสรรค์ การเปลยี่ นอริ ยิ าบถหลง่ั สารเคมที ำให้ อารมณด์ ี ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ที่ว่า สมองคน้ หา และสร้าง ความหมาย (Brain seeks and creates meaning) สมอง ตอ้ งการร้คู วามหมาย และเห็นความสำคญั กอ่ น แลว้ จึงใหค้ วามสนใจ และตง้ั ใจมากขนึ้
2. สู่หลากหลายกจิ กรรม (Variety) จดั กจิ กรรมหลายๆ รปู แบบเพอ่ื เอือ้ ให้ผเู้ รยี นท่มี วี ธิ กี าร เรยี นรทู้ แี่ ตกตา่ งกนั มโี อกาสได้เข้าใจในเรอ่ื งๆ ตามความถนัด ความสามารถของตนเอง โดยหลีกเลยี่ งสถานการณ์ทเ่ี ป็นเชิง ลบ เพราะหลกั การ DaraTBM มคี วามเชื่อวา่ สมองจะเรียนรู้ ไดด้ แี ละมปี ระสิทธภิ าพสูงสุด เมอื่ กจิ กรรมเปดิ โอกาสให้ สมองไดค้ ิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ได้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย และท้าทาย กระตนุ้ ให้เกิดจนิ ตนาการ เกิดการถา่ ยโอนขอ้ มลู เสรมิ สรา้ งกระบวนการคดิ โดยผสมผสานกิจกรรมตา่ งๆ อย่าง กลมกลนื และสอดคลอ้ งเชอื่ มโยงกัน ตรงกับธรรมชาติสมองขอ้ ทว่ี ่า ?ความมลี กั ษณะเฉพาะ คอื กฎ ไม่ใช่ ขอ้ ยกเวน้ (Uniqueness is the rule) สมองของแต่ละคนมลี กั ษณะเฉพาะตน ท้ังนเ้ี ป็นเพราะประสบการณช์ วี ติ ที่เปน็ ลักษณะเฉพาะ ? การพงึ่ พารางวัล (Reward Dependency) สมองพัฒนาอยา่ งงา่ ยดาย ตอ่ ความหลากหลายรปู แบบของ รางวัล สมองจะตดิ รางวัลทค่ี าดการณไ์ ด้เหมือนตดิ ยาเสพติด
3. นำความคดิ (Frame) เปน็ กรอบความคดิ ทจี่ ะเออ้ื ใหส้ มองรทู้ ิศทางการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ มแี นวทาง สามารถคดิ ตาม ทำความเข้าใจ เรยี นรู้ การปฏบิ ตั ิ จนบรรลตุ ามจุดประสงค์ของแตล่ ะกจิ กรรม ความรูพ้ นื้ ฐานเป็นส่วนสำคญั ทท่ี ำให้แนวความคดิ และการ รับรู้ขอ้ มูลของแต่ละคนแตกตา่ งกัน ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ที่ว่า การคาดการณ์ คอื ทักษะการ เอาตัวรอดทแ่ี ขง็ แกรง่ ทส่ี ดุ ของเรา (Prediction is our strongest survival skill) การคาดการณไ์ ด้เป็นทกั ษะท่ี แข็งแกรง่ ของสมองเพ่ือการอยรู่ อด
4. จติ จดจำ (Repetition & Practice) ใชห้ ลกั การฝึกทำซ้ำๆ และปฏบิ ัติบอ่ ยๆ โดยใชก้ จิ กรรม สรา้ งสรรค์ และหลากหลาย ในการสร้างความจำระยะส้ันและ ความจำระยะยาวโดยกอ่ นการทำซำ้ ตอ้ งผา่ นการฝกึ และแก้ไข ใหเ้ ข้าใจ และปฏิบตั ไิ ด้ถูกตอ้ งกอ่ น ตรงกับธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ า่ การรบั รอู้ ย่างหยาบเบือ้ งตน้ (Initial Rough Drafts) ในการเรยี นรสู้ ่ิงใหม่ครง้ั แรก สมองจะ รับรู้และจดจำอยา่ งคร่าวๆ ก่อน จดั ให้ทำกจิ กรรมซ้ำๆ สมอง จะเชอ่ื มโยงไปสู่ความรู้ และประสบการณใ์ หม่ ปรับ แก้ไข ให้ ถูกตอ้ งบันทึกเปน็ ความรู้ความจำทถ่ี าวร
5. คุณธรรมนำสือ่ สาร (Elaboration) เป็นการฝกึ สมองให้คดิ ประยุกต์สง่ิ ทีไ่ ดเ้ รียนรูแ้ ละนำไปใชใ้ น สถานการณต์ ่างๆ เพอื่ การสอ่ื สารและถา่ ยทอดอยา่ งเหมาะสม ตามศกั ยภาพโดยยดึ หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ที่วา่ การคาดการณ์ คอื ทักษะการ เอาตวั รอดทแ่ี ข็งแกรง่ ท่ีสดุ ของเรา (Prediction is our strongest survival skill) การคาดการณ์ได้เปน็ ทกั ษะที่ แขง็ แกรง่ ของสมองเพ่อื การอยูร่ อด
