Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook บทที่4 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง

Ebook บทที่4 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง

Published by navarat282515, 2021-09-13 05:25:11

Description: Ebook บทที่4 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง

Keywords: ทฤษฎีการเรียนรู้ จิตวิทยาการสอนผู้เรียนที่ม,ีความ,ต้องการพิเศษ

Search

Read the Text Version

บทท4ี่ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทีเ่ กี่ยวข้อง ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีนิยมนามาใชใ้ นการเรียนการสอนผ้เู รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ทฤษฎี การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral theories) ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ในกล่มุ ปัญญาสงั คม (Social Cognitive Learning Theory) ทั้งสองกลุม่ มจี ุดเนน้ ทีแ่ ตกต่างกัน คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม จะอธิบายการเรียนรูท้ ี่เกิดจากการเปลยี่ นแปลงของพฤติกรรมและปัจจัยของ สิง่ แวดล้อมท่ที าใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ สาหรบั ทฤษฎกี ารเรยี นรใู้ นกลุม่ ปญั ญาสังคมจะอธิบายการเรียนรู้ท่ี เกดิ มาจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้เรียนกับสิง่ แวดล้อม ซงึ่ บทน้ีจะกล่าวถงึ สาระสาคัญ ของทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ ัง้ สองกลุ่มทนี่ ามาใช้เปน็ แนวคิดในการจดั การเรยี นการสอนสาหรบั ผเู้ รยี นที่มี ความตอ้ งการพเิ ศษ 4.1ทฤษฎกี ารเรยี นรใู้ นกลุ่มพฤตกิ รรมนิยม (Behavioral theories) ทฤษฎีการเรยี นรกู้ ล่มุ พฤตกิ รรมนยิ ม ประกอบดว้ ย ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ารวางเงือ่ นไขแบบ คลาสสิก (Classical Conditioning Theory) โดย อวี าน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ชาวรสั เซยี และ ทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory) โดยเบอร์ รสั เอฟ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ความคดิ พน้ื ฐานของทฤษฎกี ารเรยี นรู้พฤติกรรมนยิ ม 1.พฤตกิ รรมทกุ อย่างเกิดขึ้นโดยการเรยี นรแู้ ละสามารถจะสงั เกตได้ 2.พฤตกิ รรมแตล่ ะชนิดเปน็ ผลรวมของการเรยี นท่เี ปน็ อิสระหลายอยา่ ง 3.แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทาให้พฤติกรรมเกิดขน้ึ ได้

4.1.1 ทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ารวางเง่ือนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) Ivan Pavlov ชาวรัสเซีย เกิดแนวคดิ ทฤษฎกี ารเรยี นรผู้ า่ นการเช่ือมโยง คือสิง่ เร้าสองอยา่ ง เชอื่ มโยงกันเพ่อื สรา้ งการตอบสนองทเ่ี รยี นรู้ใหม่ในคนหรือสัตว์ ได้ทดลองกับสุนขั ทน่ี า้ ลายไหล ตอบสนองต่อเสียงกระด่งิ Pavlov แสดงใหเ้ หน็ ว่าเม่อื มเี สียงกระดงิ่ ทกุ ครัง้ ที่ให้อาหารสนุ ัข สนุ ัขจะเรียนรทู้ ีจ่ ะเชอื่ มโยงเสียงกบั อาหาร พฤตกิ รรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior) UCS UCR อาหาร นา้ ลายไหล CS เสยี งกระด่งิ CR นา้ ลายไหล แผนภาพที่ 4.1 การเรียนรู้การวางเง่อื นไขสง่ิ เรา้ จากแผนภาพ UCS คอื สิ่งเร้าท่ีสามารถไดร้ ับการตอบสนองได้โดยไม่มีเง่ือนไข CS คอื ส่ิงเรา้ ที่สามารถไดร้ บั การตอบสนองได้โดยมีเง่อื นไข UCR คอื การตอบสนองทไ่ี ม่มเี งอ่ื นไข CR คอื การตอบสนองทมี่ เี ง่ือนไข

จากแผนภาพ Pavlov ได้ทาการทดลองกับสนุ ัข โดยนาเสนอส่งิ เร้าที่สามารถได้รบั การ ตอบสนองได้โดยไม่มีเงือ่ นไข ได้แก่ อาหาร (ผงเนือ้ ) ทาใหส้ ุนขั เกดิ การตอบสนองอย่างไม่มีเงอื่ นไง ไดแ้ ก่ นา้ ลายไหล จากน้ันจึงไดท้ ดลองเสนอสิ่งเรา้ ท่สี ามารถไดร้ ับการตอบสนองได้ โดยมีเง่ือนไข ควบคู่กบั ส่ิงเร้าท่สี ามารถไดร้ ับการตอบสนองไดโ้ ดยไม่มีเง่ือนไข ได้แก่ การให้อาหาร (ผงเนือ้ ) ควบคู่ กับการสั่นกระดง่ิ ซึง่ เปน็ สิ่งเร้าทตี่ อ้ งมีการวางเง่ือนไข พบวา่ สนุ ขั เกดิ อาการนา้ ลายไหล ซึง่ เป็นการตอบสนองอยา่ งไมม่ ีเงอ่ื นไข และเม่อื ถอดถอน นาอาหาร(ผง เนือ้ )ซ่ึงเปน็ สิ่งเรา้ ทที่ าใหเ้ กดิ การตอบสนองอยา่ งไมม่ ีเงอื่ นไขออก เหลือแตเ่ สยี งกระด่งิ ซง่ึ เปน็ ส่ิงเรา้ ท่ี ทาใหเ้ กิดการตอบสนองอย่างมเี งอื่ นไข ก็พบว่า สุนขั ก็ยังเกดิ อาการนา้ ลายไหล แตอ่ าการน้าลายไหล ของสนุ ัขคร้ังน้ี เป็นการตอบสนองอย่างมเี ง่อื นไข จาการทดลองของ Pavlov สามารถอธิบายเชอื่ มโยงถึงการเรียนรขู้ องสุนขั คอื เมอื่ สนุ ขั เหน็ อาหาร(ผงเนอื้ ) เกดิ การตอบสนองตามปกติของรา่ งกายเพราะอาหาร(ผงเนือ้ )เปน็ อาหารท่สี ุนัข รับประทาน และเมื่อเสนออาหาร(ผงเนอ้ื )ควบค่กู บั การสัน่ กระดิง่ สุนขั จงึ เกิดอาการนา้ ลายไหล เนอ่ื งมาจากการเสนอสิง่ เรา้ ที่เป็นอาหารทีส่ นุ ขั สามารถรบั ประทานได้ แต่เมื่อถอดถอนอาหาร(ผงเน้ือ) ออกไปเหลอ่ื แตก่ ารส่นั กระดิ่ง สนุ ัขเกิดอาการนา้ ลายไหล เนอ่ื งจากเรียนรวู้ ่า เสยี งกระด่งิ จะมาพร้อม อาหาร(ผงเนอ้ื ) แต่อยา่ งไรก็ตามเงอ่ื นไขสาคัญในการวางส่งิ เร้า

ได้แก่ เราจะตอ้ งเสนอส่ิงเร้าที่สามารถไดร้ ับการตอบสนองไดโ้ ดยมเี งอื่ นไข ก่อนสิง่ เรา้ ที่สามารถได้รบั การตอบสนองได้โดยไม่มีเง่ือนไข เพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้ รวมทง้ั ระยะหา่ งของเวลาในการนาเสนอสิ่งเรา้ ทส่ี ามารถไดร้ บั การตอบสนองไดโ้ ดยมีเงือ่ นไข ปรากฏการณ์เช่นนีเ้ รียกวา่ พฤติกรรมสุนขั ถูกวาง เง่ือนไขหรือสุนัขเกดิ การเรียนรู้การวางเงือ่ นไข จากหลกั การข้างต้นสามารถสรุปหลกั การเรยี นรู้ของ Pavlov ดงั นี้ การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค = สิง่ เร้าท่ีวางเงอ่ื นไข + สิ่งเรา้ ท่ีไมไ่ ดว้ างเง่อื นไข = การเรียนรู้ ดงั นัน้ เราสามารถนาทฤษฎกี ารวางเง่อื นไขของ Pavlov ไปประยุกต์กบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สาหรบั ผูเ้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการพเิ ศษได้ เมือ่ ตอ้ งการเสริมสร้างพฤติกรรม โดยการวางเงอ่ื นไขเพื่อให้ ผเู้ รยี นแสดงพฤติกรรมทพี่ ึงประสงค์ โดยใช้สง่ิ เรา้ เปน็ ส่ิงท่เี ตือนใหท้ า จากการทดลองของ Pavlov สามารถสรปุ ออกมาเป็นทฤษฎีการเรยี นรู้ ดังนี้ ทฤษฎีการเรยี นรู้ 1.พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ยเ์ กิดจากการวางเงอ่ื นไขทต่ี อบสนองตอ่ ความต้องการทาง ธรรมชาติ 2. พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสง่ิ เร้าท่เี ชื่อมโยงกบั สิ่งเรา้ ตามธรรมชาติ 3. พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ทเ่ี กิดจากสิง่ เรา้ ทีเ่ ชื่อมโยงกับสง่ิ เร้าตามธรรมชาตจิ ะลดลงเรอ่ื ย ๆ และหยดุ ลงในที่สุดหากไม่ไดร้ บั การตอบสนองตามธรรมชาติ 4. พฤตกิ รรมการตอบสนองของมนุษย์ส่ิงเร้าทเ่ี ช่ือมโยงกบั สงิ่ เร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยดุ ไป เมอื่ ไม่ได้รบั การตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับปรากฏขึ้นได้อีกโดยไมต่ ้องใช้ส่งิ เร้าตาม ธรรมชาติ 5. มนุษยม์ ีแนวโน้มท่ีจะจาแนกลกั ษณะของสิ่งเรา้ ให้แตกต่างกนั และเลอื กตอบสนองไดถ้ กู ตอ้ ง

การเรียนร้ขู องสง่ิ มีชวี ติ สามารถเกิดจากการตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าทีว่ างเง่ือนไข (conditioned stimulus)ได้ กฎการเรียนรู้จากทฤษฎีการวางเงอื่ นไขแบบคลาสสกิ ของ Pavlov สามารถสรปุ ได้ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี, 2553) 1) พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์สามารถเกดิ ขึ้นไดจ้ ากการเชือ่ มโยงระหว่างสิง่ เรา้ ท่ีไม่วางเงอ่ื นไขหรอื ความตอ้ งการทางธรรมชาต(ิ unconditioned stimulus)กับสง่ิ เร้าที่วาง เงื่อนไข (conditioned stimulus) 2) กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction) ความเขม้ ข้นของการตอบสนองจะลดลง เรอื่ ย ๆ หากบุคคลไดร้ ับส่ิงเรา้ ที่วางเงอ่ื นไขอย่างเดยี ว หรือความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง สงิ่ เรา้ ทวี่ าง เงอ่ื นไขกบั สิ่งทเี่ ร้าทไ่ี ม่วางเงอ่ื นไขห่างกนั ออกไปมากขึ้น 3) กฎแหง่ การฟนื้ คนื สภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of Spontaneous Recovery) การตอบสนองท่เี กิดจากการวางเงือ่ นไขทลี่ ดลง สามารถทาให้เกดิ ขน้ึ ได้อกี โดยใช้ ส่งิ เรา้ ตามธรรมชาติ หรอื ส่งิ เรา้ ทไี่ มว่ างเงอ่ื นไขมาเข้าคกู่ บั สิ่งเรา้ ท่วี างเงอื่ นไขอกี 4) กฎแห่งการถา่ ยโยงการเรยี นรสู้ สู่ ถานการณ์อน่ื ๆ (Law of Generalization) เมื่อเกิดการเรียนรจู้ ากการวางเงอ่ื นไขแลว้ ถา้ มสี ง่ิ เร้าท่ีคล้ายกบั สง่ิ เร้าทีว่ าง เงอ่ื นไขทเ่ี คยใชม้ ากระตนุ้ อาจทาใหเ้ กดิ การตอบสนองทเ่ี หมอื นกนั ได้ 5) กฎแห่งการจาแนกความแตกตา่ ง (Law of Discrimination) ถา้ มกี าร ใช้ สิ่งเร้าท่ีวางเงือ่ นไขหลายแบบ แตม่ ีการใช้สง่ิ เรา้ ท่ีไม่วางเง่อื นไขหรอื ความต้องการตาม ธรรมชาติมาเขา้ คู่กับสิง่ เรา้ ที่วางเงื่อนไขแบบใดแบบหน่ึงเท่านน้ั การเรียนรู้จะเกดิ จากการจาแนก ความแตกตา่ งและเลอื กตอบสนองเฉพาะกับสิ่งเรา้ ทวี่ างเงอ่ื นไข การนาแนวคดิ ของทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบคลาสสกิ ของ Pavlov ไปประยุกต์ใช้ใน การ จดั การเรียนรูส้ ามารถทาได้ดงั น้ี 1) ผูส้ อนควรนาสิง่ เร้าทเี่ ปน็ ความตอ้ งการทางธรรมชาตขิ องผู้เรียนมาใชค้ กู่ บั ส่งิ เรา้ ท่ีมี เงื่อนไขเพอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ได้ดี เชน่ การใหร้ างวลั เมื่อผ้เู รียนสามารถทาไดต้ าม จุดประสงค์ท่ีครูกาหนด 2) การทจ่ี ะทาใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรใู้ นเร่อื งใด ผู้สอนอาจใชส้ งิ่ เรา้ ทว่ี างเงอื่ นไขหลาย แบบพรอ้ มกบั สิง่ เรา้ ท่ีผู้เรยี นชอบตามธรรมชาติ เชน่ การให้สทิ ธิพิเศษในการไปพกั ก่อนคนอ่ืน หรือการ ใหค้ ะแนนเพ่ิมแกผ่ เู้ รยี นทส่ี ามารถทาได้ตามจดุ ประสงคท์ ีค่ รกู าหนด

3) ผู้สอนควรจดั กจิ กรรมการเรียนทม่ี ีความต่อเนอ่ื งและสัมพันธก์ ับส่ิงที่ผูเ้ รยี นเคย เรียนร้มู าแล้วจะชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรไู้ ดง้ ่ายขน้ึ เพราะมีการถา่ ยโยงระหว่างประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ 4) ถา้ ผู้สอนต้องการให้ผู้เรยี นเกิดพฤตกิ รรมใด ผูส้ อนไมค่ วรใช้ส่งิ เรา้ ทไ่ี มม่ เี งื่อนไข อยา่ งเดียวนานเกินไปเพราะจะทาให้พฤติกรรมการตอบสนองลดลงเรือ่ ยๆ เชน่ ถ้า ผู้สอนตอ้ งการให้ผ้เู รียนเขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลา ผู้สอนอาจตง้ั เง่อื นไขว่าเมอ่ื ผ้สู อนเข้ามาในหอ้ งเรียนจะ มีการทดสอบความร้ใู นเรอ่ื งที่เรยี นไปในครงั้ แล้วในตอนตน้ ชวั่ โมงทกุ ครั้ง หากผสู้ อนทาอยา่ งสมา่ เสมอ ผเู้ รยี นจะสนองตอบโดยเข้าเรยี นตรงเวลา แต่ถ้าผู้สอนเขา้ มาในหอ้ งแล้วไมไ่ ดท้ ดสอบความรใู้ นเรือ่ งท่ี เรยี นไปแลว้ อย่างสม่าเสมอตามเงือ่ นไขท่ีกาหนด จะทาให้เกิดการลดภาวะของการตอบสนองตอ่ พฤติกรรมแบบนีไ้ ด้ การประยกุ ตใ์ ช้ในด้านการเรียนการสอน 1.ในแง่ของความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความแตกต่างทางดา้ นอารมณ์มีแบบแผน การตอบสนองได้ ไม่เท่ากนั จาเป็นต้องคานึงถึงสภาพทางอารมณผ์ ้เู รียนวา่ เหมาะสมทจ่ี ะสอนเน้อื หาอะไร 2.การวางเงื่อนไข เป็นเร่อื งท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณด์ ว้ ย โดยปกติผ้สู อนสามารถทาให้ ผู้เรียนรสู้ ึกชอบหรือไม่ชอบเน้อื หาที่เรียนหรือส่ิงแวดลอ้ มในการเรยี น 3.การลบพฤตกิ รรมท่วี างเงอ่ื นไข ผู้เรียนท่ถี กู วางเงือ่ นไขใหก้ ลวั ผู้สอน เราอาจช่วยไดโ้ ดยป้องกันไม่ให้ ผูส้ อนทาโทษเขา 4.การสรุปความเหมอื นและการแยกความแตกตา่ ง

4.1.2.ทฤษฎกี ารเรียนรูแ้ บบการวางเง่ือนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory) Skinner มีแนวคิดว่า การเรยี นรู้เกิดขึน้ ภายใตเ้ งื่อนไขและสภาวะแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม โดยเน้นเรอ่ื งสง่ิ แวดล้อม สิง่ สนับสนุนและการลงโทษ โดย Skinner เชอ่ื ว่าพฤติกรรมของบคุ คลเปน็ ผลมาจากการปฏิสมั พนั ธก์ บั ส่ิงแวดลอ้ มและการเปลย่ี นแปลงของพฤตกิ รรมทเ่ี กดิ ข้นึ นนั้ ขึ้นอย่กู บั ผล กรรม** พฤติกรรมของมนษุ ยจ์ ะคงอยูต่ ลอดไป จาเป็นต้องมีการเสริมแรง ซ่ึงการเสรมิ แรงนี้มีทง้ั การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) และการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) การเสริมแรง หมายถึง ผลของพฤตกิ รรมใด ๆ ท่ที าให้พฤตกิ รรมนนั้ ทาต่อไปและ ยงั คงอยู่ Skinner ไดอ้ ธบิ าย คาวา่ \"พฤตกิ รรม\" วา่ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 3 ตัว ซงึ่ เรียกยอ่ ๆ ว่า A- B-C ซ่งึ ทัง้ 3 จะดาเนินต่อเนื่องไป สง่ิ ทก่ี อ่ ให้เกดิ ข้นึ ซ่งึ นาไปสกู่ ารเกิดพฤติกรรมทแี่ สดงออกและ นาไปสูผ่ ลท่ีไดร้ บั ตามลาดบั คือ 1. Antecedents คือ A หมายถึง เง่ือนไขนาหรอื ส่ิงเร้าที่กระตุ้นใหเ้ กดิ พฤติกรรม (สง่ิ ท่ี กอ่ ให้เกดิ ขนึ้ ) 2. Behavior คือ B หมายถงึ พฤติกรรมท่ีแสดงออก 3. Consequences คอื C หมายถงึ ผลกรรมที่เกิดข้ึนหลงั การทาพฤตกิ รรม อนั สง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมที่จะเกดิ ขน้ึ ตอ่ ไปในอนาคต ABC แผนภาพ 4.2 การเรยี นร้กู ารวางเง่อื นไขผลกรรม

