Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook บทที่1-3 จิตวิทยาการสอนผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Ebook บทที่1-3 จิตวิทยาการสอนผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Published by navarat282515, 2021-08-24 09:38:11

Description: Ebook บทที่1-3 จิตวิทยาการสอนผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

Keywords: จิตวิทยาการสอนผู้เรียนที่ม,ีความ,ต้องการพิเศษ

Search

Read the Text Version

51 1. เน้นการขยายโอกาส การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ จากการจัดการศึกษาและบริการ ทาง การศึกษาสาหรับคนพิการอยา่ งท่ัวถึง 2. มีระบบการวินิจฉัย คัดกรองคนพิการ และรูปแบบการจัดกลุ่มประเภทคนพิการและ มี กระบวนการติดตามการช่วยเหลือคนพกิ าร 3. สร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการให้แก่หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาสาหรับคนพกิ าร ทุก ประเภทอย่างมีคณุ ภาพและมีประสิทธิภาพ 4. สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง กับคนพิการ จัดบริการทางการศึกษาให้สาหรับคนพิการได้อย่างมีมาตรฐานและสนับสนุนให้องค์กร ดา้ นคนพิการและเครือข่ายมบี ทบาทเปน็ ส่วนหนึ่งของคณะกรรมการในทกุ มิตขิ องการพฒั นาคนพิการ 5. ส่งเสรมิ ให้มงี านวิจยั เพ่อื สร้างองค์ความรดู้ ้านคนพิการ 6. พัฒนาคุณภาพกระบวนการจัดหลักสูตรการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ เพื่อลดข้อจากัด ของคนพกิ ารท่ีมีความแตกตา่ งกันในแตล่ ะประเภท 7. พัฒนาครูและบคุ ลากรด้านการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร 8. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ นพกิ ารมีงานทาเพ่อื สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ 9. สนับสนุนส่ือ ส่ิงอานวยความสะดวก และการจัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการจัดการเรียน การสอนให้กับคนพกิ าร 10.ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษา คนพิการ ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และองค์กรเอกชนด้านคนพิการ ร่วมกันพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ในการจัดการศึกษาสาหรับคน พิการ 2.8. นโยบายในการจดั การศึกษาเพื่อผู้ทีม่ ีความตอ้ งการพิเศษ ในหัวข้อน้ี จะขอกล่าวถึงนโยบายในการจัดการศึกษาสาหรับผู้ท่ีมีความต้องการพิเศษ (ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ,2553) กล่าวถึง หลักการ The Least Restrictive Environment (LRE)และหลักการ Universal Design (UD) โดยในเอกสารคาสอนฉบับนี้ ผู้สอนยังคงเพิ่มเติม แนวคิดเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ท่ีน่าสนใจ ซึ่งในการ

52 จดั การศึกษาสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพเิ ศษจาเป็นจะต้องมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับหลักการ การจัดการศึกษาพเิ ศษ ดงั น้ี หลกั การ The Least Restrictive Environment (LRE) หลักการจัดการศึกษาพิเศษของประเทศต่างๆ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ประเทศฟนิ แลนด์ ประเทศออสเตรเลยี ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศญี่ปุ่น รวมถงึ ประเทศอื่นๆในแถบ เอเชีย และประเทศไทยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ การส่งเสริม“ความเสมอภาค” และ “การจัดการให้ เป็นปกติ”ตามหลักการของ “การศึกษาเพ่ือมวลชน” (Education For All : EFA) ได้มีรากฐานมา จากการให้ความเสมอภาคทางการศึกษา เด็กท่วั ไปหรือเดก็ ท่ีมีความตอ้ งการพิเศษ ต้องไดร้ ับความเท่า เทยี มกนั ทางการศึกษา หลักการการจัดการศึกษาพิเศษ (อรุณรัตน์ เดชสุวรรณ,2564) กล่าวถึง Dettmer,Dyck & Thurston (1996), Deiner (2010),Lewis & Doorlag (1995) การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มี ความต้องการพิเศษ มุ่งเน้นสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์ มีแนวทางปฏิบัติการจัดการศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับความแตกต่าง ของบุคคล เพอื่ เปดิ โอกาสและสง่ เสริมให้สามารถเรยี นรู้และอยรู่ ว่ มกัน ในสังคมได้ ไม่ว่าจะเป็นสิทธิทางการศึกษา รูปแบบและวิธีการจัดการศึกษา และบริการสนับสนุน ต่างๆ รวมถงึ กาหนดระเบยี บและ ข้อบงั คับต่างๆที่ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งปฏิบัตติ าม นาไปสู่การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในระบบการศึกษาท่ัวไป เรียกว่า การศึกษาแบบเรียน รวม โดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ การส่งเสริม“ความเสมอภาค” และ “การจัดการให้เป็นปกติ”ตาม หลักการของ “การศึกษาเพ่ือมวลชน” (Education For All : EFA) ดังนั้นจึงเป็นท่ีมาของคาว่า“The Least Restrictive Environment (LRE)” ซึ่งหมายถึง การลดข้อจากัดของสภาพแวดล้อมให้มาก ท่ีสุด การจัดการศึกษาพิเศษในประเทศไทย ได้นาหลักการดังกล่าวข้างต้นมาประยุกต์ใช้ในการ บริหารจัด การศึกษาในบริบทของการเรียนร่วม จุดประสงค์เพ่ือจัดการศึกษาที่เหมาะสมและ สอดคล้อง กับความต้องการจาเป็นพิเศษทุกประเภท ให้จัดการศึกษาท่ีมีรูปแบบ และระบบการ จัดการที่หลากหลายและครอบคลุมทุกช่วงวัยต้ังแต่แรกเกิดหรือแรกพบความบกพร่ อง/ความพิการ ต่อเนื่องตลอดชีวิต เช่น เบญจา ชลธาร์นนท์ (2546) ได้นาเสนอองค์ประกอบหลักในการบริหาร จัด

53 การศกึ ษาโดยนาหลักการ (Least Restrictive Environment : LRE) และ (Universal Design : UD) มาใช้กับบริบทของประเทศไทย โดยใช้ชื่อว่า “โครงสร้างซีท” (SEAT framework) มีองค์ประกอบ 4 ประการ คอื 1) นักเรียน (Student) - นักเรียนที่มีความบกพร่องหรือความต้องการพิเศษ ควรมีการเตรียม ความพร้อมท้ังในด้านร่างกาย วิชาการ อารมณ์และ สังคม รวมถึงการช่วยเหลือตนเอง - นักเรียน ทั่วไป ควรมีการเตรียมความพร้อมในด้านความรู้ความเข้าใจพ้ืนฐาน ทัศนคติและการยอมรับเพื่อนที่ ความบกพรอ่ งหรอื ความตอ้ งการพเิ ศษ 2) สภาพแวดล้อม (Environment) - ทางกายภาพ หมายถึง สถานศึกษาต้องคานึงถึงการจัด สภาพแวดล้อมให้มีขีดจากัดน้อยท่ีสุดในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน รวมถึงอาคาร สถานที่ และส่งิ อานวยความสะดวกทั้งใน ชั้นเรยี นและนอกห้องเรยี น - บคุ คลทเี่ ก่ียวขอ้ ง หมายถึง พอ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู และบุคลากรอื่นในโรงเรียน ควรมีส่วน ร่วมในการกาหนดนโยบาย แนวทางการ ดาเนินการจัดการศึกษา และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ การยอมรับเม่ือมีนักเรียนท่ีมีความ บกพร่องหรือความตอ้ งการพิเศษเขา้ สรู่ ะบบการศึกษา 3) กิจกรรมการเรียนการสอน (Activities) หมายถึง กิจกรรมภายในและภายนอกห้องเรียนใน สถานศกึ ษาทีม่ ีส่วนให้ นักเรียนทัว่ ไปและ นกั เรียนทม่ี ีความบกพรอ่ งหรอื ความตอ้ งการพเิ ศษไดร้ บั การ พัฒนาท้ังในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ประกอบด้วย - การรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง หรือความต้องการพิเศษเข้าเรียน - การบริหารจัดการหลักสูตร - การจัดตารางเรียน - การประสาน ความร่วมมือ – การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล – การจดั ทาแผนการสอนเฉพาะบคุ คล - กระบวนการตรวจสอบและประเมินผลทางการศึกษา - การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน สถานศึกษาและชุมชน - การรายงานความก้าวหน้าของนักเรียน - การประกันคุณภาพ - การนิเทศ ติดตาม ประเมนิ และปรับปรงุ กิจกรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การสอนและ พฒั นานกั เรียนทีค่ วามบกพร่องหรอื ความต้องการพเิ ศษ 4) เคร่ืองมือ (Tools) หมายถึง นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ งบประมาณ ระบบการบริหาร จัดการ กฎกระทรวง เทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ ตารา ความช่วยเหลืออื่นใดทาง

54 การศึกษา รวมถึงครูการศึกษา พิเศษและนักวิชาชีพอ่ืนที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาสาหรับ นักเรียนมีความบกพร่องหรือพิการ ส่ิงที่นามา เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการเรียนร่วม สาหรับ นักเรียนมีความบกพร่องหรือพิการเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และดารงชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด องค์ประกอบของ โครงสร้างซีท ทุกองค์ประกอบล้วนมีจุดมุ่งหมายเพ่ือตอบสนองความ ต้องการ จาเป็นพิเศษของนักเรียนมีความบกพร่องหรือพิการ นักเรียนท่ัวไป และบุคคลที่เก่ียวข้อง ซึ่ง สถานศึกษาอาจนาโครงสร้างซีทมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจัดการศกึ ษาได้ทุกรูปแบบ ซ่ึงปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานในกากับ เห็นถึงความสาคัญของการจัด สิ่งแวดล้อมที่มีข้อจากัดน้อยท่ีสุดสาหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ แต่บางโรงเรียนก็ไม่สามารถที่ จะตอบสนองนโยบาลและความต้องการของผู้เรียนได้ ในการจัดชั้นเรียนอาจกระทาได้หลากหลายวิธี เพื่อให้เหมาะสมกับผเู้ รียน บางคนอาจสามารถเข้าเรียนร่วมในช้ันเรียนปกติไดเ้ ต็มเวลา บางคนอาจ ต้องการการสนบั สนนุ ทางดา้ นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ บางคนอาจต้องการความชว่ ยเหลอื พเิ ศษจากครู หรือผู้เรียนบางคนอาจยังต้องการช้ันเรียนพิเศษเฉพาะเพื่อการฝึกพัฒนาการและทักษะในทุกด้านใน ระยะเร่ิมแรก ก่อนออกไปสู่การเรียนรวมหรือการเรียนร่วมในช้ันเรียน ดังน้ันการวางแผนการศึกษา เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลเปน็ ส่ิงท่จี าเป็น หลักการของ Universal Design (UD) Universal Design (UD) มีจุดเร่ิมต้นมาจากสถาปนิกที่ออกแบบเคร่ืองใช้ต่างๆ โดยคานึงถึง รูปร่าง ขนาด ประโยชน์ใช้สอยและคุ้มค่า เมื่อนามาใช้ทางการศึกษา ย่อมเป็นเรื่องของการออกแบบ เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนทุกคน ได้แก่ การสอนท่ีใช้ส่ือและวิธีการแบบต่างๆ การทางาน กลุ่ม การสอนโดยใช้อินเตอร์เนต ใช้ห้องปฏิบัติการ การออกฝึกภาคสนาม เป็นต้น รวมท้ังการ ออกแบบหลักสูตรที่สนองต่อผู้เรียนหลายระดับตามความสามารถในห้องเรียน (Burgstahler, 2009; Eagleton, 2008) การออกแบบมุ่งทกี่ ารใชง้ านให้ค้มุ ค่า ครอบคลุมสาหรบั ผ้เู รียนทุกคน โดยคานึงถงึ โอกาสในการใช้งานอย่างเทา่ เทยี มกัน ดังนัน้ การนาแนวคดิ การ ออกแบบการเรียนรสู้ ากล (Universal Design for Learning) มาใช้ในจึงสามารถช่วยลดอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนได้ และสร้าง ความยืดหยุ่นในการจัดการศึกษา เพอ่ื สนองต่อผูเ้ รียนที่มีความแตกตา่ งกนั สามารถ เรียนรู้ได้อย่างเทา่ เทียมกัน

55 Strangeman, Hitchcock, Hall, Meo, & et al :2006 ได้นาแนวคิดนี้มาประยุกต์ในการ จัดการเรียนการสอนใน 2 ลักษณะ คือ Universal Design for Instruction (UDI) และ Universal Design for Learning (UDL) โดยท่ี UDI เป็นการ ออกแบบการสอน รวมไปถึงวิธีการสอน การจัด เน้ือหา การประเมินผล และหลักสูตร ส่วน UDL เป็นเร่ืองที่ เกี่ยวข้องกับออกแบบสภาพการเรียนรู้ หรอื สงิ่ แวดล้อมการเรียนรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี น จากหลักการ Universal Design (UD) มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์นโคโรลาโด ได้มีการประยุกต์ Universal Design (UD) ( http://www.csec.ac.th/csec/wp content/uploads/2019/10 Universal-Design-3.pdf) มาใชก้ บั การจัดการเรียนการสอนใน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 1. Universal Design for Learning (UDL) หมายถึง การออกแบบเพื่อการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มตามศักยภาพของตน Universal Design for Learning (UDL) หลักการ UDL มีรากฐานมาจากศาสตร์ทางด้าน สถาปัตยกรรมและประสาทวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive neuroscience) ในวงการ การศึกษาพิเศษได้มีนาแนวคิด UDL มาใช้ โดยเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้เรียนท่ีมีความต้อง หลากหลาย โดยมีหลักการว่า UDL น้ันต้องอยู่บนพ้ืนฐานของ ความเข้าใจวา่ ผู้เรยี นแตล่ ะคนมลี กั ษณะเฉพาะตวั ทแี่ ตกต่างกัน และมีความตอ้ งการที่แตกตา่ งกันด้วย ซ่งึ การนา UDL ไปใช้ในการศึกษาพิเศษก็เพ่อื สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ ความตอ้ งการของ ผู้เรียนในแต่ละคน และส่งเสริมให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาความสามารถของตนเองไดเ้ ต็มท่ี ตามศักยภาพ (Eagleton, 2008) UDL เป็นสื่อการสอนและวิธีการสอนที่พร้อมใช้สาหรับครูผู้สอนท่ี สามารถ นาไปใชก้ ับนกั เรียนไดเ้ ลยการประยกุ ต์ใช้ UDL ในการเรยี นรแู้ บง่ เปน็ 3 ระดับ ได้แก่ ระดบั ท่ี 1 การนาเสนอ - การใช้รปู แบบของขอ้ มูลหลากหลายรปู แบบ เชน่ ข้อมลู ภาพข้อมลู เสียงหรือข้อมูลทสี่ ัมผัสได้ - การใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทห่ี ลากหลาย - การสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้ทบทวนความรู้ ความเข้าใจจากการเรียน ระดบั ที่ 2 การสื่อสาร - การใชร้ า่ งกาย - การพูด - การใช้การทางานของสมองระดบั สงู (Executive Function)

56 ระดับท่ี 3 การมสี ว่ นร่วม - การพยายามชกั จูงความสนใจ โดยให้อิสระในการเลอื ก - สนบั สนนุ ให้ใชค้ วามพยายามในการทางาน - เสริมสร้างทักษะการกากบั ตนเอง (Self-regulation) 2. Universal Design for Instruction (UDI) หมายถึง การออกแบบสาหรับการสอนท่ีมี ความหลากหลาย สอดคล้องหรือคานึงถึงรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนและเหมาะสมกับผู้เรียนท่ีมี ความแตกตา่ งกนั ในหอ้ งเรยี น Universal design for instruction (UDI) เป็นการออกแบบการสอนสาหรับการเรียนร่วม สาหรับผู้เรียนท่ีมีความหลากหลายอัน รวมไปถึงผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ (Scott, McGuire & Embry, 2002) ซ่ึงการออกแบบต้องสอดคล้องหรือคานึงถึงลีลาการเรียนรู้ของผู้เรียน และมีความ เหมาะสมกับ ผู้เรียนท่ีมีความแตกต่าง กันในห้องเรียน การประยุกต์หลักการของ Universal Design for Instruction (UDI) มาใชใ้ นการเรยี นการ สอนทาได้ดังน้ี (Burgstahler, 2009) 1. การสร้างบรรยากาศในห้องเรียน ให้เป็นบรรยากาศท่ีเคารพในความ เป็นอัตบุคคลของ ผู้เรียน อาจเขียนไว้ ในแนวการสอนท่ีให้ผู้เรียนได้บอก ความต้องการของตนเองในการเรียน เรื่องนั้น ๆด้วยหรอื หากมีผู้เรยี นพิการก็ให้ผูเ้ รียนไดม้ โี อกาสบอกข้อจากัดในการเรยี นรูข้ องตนเองดว้ ย 2. การมีปฏิสัมพันธ์ให้มีกิจกรรมการ แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างผู้เรียน กับผู้สอน และ ในกล่มุ ผู้เรยี นกนั เอง หรอื ออกแบบงานกลุม่ ทใ่ี หผ้ ู้เรยี นได้ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ได้เปลย่ี นบทบาทตา่ ง ๆ 3. คานึงถึงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ โดยจัดสภาพแวดล้อม ส่ือ กิจกรรมให้สะดวก ปลอดภัย สาหรับผูเ้ รียนทกุ คน ทงั้ ผู้เรียนท่ีตาบอด หรอื นง่ั รถเขน็ 4. ใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลายรูปแบบ ออกแบบกิจกรรมหรืองาน ท่ีให้ผู้เรียนเลือกได้ตาม ความถนัดและความสามารถ 5. ข้อมูลสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยีเช่น เอกสารประกอบการสอน สื่อการสอนและข้อมูล อื่นๆ มี ความยืดหยุ่นสาหรับผู้เรียนทุกคนทุกประเภท เช่น แจกค าอธิบายรายวิชา และเอกสาร ประกอบกอ่ นเร่มิ สอน เพื่อใหผ้ เู้ รียนทีเ่ รยี นรไู้ ด้ช้าไดอ้ า่ น ล่วงหนา้ หรอื ปรน้ิ ท์เอกสารเปน็ อักษรเบรลล์ เพอ่ื ผ้เู รียนตาบอดไดอ้ า่ นเชน่ เดียวกนั กับเพ่ือน เป็นต้น

57 6. มกี ารสะท้อนผลงานของผเู้ รยี นเป็นระยะๆ สาหรบั งานที่ผู้เรยี นท า เพ่ือให้สามารถปรับปรงุ งาน ได้ 7. มีวิธีการประเมินผลการเรียนและใช้เครื่องมือประเมินที่หลากหลาย เช่น ในบางกรณีอาจ ประเมนิ ผลงานกลุ่ม งานบางชิน้ ก็ประเมินเป็นรายบุคคล เป็นต้น 8. ปรับสื่อสิ่งอานวยความสะดวกให้เหมาะสมสาหรับผู้เรียนพิการในห้องเรียน เช่น จัดหรือ แลกเปลี่ยนห้องเรียนท่ีมีความสะดวกสาหรับผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางรา่ งกาย ปรับตารางสอน ให้ ยืดหยุ่นสาหรับผู้เรียนท่มี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ เช่น เจ็บป่วยบ่อย ๆ ต้องพบแพทย์เสมอใน เวลา ทตี่ อ้ งเรยี นวชิ าน้นั ๆ เป็นต้น แ น ว คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ ป็ น ส า ก ล ( Universal design for learning : UDL) เก่ียวข้องกับการ จัดสภาพแวดล้อมเพ่ือการเรียนรู้ ในยุคการศึกษา 4.0 จึงมีการประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการ สนองตอบต่อความต้องการของผู้เรียนที่มีความต้องการหลากหลาย และแตกต่างกัน ประกอบไปด้วยหลักการ ที่สาคัญ 3 ประการ (Strangeman, Hitchcock, Hall, Meo, & et. al :2006) ได้แก่ 1. การสนบั สนนุ การเรยี นรู้เพอ่ื จดจา โดยการจดั หาวิธีการนาเสนอทีย่ ืดหย่นุ และหลากหลาย 2. เพื่อสนับสนุนการเรียนรยู้ ทุ ธศาสตร์ โดยจดั หาวิธกี ารอธบิ ายหรอื การแสดงออกดว้ ยคาพูดท่ี ยดื หยนุ่ และหลากหลายและการเรียนรจู้ ากผทู้ มี่ ปี ระสบการณ์มากกวา่ 3. เพือ่ สนบั สนุนการเรียนรู้ทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล โดยการจดั หาทางเลือกที่มีความยืดหย่นุ ให้นักเรียน มสี ว่ นรว่ มในการเรียนรตู้ ามหลักสูตร การออกแบบสากลในการศกึ ษา (Universal Design in Education) ถูกนาไปใชก้ บั ผลิตภัณฑ์ ทางการ ศึกษาต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ซอฟต์แวร์ ตาราและอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการ รวมถึง สภาพแวดลอ้ ม ต่างๆ เชน่ ห้องรบั แขก ห้องเรียน อาคารห้องสมดุ การจัดการเรยี นรสู้ าหรับผ้เู รียนทีม่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ในศตวรรษท่2ี 1 การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 (สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, 2560) มุ่งหวังให้ผู้เรียน มีความรู้และทักษะสาหรับการดารงชีวิตใน สังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งทักษะสาหรับการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญท่ีสดุ คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) โดยอา้ งถึงรูปแบบ (Model) ท่ีมา

58 จากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) ซึ่งวิจารณ์ พานิช(2555: 16) ได้กล่าวถึงการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่21 ต้องก้าวข้าม สาระวิชา ไปสู่การเรียนรู้ ทักษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ( 21st Century Skills) ที่ครูต้อง ออกแบบการเรียนรู้ และอานวย ความสะดวก (facilitate) ในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเรียนรู้จากการ เรียนแบบลงมือทา แล้วการเรียนรู้ก็จะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง การเรียนรู้แบบนี้ เรียกว่า PBL (Project-Based Learning) ครูต้องเรียนรู้ทักษะใน การออกแบบการเรียนรู้แบบ PBL ให้ เหมาะแก่วัยหรือพัฒนาการของผู้เรียน สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้ เพ่ือมีชีวิต ในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของผู้เรียนโดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรม ท่ีช่วย ให้ผู้เรียนแต่ละคนสามารถ ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ รูปแบบการเรียนรู้ท่ี สาคัญ เช่น การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning : PBL) การเรียนรู้แบบใช้ เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology-Based Learning: TBL) การเรียนรู้แบบใช้สะเต็มศึกษา (STEM Education) การเรียนรโู้ ดยใช้ หอ้ งเรียนกลับด้าน(Flipped Classroom) เป็นต้น ดจิ ิทัลกบั ผทู้ ่ีมคี วามตอ้ งการพิเศษ เทคโนโลยีสมัยใหม่มีบทบาทอานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิตและการสอ่ื สาร ของคนใน สังคมเทา่ นัน้ แตย่ งั เข้ามามี บทบาทใน การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม มมุ มอง วิธคี ิด ทศั นคตคิ ่านิยมทาง สังคม และวัฒนธรรมของผู้ใช้อีกด้วย ทาให้เด็กในยุคดิจิทัลจึงมีมุมมองความคิดที่แตกต่างออกกันไป (ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน, 2556) ทั้งน้ีเด็กมีวิธีการใช้งานสื่อดิจิทัลแตกต่างจาก ผู้ใหญ่ โดยผู้ใหญ่ จะต้องให้คาแนะนาในการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างถูกวิธีและเกิด ประโยชน์นอกจากนี้ผู้ใกล้ชิดกับ เด็กควร ตระหนักถึงความ ฉลาดทางดิจิทัล (digital intelligence) หรือ DQ โดย ความฉลาดทาง ดิจิทัลเป็นชุดของความสามารถทางสังคม อารมณ์และสติปัญญาที่ช่วยให้เด็กเผชิญกับความท้าทาย กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ดังนั้นในระดับสถานศึกษาหรือระดับประเทศต้องมี การจัดการเรียนรู้ท่ีล้าสมัย สง่ เสริมทกั ษะทางดจิ ทิ ัลให้แก่ผทู้ ีม่ ึความต้องการพเิ ศษ

59 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน หรือ สสค. ได้ประมวลข้อมูลจาก สภา เศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) เกี่ยวกับ คุณลักษณะและทักษะในโลกยุคดิจิทัล หรือเรียกว่า ‘ความ ฉลาดทางดิจิทัล’ (DQ) ที่จาเป็นสาหรับ เด็กในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 8 ทักษะท่ีเด็กและเยาวชนยุคใหม่ควร เรียนรู้ในการเป็นพลเมืองโลกยุคดิจิทัล ซึ่งสามารถอธิบาย รายละเอียดได้ดังนี(้ สานกั งานส่งเสริมสงั คมแห่งการเรียนรูแ้ ละคณุ ภาพเยาวชน (สสค.), 2559) 1) ทักษะการรักษาอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเอง (digital citizen identity) คือ ความสามารถใน การสร้างและการ จัดการอัตลักษณ์ท่ีดีของตนเองท้ังในโลกออนไลน์และโลกความจริง เช่น เด็กแสดง ความสามารถพิเศษของตนเอง ในการรอ้ งเพลงหรือสอนแตง่ หน้าผา่ นเฟสบุก๊ หรือยทู บู เป็นตน้ 2) ทักษะการจัดการเวลาหน้าจอ (screen time management) คือ ความสามารถในการ บริหารเวลาการ ใช้อุปกรณ์ ดิจิทัล และความสามารถในใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัล ที่หลากหลายในเวลา เดียวกันได้เช่น เด็กสามารถใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเพื่อการ ชมการ์ตนู ในยูทูบ และในขณะเดียวกันใช้ แท็บเลต็ เพือ่ การคน้ หาข้อมลู เปน็ ต้น 3) ทักษะการจัดการกับการคุกคามบนโลกออนไลน์(cyberbullying management) คือ ความสามารถในการ ป้องกัน จากการคุกคามหรือข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้อย่างชาญ ฉลาด เช่น เด็ก สามารถรเู้ ท่าทนั ภัยทม่ี าจากสื่อออนไลน์โดยไม่บอกข้อมูล สว่ นตวั ที่สาคัญให้กบั บุคคลท่ไี ม่รู้จกั ใน โลก ออนไลน์ เปน็ ต้น 4) ทักษะการจัดการความปลอดภัยขอ งตนเองใน โลกออนไลน์( cybersecurity management) คือ ความ สามารถใน การปอ้ งกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภัยท่ีเข้มแข็ง และป้องกันการโจรกรรมข้อมูลหรือการโจมตีออนไลน์ได้เช่น เด็กสามารถใช้รหัสผ่านในการเข้า ใช้ งานคอมพวิ เตอร์หรือแทบ็ เลต็ เพ่ือการเข้าถึงข้อมูลใน ส่อื ออนไลน์ได้เปน็ ตน้ 5) ทักษะการจัดการความเป็นส่วนตัว (privacy management) คือ ความสามารถในการ บริหารจดั การ ข้อมูลส่วนตวั เพอื่ ปอ้ งกันการถูกรบกวนจากผู้อนื่ เช่น เด็กสามารถเลือกรับและปฎเิ สธ ข้อมลู หรอื เพอื่ นในสอ่ื ออนไลนไ์ ดเ้ ป็นตน้

60 6) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) คือ ความสามารถในการวิเคราะห์ หรือแยกแยะ ระหว่างข้อมูลท่ี ถูกตอ้ งและข้อมูลท่ีไม่ถกู ตอ้ ง รวมถงึ ขอ้ มูล ท่ีมีเน้ือหาที่สร้างสรรค์และ ข้อมูลที่เข้าข่ายอันตรายได้เช่น เด็กสามารถบอกประโยชน์ และโทษของการชมการ์ตูน หรือเกม ออนไลนไ์ ด้เป็นต้น 7) ทักษะการจัดการข้อมูลที่เป็นร่องรอยบนโลก ออนไลน์ ( digital footprints) คือ ความสามารถใน การจัดการข้อมูลที่ ไม่ท้ิงร่องรอยไว้บนโลกออนไลน์รวมท้ัง การเข้าใจผลลัพธ์หรือ ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นจาก การใช้งาน เช่น เด็กสามารถลบข้อมูลท่ีไม่ต้องการเปดิ เผยให้กับบุคคลอื่น ในส่ือออนไลนไ์ ดเ้ ป็นต้น 8) ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีจริยธรรม (digital empathy) คือ ความสามารถใน การใช้งานอย่าง ปลอดภัย และสร้างสรรค์รวมไปถึงการใช้ส่ือดิจิทัลอย่างมีจริยธรรมต่อตนเองและ ผู้อ่นื เช่น เดก็ สามารถแสดงความรู้สกึ หรอื ความคิดเหน็ ใน สื่อออนไลน์ โดยใช้ขอ้ ความที่มภี าษาสภุ าพ เปน็ ต้น รปู แบบโมเดลทางการศึกษาดจิ ิทัล (อรณุ รัตน์ เดชสุวรรณและ ชนิดา มติ รานันท์, 2564) ภาพท่ี 2 โมเดลการศกึ ษาแบบดจิ ทิ ลั

61 ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล พัฒนาการมนุษย์ได้รับอิทธิพลมาจากพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม มนุษย์มีลักษณะในตัวเองทั้ง ภายในและภายนอกท่ีมีความแตกต่างกัน ทั้งรหัสพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม ท่ีแตกต่างกัน มนุษย์เรามี ปัจจัยที่ทาให้เกิดความแตกต่างระหว่างบุคคล ทั้ง ปัจจัยทางส่ิงแวดล้อม ท่ีกระตุ้นให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงภายในจติ ใจและความคิด และปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น พันธุกรรม กลุ่มเลือด โครงสร้าง ร่างกาย แต่ท่ีสาคัญท่ีสุดคงจะเป็นเรื่องของ ‘สมอง’ ท่ีมักมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ความคิด และ ความรู้สกึ ของคนเราเปน็ อยา่ งมาก นอกจากบุคคลจะแตกต่างกันในด้านต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมีความแตกต่างกันด้าน บุคลกิ ภาพอื่นๆ เช่น ความถนัดตาธรรมชาติ ความสนใจ ทัศนคติ แรงจูงใจ ความคิดสร้างสรรค์ ความ รับผิดชอบ วิธีคิดและแบบของการเรียนรู้ ฯลฯ ซ่งึ ลักษณะดังกลา่ วมีผลต่อการเรียนท้ังสน้ิ โดนเฉพาะ อย่างย่ิงแบบการเรียนรู้ซ่ึงจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล เช่น คนบางคนเรียนรู้ได้ดีด้วยการใช้ สายตาหรือการสังเกต (Visual) บางคนเรียนรู้ได้ดีด้วยการฟัง (Auditory) บางคนเรียนรู้ได้ดีด้วยการ พูด (Talking) และบางคนเรียนรู้ได้ดีโดยการใช้มือหรือการสัมผัส (Touching) นอกจากน้ีผู้เรียนบาง คนเรียนรู้ได้ดีถ้ามีการกาหนดเวลาท่ีแน่นอน แต่บางคนจะทาได้ไม่ดี บางคนต้องการให้คอยดูแลสอน ซา้ ๆ แตบ่ างคนชอบอสิ ระ เป็นตน้ ในห้องเรียนหนึง่ ๆ ประกอบดว้ ยผู้เรียนท่ีมคี วามแตกตา่ งกันอยา่ ง หลากหลาย และความแตกตา่ งเหลา่ เปน็ ตัวแปรสาคัญท่ีมีอทิ ธิพลต่อประสิทธิภาพในการจัดการเรียน การสอน การตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ย่อมช่วยให้สามารถจัดการเรียนการสอนเพื่อ ตอบสนองผเู้ รียน และพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นอย่างเต็มท่ี การศึกษาความแตกต่างระหว่างบุคคล นาไปสู่การศึกษาหลักวิธีการสอน กระบวนการสอน และทาความเข้าใจธรรมชาติของผ้เู รยี นเพือ่ ใหเ้ ป็นประโยชน์ในการจดั การเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ 1.ช่วยให้รจู้ ักลกั ษณะนิสยั (Characteristics) ของผู้เรียน รู้เกี่ยวกบั พัฒนาการท้ังทางร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลกิ ภาพเปน็ ส่วนรวม 2.ช่วยให้มีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน เช่น อัตมโนทัศน์ (Self concept) เรียนรถู้ ึงบทบาทของครใู นการท่ีจะชว่ ยผู้เรียนให้มี อตั มโนทศั น์ ท่ดี แี ละถูกต้อง

62 3. ช่วยให้มคี วามเข้าใจในความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพอ่ื จะไดช้ ว่ ยนกั เรียนเป็นรายบคุ คลให้ พฒั นาตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล 4.ช่วยให้รู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย และขั้นพัฒนาการของ นกั เรยี น เพ่ือจงู ใจให้นักเรยี นมีความสนใจและอยากจะเรยี นรู้ 5.ช่วยให้ทราบถงึ ตัวแปร ที่มอี ทิ ธิพลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น แรงจงู ใจ 6.ช่วยในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน เพ่ือทาให้การสอนมีประสิทธิภาพสามารถช่วย ให้นักเรียนทุกคนเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละบคุ คล โดยคานึงหัวข้อต่อไปน้ี เลอื กวัตถุประสงค์ของ บทเรียน เลือกหลักการสอนและวิธีสอนท่ีเหมาะสมและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน การวัดและ ประเมินผล 7.ครูทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ที่นักจิตวิทยา ได้พิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี เช่น การ เรยี นรจู้ ากการสังเกตหรอื การเลียนแบบ (Observational learning หรอื Modeling) 8.ช่วยให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้คาถาม การให้แรง เสรมิ และการทาตนเป็นต้นแบบ 9.นักเรียนท่ีมีผลการเรียนดี ไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาเพียงอย่างเดียว แต่มี องค์ประกอบอ่ืนๆ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ทัศนคติ ความเข้าใจของนักเรียนและความคาดหวัง ของครทู ีม่ ีต่อตัวนักเรียน 10.ช่วยใหก้ ารดแู ลในชน้ั เรยี นและการสรา้ งบรรยากาศของหอ้ งเรียนเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ จากส่ิงท่ีกล่าวมาแล้วน้ัน สามารถนาไปใช้ในการออกแบบหรือวางแผนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะส่ิงน้ีย่อมส่งผลต่อรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสม ซ่ึงจะเกิด ประโยชน์สูงสุดตอ่ ผ้เู รียน 1.การจัดหลักสตู รการเรยี น (Curriculum) ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ควรมีการ ประเมินความต้องการ ความสนใจ ทักษะและความสามารถของผู้เรียน จึงตัดสินใจว่าจะจัดการเรียน การสอนโดยใช้กิจกรรมอะไรกับผู้เรียนและผ้สู อนต้องคานึงถึงเรื่องของสภาพแวดล้อม ท้องถนิ่ ท่ีอาศยั วิถชี ีวิต วฒั นธรรมและประเพณี เปน็ ต้น ควรนามาพิจารณาประกอบการจดั การเรียนการสอนดว้ ย

63 2.วธิ กี ารสอน (Method of Teaching) เพ่ือให้เหมาะกับหลักสูตรการสอนที่จัด ผู้สอนควรพิจารณาวิธีการสอนท่ีเหมาะสมกับหัวข้อ เร่ืองท่ีสอนและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่นวิธีการสอนโดยใช้การบรรยาย การสาธิต การทดลอง การ แสดงบทบาทสมมติ การใช้สถานการณ์จาลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย ซง่ึ ในการเลือกวธิ ีการสอน ควร คานงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี นในแต่ละระดบั ชั้นทีม่ คี วามแตกต่างกันด้วย 3.อปุ กรณ์และส่ิงชว่ ยสอน (Teaching Aids) ควรมีอุปกรณ์ช่วยสอนอย่างเพียงพอและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกใช้อย่างเต็มที่ อุปกรณ์ การสอนตอ้ งเหมาะกับวยั ของผู้เรียน 4.การวัดผล (Evaluation) การวัดผลควรใช้วิธีการท่ีหลากหลาย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงและให้ความเป็น ธรรมกับผู้เรียน ซ่ึงจะช่วยให้ผู้สอนเข้าใจสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน จึงสามารถหารูปแบบการ จดั การเรียนการสอนที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียนได้ 5.การจัดกจิ กรรมพิเศษ(Extra Activities) ผู้สอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้ความสามารถของตนอย่างเต็มท่ี เช่นการเข้าร่วม กิจกรรมนอกช้ันเรียน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการทางานร่วมกัน รู้จักการวางแผน การคิดอย่างมี เหตุผล สามารถแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน รู้จักเป็นผู้นาและผู้ตาม เป็นต้น การสง่ เสรมิ การเรยี นรู้เปน็ รายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ ผู้สอนควรพิจารณาถงึ ความถนัดและความสามารถ ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ความสามารถพิเศษในด้านอื่นๆ เช่น ความถนัดทางด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ เป็นต้น เพอ่ื เปน็ การสง่ เสริมความสามารถของผู้เรียนในดา้ นน้นั ๆอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ ดังน้ันการท่ีผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ก็จะสามารถจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคลและบรรลุวัตถุประสงค์ในการจัด การศึกษาให้ผู้เรียนอย่างเสมอภาคกัน รวมถึงการส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียนในด้านความสนใจ แรงจูงใจในการเรียน ทัศนคติที่ดีต่อการเรียน และพัฒนาความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนตาม ศักยภาพท่แี ตกตา่ งกนั ในแต่ละบุคคล จะเปน็ ประโยชน์ในแนวทางการพัฒนาผูเ้ รียนต่อไป

64 บทที่ 3 ความต้องการทางการศกึ ษาและปัจจยั ทางร่างกายและทางจติ วิทยา ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษ 3.1 นยิ ามของผูเ้ รียนที่มคี วามต้องการพิเศษ ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ หมายถึง ผเู้ รียนท่มี ลี ักษณะทางรา่ งกาย ปัญญา อารมณแ์ ละ พฤตกิ รรมทีเ่ บย่ี งเบนไปจากปกติ ซ่งึ สง่ ผลกระทบต่อพัฒนาการในดา้ นตา่ งๆ ดงั นัน้ ผู้เรยี นจึงมคี วาม ต้องการการดแู ล เพ่ิมเติมดว้ ยวธิ กี ารพเิ ศษ ทางการศึกษาแตกต่างไปจากผู้เรียนปกติ เพ่อื ชว่ ยให้ สามารถพฒั นาไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพทมี่ ีอยู่ เพ่ือใหม้ สี ุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ที่ดี มโี อกาสทางการศกึ ษาท่ี เท่าเทียมและได้รับการยอมรับในสังคม (พ.ร.บ. สง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550 และท่ีแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556) 3.2 ประเภทและลักษณะของความตอ้ งการพิเศษ กระทรวงศกึ ษาธิการ จดั แบง่ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง กาหนดประเภทและ หลักเกณฑข์ องคนพกิ ารทางการศกึ ษา พ.ศ. 2552 ตามมาตรา 3และมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญตั ิ การจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร จดั ประเภท เปน็ 9 ประเภท ดังต่อไปนี้ บุคคลท่ีมีความบกพร่อง ทางการเหน็ บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางการได้ยิน บุคคลท่มี ีความบกพรอ่ งทางสติปัญญา บุคคล ท่มี ีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคล่อื นไหว หรอื สขุ ภาพ บุคคลทีม่ คี วามบกพร่องทางการ เรียนรู้ บคุ คลที่มีความบกพร่องทางการพดู และภาษา บคุ คลทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรม หรือ อารมณ์ บคุ คลออทสิ ติก และบุคคลพิการซอ้ น (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2552) กาหนดลกั ษณะของคนพิการในแต่ละ ประเภท ดังน้ี 1.บคุ คลท่มี คี วามบกพร่องทางการเห็น ได้แก่ บคุ คลท่ีสูญเสยี การเหน็ ตัง้ แตร่ ะดับเล็กน้อยจนถงึ ตาบอดสนิท ซง่ึ แบ่งเป็น 2 ประเภทดังน้ี

65 1.1 ระดับตาบอด หมายถงึ บุคคลทส่ี ญู เสยี การเห็นมาก จนตอ้ งใชส้ ื่อสัมผัสและสอื่ เสยี ง หาก ตรวจวัดความชดั ของสายตาขา้ งดีเม่ือแก้ไขแล้ว อยู่ในระดบั 6 สว่ น 60 (6/60) หรือ 20 ส่วน 200 (20/200) จนถงึ ไม่สามารถรบั ร้เู รอ่ื งแสง 1.2 ระดับมองเห็นเลือนราง หมายถึง บุคคลทีส่ ญู เสียการเห็น แต่ยงั สามารถอ่านอกั ษร ตวั พมิ พข์ ยายใหญด่ ว้ ยอปุ กรณเ์ ครือ่ งชว่ ยความพิการ หรือเทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวก หากวัด ความชัดเจนของสายตาขา้ งดเี มอ่ื แกไ้ ขแลว้ อยูใ่ นระดับ 6 สว่ น 18 (6/18) หรอื 20 ส่วน 70 (20/70) 2. บคุ คลทมี่ คี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน ได้แก่ บคุ คลทส่ี ูญเสียการได้ยนิ ตงั้ แต่ระดับหตู ึงน้อย จนถึงหหู นวก ซ่งึ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 2.1.หูหนวก หมายถงึ บุคคลทส่ี ูญเสียการไดย้ นิ มากจนไมส่ ามารถเข้าใจการพดู ผา่ นทางการได้ ยินไม่วา่ จะใส่หรือไมใ่ ส่เครือ่ งชว่ ยฟงั ซึ่งโดยทัว่ ไปหากตรวจการได้ยนิ จะมีการสูญเสียการไดย้ นิ 90 เด ซเิ บลขึน้ ไป 2.2.หูตึง หมายถึง บุคคลท่มี กี ารได้ยินเหลอื อยเู่ พียงพอท่จี ะไดย้ ินการพดู ผ่านทางการไดย้ นิ โดยทวั่ ไปจะใส่เครือ่ งช่วยฟัง ซ่ึงหากตรวจวดั การได้ยินจะมีการสูญเสยี การไดย้ นิ นอ้ ยกว่า 90 เดซเิ บล ลงมาถึง 26 เดซเิ บล 3. บุคคลท่ีมคี วามบกพร่องทางสติปัญญา ไดแ้ ก่ บุคคลทม่ี คี วามจากดั อยา่ งชัดเจนในการปฏบิ ตั ิ ตน (Functioning) ในปจั จุบนั ซึ่งมลี ักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปัญญาต่ากวา่ เกณฑเ์ ฉลยี่ อยา่ งมีนยั สาคญั ร่วมกับความจากัดของทกั ษะการปรบั ตวั อกี อย่างน้อย 2 ทกั ษะจาก 10 ทกั ษะ ได้แก่ การส่อื ความหมาย การดแู ลตนเอง การดารงชวี ติ ภายในบา้ นทกั ษะทางสงั คม/การมปี ฏิสัมพนั ธก์ ับ ผู้อ่ืน การร้จู กั ใชท้ รพั ยากรในชุมชน การร้จู ักดูแลควบคุมตนเอง การนาความรมู้ าใชใ้ นชวี ิตประจาวัน การทางาน การใชเ้ วลาวา่ ง การรักษาสขุ ภาพอนามัยและความปลอดภยั ท้ังน้ี ไดแ้ สดงอาการดังกล่าว ก่อนอายุ 18 ปี 4.บคุ คลที่มีความบกพร่องทางรา่ งกาย หรือการเคลอ่ื นไหว หรอื สุขภาพ ซง่ึ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 4.1 บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางร่างกาย หรอื การเคล่ือนไหว ได้แก่ บุคคลทม่ี อี วยั วะไม่สม ส่วนหรือขาดหายไป กระดูกหรอื กล้ามเน้ือผดิ ปกติ มีอุปสรรคในการเคล่ือนไหว ความบกพร่อง

66 ดงั กลา่ วอาจเกดิ จากโรคทางระบบประสาท โรคของระบบกล้ามเน้อื และกระดูก การไมส่ มประกอบ มาแตก่ าเนิด อบุ ตั ิเหตุและโรคตดิ ต่อ 4.2 บุคคลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางสุขภาพ ได้แก่ บคุ คลทมี่ ีความเจบ็ ป่วยเรอื้ รังหรอื มีโรค ประจาตวั ซึง่ จาเป็นตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาอย่างต่อเน่ือง และเปน็ อุปสรรคต่อการศกึ ษา ซงึ่ มีผลทาให้เกดิ ความจาเป็นต้องไดร้ ับการศึกษาพเิ ศษ 5. บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ บคุ คลทีม่ ีความผดิ ปกตใิ นการทางานของสมอง บางส่วนท่แี สดงถึงความบกพรอ่ งในกระบวนการเรยี นรู้ทอ่ี าจเกดิ ขึ้นเฉพาะความสามารถดา้ นใดด้าน หนงึ่ หรือหลายดา้ น คอื การอา่ น การเขยี น การคดิ คานวณ ซง่ึ ไมส่ ามารถเรยี นรู้ในดา้ นทีบ่ กพรอ่ งได้ ท้ังทม่ี ีระดับสติปญั ญาปกติ 6. บคุ คลทีม่ คี วามบกพร่องทางการพูดและภาษา ไดแ้ ก่ บคุ คลท่ีมีความบกพร่องในการเปลง่ เสยี งพูด เช่น เสยี งผิดปกติ อตั ราความเรว็ และจังหวะการพดู ผดิ ปกติ หรือบุคคลที่มคี วามบกพร่อง ใน เรอ่ื งความเขา้ ใจหรอื การใชภ้ าษาพดู การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อืน่ ท่ีใชใ้ นการตดิ ตอ่ สื่อสาร ซงึ่ อาจเกยี่ วกับรปู แบบ เนอ้ื หาและหนา้ ทข่ี องภาษา 7. บุคคลที่มคี วามบกพรอ่ งทางพฤติกรรม หรืออารมณ์ ไดแ้ ก่ บคุ คลท่มี พี ฤติกรรมเบ่ียงเบนไป จากปกตเิ ปน็ อยา่ งมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง ซึ่งเป็นผลจากความ บกพรอ่ งหรือความผดิ ปกตทิ างจิตใจหรอื สมองในสว่ นของการรบั รู้ อารมณห์ รอื ความคิด เช่น โรคจติ เภท โรคซึมเศรา้ โรคสมองเส่ือม เปน็ ต้น 8. บุคคลออทิสตกิ ได้แก่ บคุ คลทม่ี ีความผดิ ปกตขิ องระบบการทางานของสมองบางส่วน ซง่ึ ส่งผลต่อความบกพร่องทางพัฒนาการด้านภาษา ด้านสงั คมและการปฏิสมั พนั ธท์ างสังคม และมี ข้อจากัดดา้ นพฤติกรรม หรอื มีความสนใจจากัดเฉพาะเรอื่ งใดเรอ่ื งหนง่ึ โดยความผิดปกตินน้ั ค้นพบได้ กอ่ นอายุ 30 เดือน 9. บุคคลพิการซ้อน ไดแ้ ก่ บคุ คลทีม่ สี ภาพความบกพรอ่ งหรอื ความพกิ ารมากกวา่ หนงึ่ ประเภท ในบุคคลเดยี วกนั

67 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ (กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความ ม่ันคงของมนุษย์,2555) กลา่ วถึงเรอ่ื งประเภทและหลกั เกณฑค์ วามพิการ (ฉบบั ท2ี่ ) ออกตามความใน พระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ. 2550ประกอบพระราชบญั ญัติสง่ เสริม และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ (ฉบับที2่ ) พ.ศ. 2556 กาหนดลกั ษณะ คนพิการไว้ 7 ประเภท ดังนี้ 1.ความพิการทางการเหน็ 1.1 ตาบอด หมายถึง การทีบ่ คุ คลมขี อ้ จากัดในการปฏบิ ัติกจิ กรรมในชวี ติ ประจาวันหรอื การ เข้าไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพรอ่ งในการเห็น เมื่อตรวจวดั การเห็นของสายตาข้างที่ดีกวา่ เมอื่ ใชแ้ ว่นสายตาธรรมดาแลว้ อยู่ในระดับแย่กวา่ 3 สว่ น 60 เมตร (3/60) หรอื 20 สว่ น 400 ฟุต (20/400) ลงมาจนกระท่งั มองไม่เห็นแมแ้ ต่แสงสว่าง หรอื มลี านสายตา แคบกวา่ 10 องศา 1.2 ตาเห็นเลอื นราง หมายถึง การท่บี คุ คลมีข้อจากัดในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในชีวติ ประจาวัน หรอื การเขา้ ไปมีส่วนรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมคี วามบกพร่องในการเห็นเม่ือ ตรวจวัดการเหน็ ของสายตาขา้ งทีด่ กี ว่า เมอื่ ใช้แว่นสายตาธรรมดาแลว้ อยใู่ นระดบั ต้ังแต่ 3 สว่ น 60 เมตร (3/60) หรือ 20สว่ น 400 ฟุต (20/400) ไปจนถงึ แย่กว่า 6 ส่วน18 เมตร (6/18) หรอื 20 ส่วน 70 ฟตุ (20/70) หรอื มีลานสายตาแคบกวา่ 30องศา 2.ความพิการทางการไดย้ ินหรือส่อื ความหมาย 2.1 หูหนวก หมายถงึ การที่บคุ คลมขี อ้ จากดั ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมในชวี ติ ประจาวันหรอื การ เข้าไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสงั คม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพรอ่ งในการได้ยนิ จนไม่สามารถ รบั ขอ้ มลู ผา่ นทางการไดย้ นิ เม่ือตรวจการไดย้ ิน โดยใช้คลื่นความถ่ีท่ี 500 เฮริ ตซ์ 1,000 เฮิรตซ์ และ 2,000 เฮริ ตซ์ ในหขู า้ งท่ีได้ยนิ ดีกว่าจะสูญเสยี การไดย้ นิ ท่คี วามดงั ของเสียง 90 เดซเิ บลขึ้นไป 2.2 หูตึง หมายถงึ การทบ่ี คุ คลมีข้อจากดั ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมในชวี ติ ประจาวนั หรอื การเข้า ไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซงึ่ เป็นผลมาจากการมคี วามบกพรอ่ งในการได้ยิน เมอื่ ตรวจวัดการ ได้ยิน โดยใชค้ ลนื่ ความถที่ ่ี 500 เฮริ ตซ์ 1,000 เฮริ ตซ์ และ 2,000เฮริ ตซ์ ในหูขา้ งทไี่ ดย้ ินดกี ว่าจะ สญู เสยี การได้ยนิ ท่คี วามดังของเสยี งน้อยกว่า 90 เดซเิ บลลงมาจนถงึ 40 เดซิเบล

68 2.3 ความพกิ ารทางการสอื่ ความหมาย หมายถงึ การทบี่ ุคคลมีข้อจากดั ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม ในชีวิตประจาวนั หรอื การเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสงั คม ซึ่งเปน็ ผลมาจากการมีความบกพร่อง ทางการสือ่ ความหมาย เชน่ พูดไม่ได้ พูดหรือฟังแล้วผู้อ่ืนไมเ่ ขา้ ใจ เป็นต้น 3.ความพิการทางการเคลือ่ นไหวหรือทางรา่ งกาย 3.1 ความพกิ ารทางการเคลื่อนไหว หมายถึง การทบ่ี ุคคลมขี ้อจากดั ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมใน ชีวติ ประจาวันหรอื การเข้าไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสงั คม ซ่งึ เปน็ ผลมาจากการมีความบกพรอ่ ง หรือการสูญเสยี ความสามารถของอวัยวะในการเคลอ่ื นไหว ไดแ้ ก่ มอื เทา้ แขน ขา อาจมาจากสาเหตุ อมั พาต แขน ขา ออ่ นแรง แขน ขาขาด หรือภาวะเจบ็ ป่วยเรือ้ รงั จนมผี ลกระทบต่อการทางานมือ เท้า แขน ขา 3.2 ความพิการทางรา่ งกาย หมายถึง การท่ีบุคคลมขี อ้ จากัดในการปฏิบัตกิ ิจกรรม ใน ชวี ติ ประจาวนั หรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมทางสงั คม ซึ่งเปน็ ผลมาจากการมคี วามบกพร่อง หรอื ความผิดปกติของศรี ษะ ใบหน้า ลาตัว และภาพลกั ษณ์ภายนอกของร่างกายทเี่ หน็ ไดอ้ ย่างชัดเจน 4.ความพกิ ารทางจิตใจหรือพฤตกิ รรม 4.1 ความพิการทางจิตใจหรอื พฤติกรรม หมายถึง การท่บี คุ คลมขี ้อจากัดในการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมในชวี ติ ประจาวันหรือการเขา้ ไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสงั คม ซ่ึงเป็นผลมาจากความ บกพร่องหรือความผิดปกติทางจติ ใจหรือสมองในส่วนของการรบั รู้ อารมณ์ หรอื ความคดิ 4.2ความพิการออทสิ ติก หมายถงึ การทีบ่ คุ คลมขี อ้ จา กัดในการปฏิบตั ิกจิ กรรมใน ชีวติ ประจาวนั หรือการเข้าไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซง่ึ เป็นผลมาจากความบกพร่องทาง พัฒนาการดา้ นสงั คม ภาษาและการส่ือความหมาย พฤตกิ รรมและอารมณ์ โดยมีสาเหตุมาจากความ ผิดปกติของสมอง และความผิดปกตินนั้ แสดงกอ่ นอายุ ๒ ปคี รึ่ง ท้งั นี้ ให้รวมถึงการวนิ จิ ฉัยกลุ่มออทิ สตกิ สเปกตรัมอน่ื ๆ เชน่ แอสเปอเกอร์ (Asperger)

69 5.ความพิการทางสตปิ ญั ญา การที่บคุ คลมขี ้อจากัดในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมใน ชีวติ ประจาวันหรือการเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มใน กิจกรรมทางสังคม ซึง่ เป็นผลมาจากการมพี ฒั นาการช้ากวา่ ปกติ หรือมรี ะดับเชาว์ปญั ญาตา่ กวา่ บุคคล ท่ัวไป โดยความผดิ ปกตินนั้ แสดงก่อนอายุ 18 ปี 6.ความพิการทางการเรียนรู้ การทบี่ คุ คลมีขอ้ จากดั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชีวิตประจาวนั หรอื การเขา้ ไปมีสว่ นร่วมใน กจิ กรรมทางสังคมโดยเฉพาะดา้ นการเรยี นรู้ ซงึ่ เป็นผลมาจากความบกพรอ่ งทางสมอง ทาใหเ้ กิดความ บกพรอ่ งในดา้ นการอา่ นการเขียน การคิดคานวณ หรอื กระบวนการเรยี นรพู้ นื้ ฐานอ่ืนในระดบั ความสามารถท่ีต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานตามช่วงอายุและระดบั สตปิ ญั ญา 7.ออทิสตกิ ออทิสตกิ เปน็ ประเภทความพกิ ารลา่ สดุ ท่ีกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ กาหนดใหเ้ ปน็ ความพิการ ประเภทท่ี 7โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 หลกั เกณฑ์ กาหนดความพิการทางออทิสติก ได้แก่ การท่ีบุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัตกิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวนั หรอื การเขา้ ไปมีส่วนร่วมในกจิ กรรมทางสงั คม ซึ่งเป็นผลมาจากความบกพร่องทางพัฒนาการด้าน สังคม ภาษา และการสื่อความหมาย พฤติกรรมและอารมณ์ โดยมสี าเหตุมาจากความผดิ ปกตขิ อง สมองและความผิดปกตินัน้ แสดงกอ่ นอายุสองปคี ร่งึ ท้งั น้ี ให้รวมถึงการวนิ ิจฉยั กลมุ่ ออทสิ ติกสเปกตรัม อ่ืน ๆ เช่น แอสเปอเกอร์ (Asperger)” เด็กพิเศษหรือเด็กทีม่ คี วามต้องการพเิ ศษ หมายถงึ เดก็ กลมุ่ ท่จี าเปน็ ต้องได้รับการดแู ล ชว่ ยเหลือเปน็ พเิ ศษ เพิม่ เติมจากวธิ ีการตามปกติ ท้ังในดา้ น การใช้ชวี ติ ประจาวัน การเรยี นรู้ และการ เข้าสงั คม เพ่อื ใหเ้ ดก็ ได้รบั การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพของเขาเอง โดยออกแบบการดูแล ช่วยเหลือ เดก็ ตามลักษณะความจาเปน็ และความต้องการของเด็กแต่ละคน (สถาบันราชานกุ ลู กรมสขุ ภาพจติ 2019 อา้ งถงึ ทวศี กั ด์ิ สิรริ ัตนเ์ รขา) แบ่งเดก็ ทีม่ ีความต้องการพิเศษ ออกเป็น 3 กลุ่ม ดงั นี้

70 1. เด็กท่มี คี วามสามารถพเิ ศษ เดก็ กลมุ่ นม้ี กั ไมไ่ ด้รับการชว่ ยเหลอื อยา่ งจริงจัง เพราะคิดว่า เดก็ มีความฉลาด เก่ง วธิ ีการเรยี นรใู้ นแบบปกติบางครั้งไมต่ อบสนองต่อความต้องการในเรียนรู้ของ เด็ก และความสามารถพิเศษทมี่ ไี ม่ได้แสดงออกอย่างเตม็ ศักยภาพ เดก็ ทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษแบง่ ออกเปน็ 3 กลุ่มคือ 1.เดก็ ทมี่ ีระดบั สติปัญญาสูง (IQ) ตง้ั แต่ 130 ขึ้นไป 2.เด็กที่มคี วามสามารถ พิเศษเฉพาะด้าน อาจไม่ใชผ่ ู้เรียนทมี่ ีระดับสตปิ ัญญาสูง แตม่ คี วามสามารถพิเศษเฉพาะด้านทีโ่ ดดเด่น เช่น ดา้ น คณิตศาสตร์ - ตรรกศาสตร์ การใชภ้ าษา ศิลปะ ดนตรี กีฬา การแสดง ฯลฯ 3.เด็กที่มี ความคดิ สร้างสรรค์ 2. เด็กท่ีมีความบกพรอ่ ง กระทรวงศกึ ษาธิการ แบ่งออกเปน็ 9 กลุ่ม ดังน้ี เดก็ ท่มี คี วาม บกพร่องทางการมองเห็น เดก็ ท่ีมคี วามบกพร่องทางการได้ยิน เด็กท่มี คี วามบกพร่องทางการสือ่ สาร เด็กทม่ี ีความบกพรอ่ งทางร่างกาย และการเคลอ่ื นไหว เดก็ ทม่ี ีความบกพร่องทางอารมณ์ และ พฤติกรรม เดก็ ทม่ี ีความบกพรอ่ งทางสติปญั ญา เด็กท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ เด็กออทิสติก และเดก็ ที่มีความพิการซอ้ น 3. เด็กยากจนและดอ้ ยโอกาส คอื เด็กท่ีอยใู่ นครอบครัวท่ีมีฐานะยากจน ขาดแคลนปัจจัยท่ี จาเป็นในการเจริญเติบโต และการเรยี นรูข้ องเด็ก และรวมถงึ กล่มุ เด็กทีด่ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาจาก สาเหตุอน่ื ๆ เชน่ เดก็ เรร่ ่อน เดก็ ถกู ใชแ้ รงงาน เด็กตา่ งดา้ ว ฯลฯ เด็กแต่ละกลุ่ม มคี วามจาเปน็ ต้องได้รบั การดูแลชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษเหมอื นกัน แต่ดว้ ยวธิ กี ารที่ แตกต่างกนั ตามความเหมาะสมของเดก็ แต่ละกล่มุ แต่ละคน ผ้เู รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ ควร ไดร้ ับการดแู ลเพ่มิ เติมดว้ ยวธิ ีการพิเศษ ซึง่ ตา่ งไปจากวิธกี ารตามปกติ เพอื่ ชว่ ยให้สามารถพัฒนาไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพทมี่ ีอยู่ เพ่ือให้มสี ุขภาพกาย สุขภาพจิตทด่ี ี มโี อกาสทางการศกึ ษาท่เี ทา่ เทยี ม และได้รับ การยอมรับในสังคม

71 3.3 ข้อจากัดและความต้องการทางการศึกษาของผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะ ความบกพรอ่ ง แบ่งประเภทของผู้เรยี นท่ีมีความต้องการพิเศษ ตามลักษณะความบกพร่องและข้อจากดั แบ่ง ไดเ้ ป็น 6กลุ่ม ดงั น้ี 1.กลุ่มทีม่ ีข้อจากดั ทางปญั ญา (Intellectual limitation) 2.กล่มุ ทีม่ ขี อ้ จากัดทางด้านร่างกาย (Physical limitation) 3.กลมุ่ ทมี่ ีข้อจากดั ทางด้านการสอ่ื สารและภาษา ( Communication limitation) 4.กลมุ่ ทม่ี ขี อ้ จากดั ทางการเรยี นรู้ (Learning limitation) 5กลมุ่ ท่มี ขี ้อจากดั ทางการปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม( Social interaction limitation) 6กลุ่มท่ีมขี ้อจากดั ทางวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ลักษณะความต้องการช่วยเหลือของผ้เู รียน แตล่ ะกล่มุ ดงั นี้ 1 กลุม่ ท่มี ขี อ้ จากดั ทางปญั ญา (Intellectual limitation) ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในกลุ่มน้ี คือ ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual Disability) ผเู้ รียนกลมุ่ นี้จะมีข้อจากัดอย่างชัดเจนในการปฏิบัติตน(Functioning) ซ่ึง มีลักษณะเฉพาะคือความสามารถทางสติปัญญาต่ากว่าเกณฑ์เฉล่ีย อย่างมีนัยสาคัญ ร่วมกับข้อจากัด ของทักษะการปรับตัว อย่างน้อย 2 ทักษะขึ้นไป เช่น การสื่อความหมาย (Communication) การ ดแู ลตนเอง(Self-care) การดารงชีวิตภายในบ้าน(Home-living) ทักษะสังคม (Social Skills) การมี ปฏสิ มั พนั ธก์ ับผู้อืน่ การรู้จกั ดแู ลควบคมุ ตนเอง(Self-Direction) การนาความรมู้ าใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน การใช้เวลาว่าง(Leisure) การรักษาสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย(Health and Safety) ทักษะ ทางวิชาการ (Functional Academics) การทางาน การรู้จักใช้ทรัพยากรในชุมชน(Community Use) มีข้อจากัดด้านความสามารถในการเรียนรู้ ขาดทักษะในการเรียน เรียนรู้ช้ากว่าเด็กปกติ มี พัฒนาการทางกายล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย มีความสามารถจากัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม การทากิจกรรมการเรียน การทางานและการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวัน มีระดับ สติปญั ญา(IQ) ต่ากว่า70 และแสดงอาการก่อนอายุ 18 ปี ผู้เรียนที่มีข้อจากดั ทางปญั ญาจะอยูใ่ นกลมุ่ อาการดงั นี้

72 - กลมุ่ อาการดาวน์ซินโดรม - กลมุ่ อาการเวโลคาร์ดโิ อเฟเชียล - กลุ่มอาการของทารกที่ถือกาเนิดจากมารดาทดี่ ่มื แอลกอฮอล์ - โรคท้าวแสนปม - ภาวะพร่องไทรอยดฮ์ อรโ์ มนแตก่ าเนิด - กลมุ่ อาการวลิ เล่ียม - กลุ่มอาการฟนี ิลคีโตนูเรีย(Phenylketonuria) - กลุ่มอาการพราเดอร์-วิลลี(่ Prader-Willi Syndrome:PWS) ความตอ้ งการพิเศษสาหรับผู้เรียนทีม่ ีข้อจากดั ทางปญั ญา ด้านการเรียนการสอน วิเคราะห์งาน (Task analysis) แยกย่อยเนื้อหา สอนที่ละข้ันตอน ปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น การสอน แบบ 3R’ S คือ Repetition การสอนซ้า ทบทวนของเดิมก่อนเร่ิมสอนเรื่องใหม่ Relaxation การสอนแบบเรียนปน เล่น ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนานพร้อมกับการเรียนรู้ Routine คือ การสอนให้เป็นกิจวัตรประจาวัน สอน โดยการทาจริง ใช้ของจริง สอนส่ิงท่ีมีความหมายนาไปใช้จริง ให้รับประสบการณ์ใหม่ๆ ให้แรงเสริม และปรบั พฤติกรรมทไ่ี ม่เหมาะสม 2.กลมุ่ ท่มี ขี อ้ จากัดทางด้านร่างกาย (Physical limitation) ผู้เรียนในกลุ่มนี้ ได้แก่ ผู้ที่ร่างกายบกพร่อง เช่น ผู้เรียนท่ีร่างกายพิการ ผู้เรียนที่มีความ บกพรอ่ งทางการไดย้ ิน ผูเ้ รียนทม่ี ีความบกพรอ่ งทางการมองเห็น ผู้เรียนกล่มุ น้ีมขี อ้ จากัดด้านรา่ งกาย ซึ่งมีระดับเชาวน์ปัญญาปกติ ความจากัดของผู้เรียนกลุ่มนี้ จะแยกตามความต้องการพิเศษในแต่ละ ประเภท 1) ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคล่ือนไหว (Physical and Health limitation) หมายถึง ผู้ท่ีมีอวัยวะไม่สมส่วน อวัยวะส่วนใด ส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนหายไป กระดูก กล้ามเนื้อพิการ เจ็บป่วยเร้ือรังรุนแรงหรือเฉียบพลัน มีความพิการทางระบบประสาทสมอง มีความ ลาบากในการเคล่อื นไหวจนเป็นอปุ สรรคตอ่ การเรยี น และการทากจิ กรรม

73 ความต้องการพเิ ศษสาหรบั ผเู้ รียนท่ีข้อจากดั ทางด้านรา่ งกาย การออกแบบอาคารสถานท่ีที่อานวยความสะดวกในการเคลื่อนไหว มีความปลอดภัย ฝึก ทักษะทางสังคม ทักษะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การแสวงหาความรู้ และฝึกเร่ืองระเบียบวินัย จัดกลุ่ม เพื่อนพี่เล้ียง เพื่อช่วยในการเรียน ทากิจกรรมและอยู่ร่วมกันในโรงเรียน ใช้อุปกรณ์ท่ีช่วยอานวย ความสะดวกในการเคล่ือนไหวและทากิจกรรมต่างๆ แนะนาช่วยเหลือให้ผู้เรียนทางานอดิเรกท่ี เหมาะสมกับข้อจากัดของร่างกาย ฝึกการอยู่กับตนเอง ได้ค้นพบความถนัดของตนเองและเกิดความ มน่ั ใจในตนเอง ขอขอบคุณ ภาพจาก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี งานกายภาพบาบัด กลุ่มงานเวชศาสตร์ ฟน้ื ฟู

74 2)ผเู้ รยี นท่มี คี วามบกพร่องทางการไดย้ ิน (Children with Hearing Impaired) ความจากัด เบ้ืองต้นมีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยิน เป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่าง ๆ ได้ไม่ชัดเจน มี 2 ประเภท คือ สญู เสยี การไดย้ ินทงั้ หมดและสญู เสียการได้ยินบางส่วน ผู้เรียนที่สูญเสยี การได้ยินท้ังหมด จะไม่สามารถได้ยินเสียง ทาให้หมดโอกาสท่ีจะเขา้ ใจภาษา พดู จากการไดย้ นิ ทาให้ผู้เรยี นมคี วามยากลาบากจนไมส่ ามารถเข้าใจคาพดู และการสนทนาได้ สูญเสียการได้ยินบางส่วน สามารถได้ยินเสียงเพยี งเล็กน้อย ได้ยินไม่ชัดเจน ต้องใช้เครื่องช่วย ฟังแบ่งตามระดบั การได้ยิน ซง่ึ อาศัยเกณฑก์ ารพิจารณาอตั ราความบกพร่องของหู โดยใช้ค่าเฉล่ียการ ไดย้ นิ ทค่ี วามถี่ 500, 1000 และ 2000 รอบตอ่ วนิ าที (เฮิรท์ : Hz) ในหขู ้างท่ดี กี วา่ ความตอ้ งการพิเศษสาหรบั ผ้เู รียนทีม่ ีขอ้ จากัดทางการได้ยิน การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการได้ยินและการพูด การช่วยกระตุ้นให้อยากพูดมากข้ึน ถ้า สามารถพูดได้บ้างแต่ไม่ชดั และไม่สมวยั ควรเรียนในโรงเรยี นที่มีครกู ารศึกษาพเิ ศษ คอยช่วยหรอื เรียน ในชน้ั เรียนพเิ ศษ หรอื ใชร้ ะบบ FM ในการเรยี น จดั กลุ่มเพื่อนเพ่อื ชว่ ยเหลือในการเรยี น ถา้ มีขอ้ จากดั มาก เช่น หูหนวก ไม่สามารถพูดได้ ฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการได้ยินไม่ได้ผล ควรเข้าศึกษาในโรงเรียน โสตศึกษาเพ่ือเรยี นภาษามือ 3)ผู้เรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการมองเห็น ผู้เรยี นกลมุ่ นไี้ ม่สามารถใช้สายตา ได้มี ประสิทธิภาพในการเห็นเท่าปกติ ซึ่งเป็นผทู้ ีส่ ูญเสยี การเหน็ ตง้ั แตร่ ะดบั เล็กน้อยจนถึงตาบอดสนทิ ผเู้ รียนทร่ี ะดบั การมองเห็นเลอื นราง มีความจากดั ในการเหน็ อย่ใู นระดับ 6 สว่ น 60 (6/60) หรอื 20 สว่ น 200 (20/200) จนถึงไมส่ ามารถรับร้จู ะมองเหน็ แสงหรือวตั ถุขนาดใหญ่ แตม่ องไมเ่ ห็น ตัวหนังสือขนาดปกติ มองไมเ่ หน็ ในทม่ี ดื การเคลอื่ นไหวไม่สะดวก ผูเ้ รยี นทีต่ าบอดสนทิ คือผทู้ ีส่ ูญเสียการมองเหน็ ไมส่ ามารถมองเหน็ ส่งิ ตา่ งๆได้ มีความจากดั ใน การเคลอื่ นไหว

75 ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรบั ผูเ้ รยี นทม่ี ขี ้อจากัดทางการเห็น จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศกึ ษาท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับความ ตอ้ งการจาเป็นพิเศษของผ้เู รียน ใชอ้ ุปกรณ์และส่ือเพ่อื ให้การสอื่ สารด้วยเสยี งที่ชดั เจน เช่น หนงั สอื เสียง ใช้หนังสืออกั ษรเบรลล์(Braille) เคร่ืองอิเล็คทรอนิกสข์ ยายขอ้ ความแบบมอื ถอื และบรกิ าร เสรมิ เชน่ การนาทาง การจดคาบรรยาย การแนะแนวการศึกษา กล่มุ ท่มี ีขอ้ จากดั ในการเห็นแตย่ งั สามารถอา่ นอกั ษรได้ ช่วยโดยใช้ตัวอกั ษรขนาดใหญ่ ใช้สื่อสัมผสั และสื่อเสียงช่วยสนบั สนุน 3.กลุม่ ท่ีมขี อ้ จากดั ทางด้านการสื่อสารและภาษา ( Communication limitation) ผู้เรียนท่ีมีความบกพร่องทางการสื่อสารและภาษา (Children with Speech and Language disorders) หมายถงึ ความผดิ ปกติดา้ นการออกเสยี ง ออกเสียงผิดเพ้ยี นไปจากมาตรฐาน ของภาษา ลีลาจงั หวะการพูดผดิ ปกติ เช่น การพูดรัว การพดู ติดอา่ ง การพูดเสียงสูงเกินไป ต่าเกินไป หรือพูดระดับเสียงเดียวกันหมดความผดิ ปกตทิ างการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธสิ ภาพที่สมอง โดยท่ัวไปเรียกว่า Dysphasia หรือ aphasia พูดไม่ชัด และ อวัยวะที่ใช้ในการพูดไม่สามารถเป็นไป ตามลาดบั ขน้ั การพูดนั้นผดิ แปลกไปจากการพูดของคนทั่วไป ทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง สอ่ื ความหมายต่อกัน ไม่ได้ หรือมีอากัปกิรยิ าท่ผี ิดปกตขิ ณะพดู ซึ่งความบกพร่องทางการพูด บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษาได้แก่ บุคคลท่ีมีความบกพร่องในการเปล่ง เสยี งพูด เช่น เสยี งผิดปกติ อตั ราความเร็วและจงั หวะการพูดผิดปกติ หรือบุคคลท่ีมีความบกพร่อง ใน เรื่องความเข้าใจหรือการใช้ภาษาพูด การเขียนหรือระบบสัญลักษณ์อื่นท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร ซึ่ง อาจ เกีย่ วกับรูปแบบ เน้ือหาและหน้าทข่ี องภาษา (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2552) ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรับผเู้ รยี นที่มคี วามบกพร่องทางการสอื่ สารและภาษา การปรับหลักสูตรการเรียนให้เหมาะกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล ปรับกิจกรรมเพื่อช่วยอานวย ความสะดวกในการสื่อสารหรือการใช้เทคโนโลยีช่วยในการสื่อสาร ฝึกให้สื่อสารเพ่ือบอกความ ต้องการ สอนคาศัพท์ในชีวิตประจาวันและการสนทนา บริหารกล้ามเนื้อและพัฒนาอวัยวะท่ีใช้ใน การพูด เช่น เป่าล้ิน นวดลิ้น นวดปาก กระพุ้งแก้ม ได้รับคาแนะนาจากนักแก้ไขการพูดเร่ืองการ หายใจเพื่อใช้เปล่งเสียงและควบคุมจังหวะในการพูด แก้ไขเสียงพูด พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ให้