6. บรหิ ารความจำ(Preview/Review/Revise) เนน้ จดั กิจกรรมทเี่ ออ้ื ตอ่ การจัดระบบการรบั รูภ้ ายใตก้ าร ทำงานตามธรรมชาตขิ องสมอง โดยจดั กิจกรรมใหส้ มองได้ เหน็ ภาพลว่ งหน้าบ้างกอ่ น จดั กจิ กรรมซำ้ มเี วลาใหส้ มอง ทบทวนเรือ่ งราวประสบการณเ์ ดมิ เพอื่ เชอ่ื มโยงไปสู่ความรู้ และประสบการณ์ใหม่ เนน้ ความสำคัญของการปรบั แกไ้ ข ข้อมูลความรใู้ หถ้ กู ตอ้ งกอ่ นทส่ี มองจะบันทกึ เปน็ ความรู้ ความจำทถี่ าวร สมองตอ้ งการเวลาในการจัดการกบั ความรู้ ซึ่งจะนำไปสกู่ ารเรยี นรทู้ ่ีสมบูรณแ์ ละยง่ั ยนื ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ า่ การรับรอู้ ยา่ งหยาบเบื้องตน้ (Initial Rough Drafts) ในการเรยี นรสู้ ิ่งใหม่ครั้งแรก สมองจะ รับรแู้ ละจดจำอย่างคร่าวๆ ก่อน แล้วจึงลืมหรอื บันทึกไว้ หรือแกไ้ ขขอ้ มลู สมองตอ้ งการเวลาในการรบั ข้อมูลทมี่ ีความ ซับซอ้ น มรี ายละเอยี ด
7. อศั จรรยส์ ่ิงแวดล้อม (Enriched Environment) โรงเรียนจัดสภาพแวดลอ้ มทีส่ นบั สนนุ นกั เรยี นให้เกิด คณุ ลกั ษณะดา้ นต่าง ๆ อันประกอบด้วย ความฉลาดทาง คุณธรรม ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางสตปิ ัญญา ความฉลาดทางสังคม ความฉลาดทางการแกป้ ัญหา ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทีว่ า่ สมองปรับตวั และเปลย่ี นแปลง อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Brain is adaptive and constantly changing) สมองเปลย่ี นแปลงได้ และเปลีย่ นแปลงอยเู่ สมอ ตามสภาพแวดล้อม การรว่ มกิจกรรม การฝึกทกั ษะ สมองมี แนวโนม้ ทจ่ี ะปรบั ให้เข้ากับสภาพแวดลอ้ ม
8. พร้อมเสรมิ ปญั ญาพัฒนาสมอง (Skill Building Awareness) ตระหนกั ถงึ การจดั กจิ กรรม เพ่อื เสรมิ ปญั ญาพัฒนาสมอง ให้เกิดทกั ษะตา่ งๆ อยา่ งครอบคลุมและเหมาะสม ตรงกบั ธรรมชาตสิ มองขอ้ ทวี่ ่า การคาดการณ์ คอื ทกั ษะการเอาตวั รอดที่แขง็ แกร่งท่ีสุดของเรา (Prediction is our strongest survival skill) บางครัง้ สมองต้องตัดสนิ ใจทำ บางอย่างทนั ทใี ห้เปน็ ผลสำเรจ็ เปน็ ไปตามทคี่ าดไว้เพอ่ื ความ อยรู่ อด จงึ ตอ้ งฝกึ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถใชว้ ิธกี ารตา่ งๆ อยา่ ง เหมาะสม
มององค์รวม (Integrated mind/body/emotions) เนน้ จดั กิจกรรมทเี่ ออื้ ใหน้ กั เรียนมคี วามพรอ้ มทง้ั ทางดา้ น รา่ งกาย อารมณ์ และจิตใจ เพอ่ื ให้สมองสามารถทำงานได้ ตามธรรมชาติ มีความสุขก่อให้เกดิ การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างเต็มท่ี และมีประสิทธภิ าพ ตรงกับธรรมชาติสมองขอ้ ทว่ี ่า การบรู ณาการของสภาวะ จิตใจ ร่างกาย และอารมณ์ (Integrated mind, body, emotional states) สภาวะจิตใจ รา่ งกาย และอารมณ์ มีอทิ ธิพลตอ่ ความตง้ั ใจ ความจำ การเรยี นรู้ และพฤติกรรม เมอ่ื มีสภาวะใดเกดิ ขน้ึ ตอ่ เนอ่ื งนานๆ สกั ระยะหน่งึ จะเร่ิมคง ตวั และไมย่ อมทจ่ี ะเปลยี่ นแปลง
เพลง นวตั กรรม Dara TBM เนอ้ื ร้อง/ทำนอง โดย อาจารยอ์ นุศษิ ฐ์ เกตหอม นวัตกรรมการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้อง กับการทำงานของสมอง เพิ่มพลงั การรบั รู้ สู่หลากหลายกิจกรรม นำความคดิ จติ จดจำ คณุ ธรรมนำสื่อสาร บริหารความจำ อัศจรรยส์ ่ิงแวดลอ้ ม พร้อมเสริมปญั ญาพฒั นาสมอง มององคร์ วม Teaching with the Brain in Mind. Teaching with the Brain in Mind. Teaching with the Brain in Mind.
งาน TBM E-Book 02/65 กระบวนการเรยี นรดู้ ารา ทบี ีเอม็ Dara Teaching with the Brain in mind เรียบเรยี งขอ้ มลู โดย อาจารยส์ นุ นั ทา แดงเรอื น และ อาจารย์ศกุ ลรัตน์ เลรามญั
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: