Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-2 รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

64-2 รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

Published by sucharat ratchasarn, 2022-05-03 21:11:34

Description: 64-2 รายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

Search

Read the Text Version

คำชแี้ จง รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับศึกษาวิเคราะห์แยกแยะ นักเรียน เพื่อหาความแตกต่างระหว่างบุคคลเกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พื้นฐาน และประสบการณ์ ที่มี อยู่ก่อนที่จะให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้วิชา หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดๆ ของแต่ละระดับชั้น ตลอดทั้งศึกษา วเิ คราะห์เกย่ี วกับความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม และองคป์ ระกอบความพรอ้ มดา้ นต่างๆ ดังน้ี 1. ดา้ นข้อมลู ภูมิหลังครอบครัว 2. ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 3. ความพร้อมดา้ นสตปิ ัญญา 4. ความพร้อมด้านพฤตกิ รรม 5. ความพร้อมดา้ นร่างกาย 6. ความพร้อมด้านสงั คม การวเิ คราะห์ผู้เรยี นดำเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิม ที่ได้จัดการเรียนรู้ในปี การศึกษาทผ่ี า่ นมา หรือจดั สร้างเครื่องมอื แบบทดสอบวิชาน้ันๆ ข้นึ ใหม่แล้วนำมาใชท้ ดสอบ ผู้เรยี นทุกคน 2. นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์โดยแยกแยะแตล่ ะดา้ นตามความเป็นจริง พรอ้ มจัดกลมุ่ ผู้เรียน ออกเป็นกลุ่มเก่ง(กลุ่มปัญญาเลิศ) กลุ่มปานกลาง(กลุ่มปกติ) (หรือผ่านเกณฑ์) และกลุ่มที่ต้องปรับปรุ งแก้ไข (กลมุ่ ปญั ญาช้า) และกลุ่มพเิ ศษ (มีความสามารถพเิ ศษหรอื มีลักษณะพิเศษ)ออกจากกัน 3. การวิเคราะห์ผู้เรียนควรพิจารณาทั้งความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ สติปัญญา และความพรอ้ มด้านอนื่ ๆ ของผเู้ รียนควบค่กู ันไป 4. สำหรับนักเรียนที่มีความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ผู้สอน ควรรีบดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มีความพร้อมดีขึ้นก่อน จึงค่อยดำเนินการจัดการเรียนรู้ ในระดับชั้นที่จะ ทำการสอน สว่ นความพร้อมดา้ นอื่นๆ ให้พยายามปรับปรุงแกไ้ ขใหด้ ีขนึ้ ในลำดับตอ่ ไป สชุ ารตั น์ ราชสาร

แนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์ และขอบเขตของการวิเคราะหผ์ เู้ รียน 1. แนวคดิ ในการวิเคราะหผ์ ูเ้ รยี น 1) การจัดการเรยี นรู้ใหป้ ระสบความสำเร็จมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรสู้ งู ผู้เรยี นควรมคี วาม พร้อมทีด่ ีในทกุ ๆ ด้าน ดงั นนั้ ก่อนจะเรม่ิ ดำเนนิ การสอนวชิ าใดๆ ควรมีการศกึ ษาวเิ คราะห์ ผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคลทเ่ี กีย่ วกบั - ความพร้อมดา้ นความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ - ความพรอ้ มด้านสตปิ ัญญา - ความพรอ้ มด้านรา่ งกาย - ความพร้อมด้านสงั คม 2) กอ่ นจะเริ่มดำเนนิ การจัดการเรยี นรวู้ ิชาใดๆ ผสู้ อนควรศึกษาวิเคราะห์ผเู้ รียนให้รู้ถึงความ แตกตา่ งระหว่างบุคคลในแตล่ ะด้าน หากพบผเู้ รยี นคนใดมขี อ้ บกพรอ่ งด้านใดควรปรบั ปรงุ แก้ไข ให้มคี วามพรอ้ มทดี่ กี อ่ น 3) การเตรยี มความพรอ้ มหรอื การแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง สำหรบั นกั เรียนท่ยี ังขาดความพรอ้ มในดา้ น ใดๆ ควรใช้กจิ กรรมหลายๆ แบบ หรือใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารท่เี หมาะสมจนผเู้ รียนมคี วามพร้อม ดงั นี้ 2. วตั ถุประสงคก์ ารวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น 1) เพอื่ ศกึ ษาวเิ คราะห์แยกแยะเกยี่ วกบั ความพร้อมของผู้เรียนในแตล่ ะด้านเป็นรายบคุ คล 2) เพ่ือใหค้ รูผสู้ อนได้รจู้ ักผู้เรยี นเป็นรายบุคคล สำหรบั ส่งเสรมิ ให้สามารถพฒั นาตามธรรมชาติ ของแตล่ ะบุคคลเต็มตามศักยภาพ และหาทางช่วยเหลือผเู้ รยี นท่ีมีขอ้ บกพรอ่ ง ใหม้ คี วาม พรอ้ มทีด่ ขี ึน้ 3) เพ่อื ให้ผสู้ อนได้จดั เตรยี มการสอน ส่ือ หรอื นวตั กรรมสำหรบั ดำเนินการจดั การเรียนรู้แก่ ผเู้ รยี นไดส้ อดคลอ้ งเหมาะและตรงตามความต้องการของผู้เรียนมากยิ่งข้ึน 3. ขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น การวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเพอ่ื แยกแยะหาความแตกตา่ งระหว่างบุคคลในเรอ่ื งต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ 1) ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ (1) ความรู้พน้ื ฐานของวชิ าทจ่ี ะทำการเรยี นร้ใู นระดบั ชั้นนน้ั ๆ (2) ความสามารถในการแกป้ ัญหา (3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้ 2) ความพร้อมด้านสตปิ ญั ญา (1) การคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ (2) ความมเี หตผุ ล (3) ความสามารถในการเรียนรู้/การลำดบั ความ 3) ความพรอ้ มด้านพฤตกิ รรม (1) การแสดงออก (2) การควบคมุ อารมณ์ (3) ความมงุ่ มั่น อดทน ขยนั หมนั่ เพยี ร (4) ความรับผดิ ชอบ

4) ความพร้อมดา้ นร่างกายและจติ ใจ (1) ดา้ นสุขภาพร่างกายสมบรู ณ์ (2) การเจริญเติบโตสมวัย (3) ความสมบรู ณด์ ้านสขุ ภาพจิต 5) ความพร้อมดา้ นสังคม (1) การปรับตวั เข้ากับคนอน่ื (2) การช่วยเหลอื เสียสละแบ่งปัน (3) การเคารพ ครู กตกิ า และมรี ะเบียบวนิ ยั

การสรา้ งเคร่อื งมือเพือ่ วเิ คราะห์ผเู้ รยี น การสรา้ งเคร่ืองมือสำหรบั นำมาทดสอบผ้เู รยี นเพอ่ื ใชเ้ ป็น ข้อมูลสำหรับวิเคราะหผ์ เู้ รียนถือเปน็ เรือ่ งท่ี มคี วามจำเป็นและมคี วามสำคัญมาก ซง่ึ สามารถทำไดห้ ลายแนวทาง แต่ในทีน่ ้เี พอ่ื ใหค้ รผู ูส้ อนสามารถปฏบิ ตั ิ ได้แบบง่ายๆ ดังนี้ ครผู ู้สอนสรา้ งเครอ่ื งมอื หรอื สร้างแบบทดสอบเอง โดยเน้นการวดั ประเมินผลเฉพาะวชิ าท่จี ะทำการ สอนในปีการศกึ ษาน้ี แตแ่ บบทดสอบหรอื เครอ่ื งมือทจ่ี ะนำมาวดั ผูเ้ รียน ควรใหเ้ หมาสมกบั เรื่องทีจ่ ะวิเคราะห์ ผเู้ รียนในแตล่ ะดา้ น เช่น การวัดดา้ นความรู้ ความสามารถ หรือความพรอ้ มด้านสตปิ ัญญาควรใช้ แบบทดสอบ สว่ นการตรวจสอบความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรมใชก้ ารสังเกตหรอื แบบสอบถาม เป็นตน้ การสร้าง เคร่ืองมือ เพอื่ วิเคราะหผ์ ้เู รียน ควรยึดหลักทีส่ ำคัญดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ควรใหค้ รอบคลุมสาระหลกั ๆ ทจ่ี ะเรยี นรหู้ รือครอบคลุม พฤตกิ รรมด้านตา่ งๆ ของผู้เรียน (ควร เนน้ ให้สอดคลอ้ งกับหัวขอ้ ทกี่ ำหนดไวต้ าม “ขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี น”) 2. สอดคล้องกับประเด็นที่จะวดั หรือ ประเมนิ ผู้เรยี นในแตล่ ะดา้ น 3. กำหนดเกณฑใ์ หช้ ัดเจน เช่น - ตอบถกู ต้องหรอื มตี ามหวั ข้อการประเมิน ร้อยละ 70 ขึ้นไป ไดร้ ะดบั ดี - ตอบถกู ตอ้ งหรือมตี ามหัวขอ้ การประเมนิ ร้อยละ 40 – 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตอบถูกตอ้ งหรอื มีตามหัวขอ้ การประเมนิ น้อยกว่า ร้อยละ 40 ควรปรับปรงุ แก้ไข 4. การวัดหรือการทดสอบผเู้ รียนควรดำเนนิ การก่อนทำการสอนวชิ านั้นๆ เพื่อคน้ หานกั เรียนทม่ี ีความ บกพรอ่ งในดา้ นตา่ งๆ นำขอ้ มูลทีไ่ ด้กรอกลงในแบบวิเคราะหผ์ เู้ รยี นรายบคุ คลจนครบทุกด้าน จากนัน้ จึงค่อย ประมวลผลจากแบบวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคลไปสรปุ และกรอกลงในแบบสรปุ ผลการวิเคราะหผ์ ู้เรยี นอีกครั้ง เพ่ือใหผ้ สู้ อนไดม้ องเหน็ ภาพรวมและข้อควรทีจ่ ะตอ้ งปรับปรงุ แกไ้ ขได้ชดั เจน 5. เอพบข้อบกพร่องของผู้เรยี นในด้านใด ครูผู้สอนควรดำเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ข ให้มคี วามพรอ้ มทีด่ ี กอ่ น (โดยทว่ั ไปควรตรวจสอบความพรอ้ มดา้ นนั้นๆ อีกครัง้ เพ่อื ให้มั่นใจได้ว่าผเู้ รยี นมีความพรอ้ มถึงเกณฑท์ ี่ กำหนดไวแ้ ลว้ ) จึงเร่ิมจดั การเรยี นรู้ในวิชานัน้ ดา้ นท่ี 1 ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 1) ควรสร้างแบบทดสอบ ใหค้ รอบคลุมสาระสำคญั ของวชิ าน้ัน โดยคำนึงถงึ - ความรพู้ ืน้ ฐานท่ัวไป - ความสามารถในการแก้ปญั หาวิชานน้ั - ความสนใจการเรยี นร้วู ชิ านนั้ 2) แบบทดสอบอาจเปน็ แบบผสมท้ังปรนยั และ อัตนยั โดยตอบคำถามส้ันๆ 3) ความยากง่ายของข้อสอบควรมีสัดสว่ นที่ดี โดยทัว่ ไปจะมลี กั ษณะความยาก - ปานกลาง – ง่าย : อตั ราส่วน 30 – 40 – 30 4) ควรกำหนดเกณฑ์การประเมนิ ไว้ด้วย ตัวอย่างเชน่ ทำข้อสอบได้ รอ้ ยละ 70 ข้ึนไปให้ระดับด,ี ไดร้ อ้ ยละ 40 – 69 ระดับปานกลาง, ไดต้ ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 40 ต้องปรบั ปรุงแก้ไข ดังน้ีเป็นต้น

ด้านที่ 2 ความพร้อมด้านสติปญั ญา 1) แบบทดสอบดา้ นความพรอ้ มดา้ นสติปัญญา อาจผนวกรวมกับแบบทดสอบดา้ นความรกู้ ไ็ ด้ โดย เพ่มิ การประเมินเกย่ี วกับ - ความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ - ความมีเหตมุ ีผล - ความสามารถในการเรียนรู้ เช่น การจบั ใจความ หรือการลำดบั ขั้นตอนเปน็ ต้น 2) การสร้างแบบทดสอบ ความยากง่าย ของข้อทดสอบ และเกณฑ์การประเมินควรมลี กั ษณะ เดยี วกัน กบั ขอ้ ท่ี 2 ขอ่ ท่ี 3 และขอ้ ท่ี 4 ตามรายการประเมิน ด้านท่ี 1 ดังได้กลา่ วไว้แล้ว ด้านที่ 3 ความพรอ้ มดา้ นพฤติกรรม 1) ควรสร้างเคร่ืองมอื เนน้ แบบสังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี นเกี่ยวกับ - การแสดงออกของผ้เู รียนในลกั ษณะตา่ งๆ - การรู้จกั ควบคุมอารมณ์ - ความมุง่ ม่นั ตั้งใจ ขยนั หมน่ั เพยี ร 2) ครคู วรเป็นผสู้ งั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนดว้ ยตนเอง 3) ควรมกี ารกำหนดเกณฑ์ในการวดั ไวด้ ้วยว่าการแสดงพฤตกิ รรมใดไดร้ ะดบั ดี ปานกลาง หรอื ปรบั ปรงุ แก้ไข ด้านที่ 4 ความพรอ้ มด้านรา่ งกายและจติ ใจ 1) ควรสรา้ งเครอื่ งมอื แบบสังเกตและแบบสมั ภาษณ์เกี่ยวกับ - สุขภาพรา่ งกายของนักเรยี น - ความเจรญิ เตบิ โตสมวยั - ดา้ นสุขภาพจติ 2) ครูนำแบบสังเกตและแบบสมั ภาษณ์ โดยอาจจะสมั ภาษณ์ทงั้ ตัวผ้เู รยี น ผ้ปู กครอง หรือ ผเู้ กย่ี วขอ้ งใกลช้ ิดกับผเู้ รียนกไ็ ด้ 3) มีการกำหนดกฎเกณฑช์ ัดเจน โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ เช่นเดยี วกบั การประเมนิ ด้านอื่นๆ ด้านที่ 5 ความพรอ้ มด้านสงั คม 1) สรา้ งเคร่อื งมอื เปน็ แบบสงั เกตและแบบสัมภาษณเ์ ช่นเดียวกบั การประเมนิ (ดา้ นท่ี 4) แต่ควรให้ เก่ียวขอ้ งกบั เร่อื ง - การปรบั ตวั เข้ากับคนอนื่ - การเสียสละไมเ่ หน็ แก่ตัว - การมรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎกติกา 2) สำหรับการดำเนนิ การและการกำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ดำเนนิ การ เชน่ เดียวกับการประเมิน ความพร้อมด้านร่างกาย และจิตใจ