76 ชัดเจนรวมถึงความสัมพันธ์ในการพูด สอนการส่ือสารทางเลือกอื่น เช่น การใช้ภาพส่ือสาร ฝึกการ คิด การจา (สานักงานส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพิการแหง่ ชาติ, 2553) 4.กลมุ่ ทีม่ ขี อ้ จากดั ทางการเรยี นรู้ (Learning limitation) ผู้เรียนที่มีข้อจากัดทางการเรียนรู้ หรือเรียกว่า ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้เฉพาะด้านหรือ แอลดี(L.D. /Learning Disorder)หรือปัจจุบนั ตามเกณฑก์ ารวนิ ิจฉยั ใหม่ เรียกว่า Specific Learning Disorder หรือ Dyslexia หมายถึง ผู้ท่ีมีข้อจากัดทางการเรียนรู้ ทางการใช้ภาษา หรือการพูด การ เขียน อ่านหนังสือไม่ได้หรือสะกดคาลาบาก จาพยัญชนะไม่ได้ สับสน ผสมคาผิด สะกดคาไม่คล่อง อ่านตะกุกตะกัก อ่านช้า อ่านผิดและจับประเด็นในการอ่าน ไม่ได้ ความสามารถในการอ่านหนังสือ โดยรวมต่ากว่าเด็กในวัยเดียวกันชัดเจน พูดช้า ฟังและแยกเสียงได้ลาบาก สับสน หรืออ่านได้ แต่ไม่ เข้าใจ ตีความไม่ได้ เขียนหนังสือไม่ได้ เขียนผิด สะกดคาไม่ได้หรือสะกดผิด เขียนคาเป็นรูปประโยค ไม่ได้ ใช้หลักไวยากรณ์ผิด แบ่งแยกวรรคตอนผิดพลาด หรือเขียนหนังสือแล้วอ่านไม่รู้เร่ือง คิดเลข ไม่ได้ สับสนเก่ียวกับตัวเลข ไม่เข้าใจหลักการคานวณพื้นฐาน บวก ลบ คูณหรือหารสับสน อดทนต่า แทนค่าด้วยการเขียนสัญลักษณ์เลขไม่ ได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเรียน การทางานและการใช้ ชีวิตประจาวัน ไปตลอดชีวิต เป็นผู้ที่มีระดับสติปัญญาปกติ แต่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ากว่าปกติ และไมม่ คี วามบกพรอ่ งในดา้ นตา่ ง ๆ ทง้ั ด้านร่างกาย สุขภาพอนามัย ระบบประสาทการสัมผัส ความตอ้ งการพิเศษสาหรับผู้เรยี นที่มขี ้อจากดั ทางการเรยี นรู้ การสอนซ่อมเสริม การเพ่ิมเวลาในการสอน ใช้เทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย สอนทีละ ขั้นตอน สอนซ้าๆจนผู้เรียนมีความก้าวหน้าทีละข้ัน สอนสนุกและมีความสุขในการเรียน เน้น proactive learning, group participation ใช้ประสบการณ์ตรงเสริมการเรียนรู้ในปจั จุบัน ให้เรียนรู้ ตามความสามารถของผู้เรียน กระตุ้นให้คิด ใช้แรงเสริมอย่างมีประสิทธิภาพ จัดห้องเรียนให้เอ้ือต่อ การเรียน ใช้คาส่ังท่ีสั้นและเข้าใจง่าย และใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดการศึกษา ทบทวนบทเรียน บ่อยๆ อ่านหนังสือเพ่ิมเติม (remediation therapy) การเรียนแบบตัวต่อตัว หรือเป็นกลุ่มย่อยใน ห้องเรียนพิเศษ (Resource Room) เขียนแผนการเรียนรายบุคคล (Individualized Educational Plan-IEP)สอนให้ตรงกับช่องทาง(channel) ท่ีเด็กรับรู้ได้ เด็กมีปัญหาในการ รับฟัง ก็ใช้ภาพในการ สอนเพ่ิมข้นึ หากเดก็ มปี ญั หาในการเหน็ ภาพ(เช่นอ่านไม่ได้)ก็สอนโดยอา่ นหนงั สือให้ ฟงั หรอื ใหศ้ ึกษา จากสื่อ VDO ท่ีมีทั้งภาพและเสียง เป็นต้น สอนชัดเจนและวัดผลได้ตรง ให้กาลังใจและชมเชยเป็น

77 ระยะ และ ใช้วิธีการสอนหลาย รูปแบบ ส่งเสริมให้โรงเรียนมีทีมการประเมนิ ผลการช่วยเหลือเด็กที่มี ความต้องการพิเศษ เช่น นักจิตวิทยาโรงเรียน ครูประจาช้ัน ครูการศึกษาพิเศษ ให้ความรู้และ ช่วยเหลือโดยทางานร่วมกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และติดตามประเมินผลจากการให้ความช่วยเหลือ ใช้ อปุ กรณช์ ่วยเรยี น ในกลมุ่ ท่ีมีปญั หาการเขยี น ใชเ้ ครอ่ื งพิมพ์ดีด คอมพิวเตอร์ มาชว่ ย ในกลมุ่ ท่ีมีปญั หา การอ่านใช้คอมพิวเตอร์ เทป VDO, MP 3 หรือ กลุ่มท่ีมีปัญหาคานวณ ให้ใช้คอมพิวเตอร์ เครื่องคิด เลข เป็นตน้ 5.กลมุ่ ท่ีมขี อ้ จากัดทางการปฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คม( Social interaction limitation) วินัดดา ปยิ ะศิลป์ และวันดี นิงสานนท2558 อ้างถึง เกณฑก์ ารวินิจฉัยโรคทางจิตเวชฉบับที่ 5 (DSM-V) สมาคมจิตแพทย์อเมริกัน (the American Psychiatrist Association) กล่าวว่า ผู้เรียนท่ีมี ภาวะออทิสติกสเปกตรัม (Autistic Spectrum Disorder) มีความบกพร่องอย่างถาวรในเรื่องการ สอ่ื สารทางสงั คมและการมปี ฏิสัมพันธท์ างสังคม (Social communication and social interaction) ผ้เู รียนกลมุ่ น้ีมีความผิดปกติของสมองท่ีส่งผลต่อพัฒนาการทาให้เกิดพัฒนาการล่าช้าในดา้ นของสังคม และการสื่อภาษา มีความซ้าซากของพฤติกรรมและมีความสนใจในเร่ืองท่ีจากัด และหมกมุ่นกับเร่ือง นั้นมาก มีข้อจากัดในการตอบสนองทางอารมณ์สังคม การเข้าสังคมและการสนทนาโต้ตอบ, มีความ สนใจร่วมกับผู้อ่ืนน้อย ไม่สามารถเร่ิมหรือตอบสนอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมได้ อย่างเหมาะสม มี ข้อจากัดในการส่ือสารด้วยสีหน้าและท่าทาง (nonverbal communicative)ไม่มองสบตา มีแบบ แผนหรือลักษณะซ้าซากของการเคล่ือนไหวร่างกาย, การใช้วัตถุ หรือภาษา (เช่น การเคลื่อนไหว ร่างกายซ้าๆ การเรียกของเล่นหรือการสะบัดวัตถุ, การพูดตามโดยไม่เข้าใจความหมาย (echolalia), การพูดวลซี ้า) มักทาส่งิ หนึ่งสิ่งใดซ้าๆไม่ยอมเปลี่ยนแปลง, ไม่ยืดหยุ่น เช่น รู้สกึ หงดุ หงิดมากเม่ือมกี าร เปลี่ยนแปลง รูปแบบความคิดท่ีไม่ยดื หยุ่น, ตอ้ งเดนิ ทางในเส้นทางเดิมทุกวัน, กนิ อาหารซ้าๆแบบเดมิ ทุกวัน มีความสนใจที่จากัดและยึดติดอย่างมาก มีการตอบสนองที่มากหรือน้อยเกินไปต่อการ ประมวลรบั ความรู้สึก, หรือมคี วามผดิ ปกติ ของการประมวลรบั ความร้สู ึกจากส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ มีความ ทนทานตอ่ ความรสู้ กึ เจบ็ ปวดหรอื อุณหภูมิ

78 ในวัยเดก็ เลก็ พบปัญหาพูดช้า ไม่สบตา ไม่หันหาเสียงเรียกชื่อ บางคนสามารถพูดได้แต่จะ พดู เป็นภาษาตวั เองไม่สามารถสือ่ สารบอกความตอ้ งการได้ อาการทีแ่ สดงออกทางสังคมและการส่ือภาษา มี หลายรูปแบบ ผู้เรียนกลุ่มนี้จะมีอาการที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้และปรากฏอาการตลอดชั่ว ชีวิต ความตอ้ งการพเิ ศษสาหรับผเู้ รยี นทีม่ ีข้อจากัดทางการปฏสิ ัมพันธ์ทางสงั คม การกระตุ้น พัฒนาการที่บกพร่องให้ใกล้เคียงปกติให้มากท่ีสุด ใช้หลายวิธีร่วมกัน ใช้เทคนิค การปรับพฤตกิ รรม การให้แรงเสรมิ ทางบวก เพมิ่ พฤติกรรมท่ีดีและเสรมิ การคงอยู่ ปรบั ลดพฤติกรรม ท่ีไม่พึงประสงค์ การช่วยเหลือท่ีดีที่สุด ควรปรับเปล่ียนให้เหมาะสมกับข้อจากัดของผู้เรียนเป็น สาคัญ 6. กล่มุ ทมี่ ขี ้อจากดั ทางวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในกลุ่มนี้ มีข้อจากัดในการควบคุมอารมณ์และการแสดง พฤติกรรมที่เหมาะสม ซงึ่ เกิดจากความบกพร่องหรือผิดปกติทางจิตใจหรือสมอง ในสว่ นของการรับรู้ อารมณ์ หรือความคิด จนสง่ ผลตอ่ การควบคุมพฤตกิ รรม อารมณ์ และการมสี มาธิ ความตอ้ งการพิเศษสาหรบั ผเู้ รยี นท่มี ีขอ้ จากัดทางวุฒภิ าวะทางอารมณ์ จัดสิ่งแวดล้อม จัดบรรยากาศช้ันเรียนที่เงียบสงบและไม่รบกวนสมาธิ ลดสิ่งเร้าท่ีกระตุ้น มี ระเบียบกาหนดทช่ี ัดเจน ใช้การปรบั พฤตกิ รรมเพือ่ ให้มพี ฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคเ์ พม่ิ ขนึ้ ลดพฤติกรรมท่ี ไม่เหมาะสม ใช้เทคนิควิธีการสอนท่ีหลากหลาด ช่วยลดปัญหา ลดอุปสรรคในการเรียนรู้ เพ่ิมเวลาใน การทางานหรอื ทาข้อสอบ ความสัมพันธ์ของความบกพร่อง(impairment) ความพิการ(Disability)และความเสียเปรียบ (Handicap) ผู้เรียนท่ีมีความต้องการการพิเศษ มีข้อจากัดในการทากิจกรรมต่างๆและต้องการการ ช่วยเหลือพิเศษแตกต่างจากผู้เรียนปกติ ข้อจากัดเหล่าน้ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความ

79 ต้องการพิเศษ ภาวะของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ อาจอธิบายได้จากคา 3คาน้ี ได้แก่ ความ บกพร่อง(impairment)ความพิการ(Disability)และความเสียเปรียบ (Handicap) องค์การอนามัยโลก The International Classification of Functioning Disability and Health (ICF) ไดก้ าหนดคานยิ ามท่เี ก่ียวขอ้ งกบั สขุ ภาพ ดงั น้ี 1.ความบกพร่อง (Impairment) หมายถึง การสูญเสียหรือความผิดปกติของโครงสร้างของ ร่างกาย หรือการใช้งานของร่างกาย (รวมถงึ การทางานด้านจติ ใจ) ท่สี ังเกตหรอื เหน็ ไดช้ ัด ดังน้ัน ความ บกพร่อง จะพิจารณาที่ “อวัยวะ” หรือ “ระบบการทางาน” ของส่วนต่างๆ ของมนุษย์ การสูญเสีย หรือการขาดหายของอวัยวะ เช่น ตาบอด หูหนวก เป็นใบ้ อัมพาต กล้ามเน้ืออ่อนแรง ออทิสติก เป็น ตน้ 2. ความพิการ (Disability) หมายถึง ความจากัดหรือสูญเสียความสามารถในการประกอบ กจิ กรรมตา่ งๆ ทีส่ ่งผลใหบ้ คุ คลไม่สามารถทากิจกรรมตา่ งๆ ไดเ้ หมือนบุคคลทัว่ ไป 3. ความเสียเปรียบ (Handicap) หมายถึง ความเสียเปรียบที่เกิดข้ึนกับบุคคลท่ีมีความ บกพร่องของอวัยวะ หรือมีภาวะทุพพลภาพ ท่ีทาให้เป็นอุปสรรคในการทากิจกรรม หรือดาเนินชีวิต เชน่ เดียวกบั บุคคลท่วั ไป ความบกพรอ่ ง (impairment) นาไปสู่ความพกิ าร (disability) และความเสียเปรียบ (handicap) ที่มา: Kleijn-de Vrankrijker MW. The long way from the International Classification of Impairments, Disabilities and Handicaps (ICIDH) to the International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF). Disabil Rehabil. 2003; 25: 561-4.

80 บุคคลหนึง่ อาจมคี วามบกพร่อง โดยไม่พิการและพิการโดยไม่เกดิ การเสียเปรียบกไ็ ด้ หากได้รบั การสนับสนุนจากครอบครวั หรือมีส่งิ อานวยความสะดวกทางกายภาพ ส่ิงเหล่าน้สี ามารถเยยี วยา ความบกพร่องที่มอี ยไู่ ดแ้ ละจะไม่ส่งผลทาใหบ้ ุคคลน้นั เกิดความเสียเปรียบในการดารงชีวิตเชน่ คนตา บอดทางาน ท่ใี ช้สายตาไม่ไดแ้ ต่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ท่มี ีเสยี งประกอบ สามารถเลน่ ดนตรีหรอื เป็น นักกีฬาได้ หรอื การสง่ เสรมิ ใหค้ นพิการได้รบั โอกาสเทา่ เทยี มกับผู้อน่ื ในสังคม สรุปความสัมพันธ์ของคา 3 คาน้ี ความเสียเปรียบ (Handicap), ความพิการ (Disability), และความบกพร่อง (Impairment) สามารถอธิบายได้ว่า ความบกพร่องของอวัยวะและความผิดปกติ ต่างๆในร่างกาย ทาให้ความบกพร่องนี้ เป็นสาเหตุให้ผู้ท่ีมีความต้องการพิเศษเกิดความพิการ และ ขาดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้เช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป และทาให้ผู้ท่ีมีความ ต้องการพเิ ศษเกิดความด้อยโอกาสหรือความเสียเปรยี บ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนมีข้อจากัดในการทากิจกรรม ต่างๆ ผู้เรียนเหล่านี้จึงมีความต้องการการช่วยเหลือพิเศษ ท้ังด้านการดูแล การฟื้นฟูสมรรถภาพ รวมท้งั การจดั การศกึ ษาในรปู แบบพิเศษ 3.5 ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อการเรียนรขู้ องผ้เู รียนที่มีความตอ้ งการพเิ ศษ ภาวะความบกพร่องของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลให้ผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษ มีข้อจากัด ขาดความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้เช่นเดียวกับเพ่ือน มีความยากลาบากใน การเรียนรู้ ส่งผลตอ่ พฤติกรรมการเรียน การรับรู้ตนเอง และการรบั รูผ้ ้อู ืน่ 3.5.1ภาวะความบกพรอ่ งของผูเ้ รียนทีม่ คี วามตอ้ งการพิเศษ ข้อจากัดของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ ข้อจากัดทางปัญญา (Intellectual limitation) ข้อจากัดทางด้านร่างกาย (Physical limitation) ข้อจากัดทางด้านการ สื่อสารและภาษา ( Communication limitation) ข้อจากัดทางการเรียนรู้ (Learning limitation) ข้อจากัดทางการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม( limitation of Social interaction) ข้อจากัดทางวุฒิภาวะ ทางอารมณ์ (limitation of Emotional maturity ) ซ่ึงความบกพร่องจาแนกตามกลุ่มข้อจากัด ดัง ตารางตอ่ ไปน้ี

81 ข้อจากัด ความบกพรอ่ ง ความพกิ าร ขอ้ จากัดทางปัญญา สมองพิการ สมองติดเช้ือ เรียนรู้ช้า พัฒนาการล่าช้า ขาด (Intellectual limitation) สมองขาดออกซิเจน สมอง ทักษะ มีความสามารถจากัดใน ได้รับการกระทบการะเทือน ดา้ นการปรบั ตัว เกิดโรคที่เกี่ยวกับสมองและ ระบบประสาท ข้อจากัด ความบกพร่อง ความพิการ ขอ้ จากดั ทางด้านร่างกาย ความบกพร่องของระบบ มองไมเ่ หน็ หรอื เห็นไมช่ ดั (Physical limitation) ประสาท ไมไ่ ดย้ ินหรอื ไดย้ ินไม่ชดั ความบกพรอ่ งทางสุขภาพ เคล่ือนไหวไม่ได้/เคล่ือนไหวไม่ ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ร ะ บ บ ปกติ กล้ามเน้ือและกระดกู เจ็บป่วยเร้ือรัง ทากิจกรรม บางอย่างไมไ่ ด้ ข้อจากัดทางด้านการส่ือสารและ ความบกพร่องของสมองและ มีความผิดปกติทางการออก ภาษา ระบบประสาท การสูญเสีย เสียง (Communication limitation) การได้ยิน ออทิซึม ความ ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ บกพร่องของสมองท่ีควบคุม เข้าใจและไม่เข้าใจท่ีผู้อ่ืน โปรแกรมการพดู ภาวะไม่พูด สื่อสาร บางสถานการณ์ (Selective Mutism) ข้อจากัดทางการเรียนรู้ บกพรอ่ งทางการอ่าน อ่านไม่ได้ ไม่เข้าใจส่ิงที่อ่าน (Learning limitation) บกพรอ่ งทางการเขียน เขียนไม่ได้ เขียนผิดบ่อย ไม่ บกพร่องทางการคิดคานวณ เข้าใจหลักการทางคณิตศาสตร์ คดิ คานวณไมไ่ ด้ ข้อจากัดทางการปฏิสัมพันธ์ทาง บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ก า ร แ ส ด ง ก า ร เ ข้ า ใ จ ผู้ อื่ น แ ล ะ ก า ร มี สังคม ความรู้สึกและการเข้าใจ ปฏิสัมพนั ธก์ บั บุคคลในสังคม ความรู้สกึ ผ้อู ื่น

82 ( limitationof Socia interaction) ข้ อ จ า กั ด ท า ง วุ ฒิ ภ า ว ะ ท า ง ความผิดปกติของสารเคมีใน ควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้ อ า ร ม ณ์ ( limitation of สมอง บกพร่องทางจิต ภาวะ ขาดเหตุผลในการคิด ประสาท Emotional maturity ) ซึมเศรา้ ความเครียดเรือ้ รัง หลอน มีอารมณ์หุนหันพลัน แล่น เกรี้ยวกราด ภาวะความบกพร่องของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ส่งผลให้ผู้เรียนมีข้อจากัดในด้านต่างๆ ตามลักษณะของความบกพร่อง จากส่ิงท่ีผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษได้รับ ส่งผลต่อการรับรู้ตนเอง การเรียนรู้และสมั ฤทธิผลทางการเรียน ภาวะเหลา่ น้ีส่งผลกระทบต่อ 1.Self-Esteem (การเหน็ คุณคา่ ในตวั เอง) ปัจจัยที่สง่ ผลต่อ Self-Esteem มาจากปญั หาสขุ ภาพรา่ งกายหรอื จิตใจ Self-Esteem คอื ความคดิ และความรสู้ กึ ท่ีมตี ่อตวั เอง ซ่งึ มผี ลกระทบต่อความกระตือรือรน้ ในการใช้ชีวติ ในทุก ๆ ด้าน สญั ญาณที่บง่ บอก เชน่ เบ่อื อาหาร นอนไมห่ ลับ ไม่มีสมาธิในการทากิจกรรม รวมถึงส่งผลถงึ ความ มน่ั คงทางอารมณ์ ทาใหไ้ ม่สามารถเผชญิ หนา้ กับความท้าทายหรอื ปัญหาในชีวติ ได้ 2. Self-Efficacy หรือ การรบั ร้คู วามสามารถของตนเอง Self-Efficacy หมายถงึ ความเช่อื ในความสามารถของตนเองในการกระทาหรอื ปฏิบัตงิ าน ให้ สาเร็จตามท่ไี ด้ต้ังเปา้ หมายไว้ ซ่ึง Self-Efficacy ไม่ได้ขึน้ อย่กู บั ทกั ษะทมี่ เี พียงอย่างเดียว แตย่ งั ขนึ้ อยู่ กบั การทเ่ี ราพจิ ารณาตัดสนิ วา่ ตนเองจะสามารถทาอะไรได้จากทกั ษะที่มี ซึ่งสง่ ผลตอ่ แรงจูงใจ ความ พยายาม และความอดทนตอ่ อุปสรรค 3. self-confidence ความม่ันใจในตนเอง หมายถึง ความรู้สึกเชือ่ มนั่ ในความสามารถของตนเอง ความม่ันใจในตนเองมีความสาคัญต่อ สุขภาพและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี การมคี วามม่ันใจในตนเองในระดบั ทด่ี ีสามารถชว่ ยให้ประสบความสาเรจ็ ใน ชวี ิต

83 4. Self concept รับรูค้ วามสามารถของตนเอง การรบั ร้คู วามความสามารถของตนเอง เชน่ สวย เก่ง ขี้อาย ชา่ งพูด เก็บตวั เงียบ เปน็ ตน้ ผู้เรยี นทมี่ คี วามต้องการพิเศษ หรือ Negative Self-Concept มีความจากดั ในการรับรู้ความเป็น ตวั เอง ไมส่ ามารถพัฒนาให้ตัวเองก้าวผ่านคาจากัดความน้นั ออกไปได้ เช่น เดก็ ทีเ่ คยสอบตกวชิ า คณิตศาสตร์ ก็อาจจะโตมากบั Self-concept ที่เชื่อว่าตัวเองเป็นคนไม่เก่งเลข ซึ่งสามารถทาให้เขาไม่ ชอบการคดิ เลข ตอ่ ไปในอนาคต 5.Learning motivation แรงจูงใจในการเรียน คอื ผูเ้ รยี นที่ไม่มแี รงขับเคล่ือนทอ่ี ยภู่ ายในตวั บคุ คล ต้องกระตนุ้ ใหบ้ คุ คลนัน้ เกิดการเรยี นรู้ พยายามเพอ่ื ให้บรรลผุ ลสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ 6.Learned Helplessness ความสนิ้ หวงั อนั เกดิ จากการเรยี นรู้ คอื ภาวะท่ีเรยี นรู้ท่จี ะประพฤตติ นอยา่ งสนิ้ หวัง แมจ้ ะมโี อกาสท่จี ะหลกี เลย่ี งเหตุการณท์ ี่ไม่พงึ ปรารถนาหรอื เปน็ อนั ตรายได้ มักมองโลกในแงร่ ้าย มองเหตุการณท์ ีไ่ ม่พึงประสงค์วา่ เป็นสิ่งถาวร ไม่มี การเปลีย่ นแปลง เป็นความผดิ ของตนเอง ผูเ้ รยี นที่มีความต้องการพเิ ศษ มปี ระสบการณ์ที่ล้มเหลว จากการเรยี น รับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าไมม่ ีความสามารถ มกั จะตกอยู่ในภาวะส้ินหวังอนั เกิดจากการ เรยี นรแู้ ละภาวะซึมเศรา้ ไดง้ ่าย ภาวะบกพรอ่ งท่ีส่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการเรยี น ไดแ้ ก่ • ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้ • ขาดสมาธใิ นการเรียน • พฤติกรรม รบกวนชั้นเรียน • พฒั นาการทีจ่ ากดั เช่น ทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน การคดิ ระดบั สูง ทกั ษะการเข้าใจส่ิงต่างๆ การแสดงออกของผ้เู รยี นท่ีมคี วามตอ้ งการพเิ ศษ อาจสง่ ผลต่อความสมั พนั ธ์ทางสงั คม • ครแู ละเพ่ือน ไมเ่ ขา้ ใจในสิง่ ท่ผี ูเ้ รียนท่ีมีความต้องการพิเศษเป็น • ครแู ละเพอื่ นไมย่ อมรบั ภาวะความบกพรอ่ งของผู้เรยี นทม่ี ีความต้องการพิเศษ อาจส่งผลกระทบและเป็นสาเหตหุ ลกั ทท่ี าใหม้ ี ประสบการณ์ทลี่ ม้ เหลวในการเรยี น ซงึ่ ทาใหเ่ กดิ ทัศนคตทิ ีไ่ ม่ดี ตอ่ ตนเองและการเรยี น ทาให้มี

84 แรงจูงใจในการเรยี นตา่ และมคี วามบกพร่องบางอย่างเชน่ ความบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและ อารมณ์ ความบกพรอ่ งทางการปฏสิ ัมพันธ์ทางสังคม ทาให้ผเู้ รยี นแสดงพฤติกรรมบางอย่างท่ี ส่งผลกระทบตอ่ การเรียนและการยอมรับของเพ่ือนและครู ดงั นนั้ จติ วิทยาการสอนผเู้ รียนท่มี ี ความตอ้ งการพิเศษจึงเป็นสง่ิ ทีส่ าคัญท่ีผทู้ สี่ อนจะนามาใช้ในการจดั การเรียนการสอน เพื่อให้ การจัดการเรยี นการสอนสอดคล้องตามความต้องการจาเป็นและศกั ยภาพของแตล่ ะ บุคคล เสริมสร้างทศั นคตทิ ่ีดแี ละแรงจูงใจในการเรียน เพ่อื นาไปส่กู ารพัฒนาการเรียนรู้ สาหรับผู้เรียนทมี่ ีความตอ้ งการพิเศษ

85