ผลกรรม มี 2ประเภท ไดแ้ ก่ผลกรรมท่ีเปน็ ตัวเสรมิ แรง และผลกรรมที่เปน็ ตวั ลงโทษ ผลกรรม ท่ีเป็นตวั เสริมแรง คอื ผลกรรมทเี่ กิดขนึ้ แล้วทาใหพ้ ฤติกรรมตามหลังน้นั เพ่มิ ขึ้น สว่ นผลกรรมท่ีเปน็ ตวั ลงโทษ คอื ผลกรรมทีเ่ กดิ ขนึ้ แลว้ ทาใหพ้ ฤติกรรมตามหลงั ลดลง การเสริมแรง การทาใหค้ วามถี่ของพฤติกรรมเพิ่มข้ึน อนั เปน็ ผลมาจากผลกรรมตามหลังพฤติกรรมน้ัน ลกั ษณะของตัวเสริมแรง ได้แก่ 1. Material Reinforcers คือ ตัวเสรมิ แรงทเี่ ป็นวตั ถสุ ิง่ ของ เช่น มือถอื ขนม 2. Social Reinforcers เป็นสิง่ ที่ทกุ คนตอ้ งการ เนอ่ื งจากมนษุ ยเ์ ปน็ สัตว์สังคม 2.1. Verbal เปน็ คาพูด เช่น การชม (ต้องชมพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก ไมใ่ ช่บุคลกิ ภาพ) 2.2. Nonverbal ภาษากาย เชน่ กอด (การกอดเปน็ The Best Social Reinforcers ซง่ึ ตอ้ งใช้กับ Positive Behavior) 3. Activity Reinforcers เป็นการใชก้ ิจกรรมทชี่ อบทาทสี่ ุดมาเสริมแรงกิจกรรมที่อยากทา นอ้ ยทีส่ ดุ โดยต้องทาตาม Premack Principle คอื ใหท้ าสิง่ ทอ่ี ยากทานอ้ ยท่ีสุดกอ่ น แลว้ จงึ ใหท้ า กิจกรรมทีช่ อบทสี่ ุด เช่น เดก็ ทชี่ อบกิน Chocolate แต่ไมช่ อบเลน่ Pinball กใ็ หเ้ ลน่ Pinball กอ่ น แลว้ จงึ ให้กิน Chocolate แตถ่ า้ จะทาหรือไมท่ าก็ได้สง่ิ น้ันอย่แู ล้ว สิ่งนัน้ จะเปน็ ตัวเสรมิ แรงไมไ่ ด้อีก ต่อไป 4. Token Economy จะเป็นตัวเสริมแรงไดเ้ ฉพาะเมอ่ื แลกเป็น Backup Reinforcers ได้ เช่น เงินธนบัตรก็เป็นแคก่ ระดาษใบหนึง่ แต่ว่ามันใชช้ าระหนี้ได้ตามกฎหมาย ดงั นนั้ ถ้ามันใช้ชาระหนี้ ไม่ได้กเ็ ปน็ แคก่ ระดาษใบหน่ึง เงินมอี ิทธิพลสูงสุด 5. Positive Feedback หรอื การให้ข้อมูลป้อนกลบั ทางบวก จบั เฉพาะจดุ บวก มองเฉพาะ สว่ นที่ดี เช่น บอกเด็กวา่ หนทู างานส่วนนไี้ ดด้ ีมาก แต่ส่วนทเ่ี หลือเอากลับไปแก้นะ 6. Intrinsic Reinforcers หรือตวั เสรมิ แรงภายใน เช่น การชื่นชมตัวเอง ไม่ต้องใหม้ ใี ครมา ชม

ปจั จยั ที่มผี ลต่อการเสริมแรง 1. Timing การเสรมิ แรงต้องทาทันที เชน่ นักเรียนทาความดีตอ้ งชมทันที เพอ่ื ให้ร้สู กึ ภาคภมู ใิ จ 2. Magnitude & Appeal การเสริมแรงตอ้ งตอบสนองความต้องการอยา่ งพอเหมาะ อยา่ มากไปหรือนอ้ ยไป 3. Consistency การเสรมิ แรงต้องใหส้ มา่ เสมอ เพราะจะไดร้ ูว้ ่าทาแลว้ ต้องได้รับการ เสรมิ แรงอย่างแน่นอน การเสรมิ แรงสามารถแบ่งไดเ้ ป็นหลายมิติ เช่น ลักษณะในการเสรมิ แรง การแบง่ ตามลกั ษณะ ของการเสริมแรง สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 1.การเสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) การเสรมิ แรงท่ีมผี ลทาให้พฤตกิ รรม เพมิ่ ขนึ้ ตวั อยา่ งการเสรมิ แรงทางบวก เดก็ ชายนที ไดร้ ับสตกิ๊ เกอรร์ ูปสไปเดอร์แมนจากคุณครู หลงั จากทางานเสรจ็ ทาให้เด็กชาย นที ขยนั ทางานจนเสรจ็ ทกุ ครั้ง การใหส้ ติ๊กเกอรร์ ปู สไปเดอร์แมนแกเ่ ดก็ ชายนที ทาให้เดก็ ชายนที มี พฤตกิ รรมในการตงั้ ใจทางานทเี่ พิ่มขน้ึ ดงั น้ันจึงเป็นการเสรมิ แรงบวก 2.การเสรมิ แรงทางลบ (Negative reinforcement) การเสรมิ แรงทม่ี ผี ลทาให้พฤติกรรม เพิ่มขึ้น ท่ีผลของการแสดงพฤติกรรมนนั้ สามารถถอดถอนสิง่ เร้าทีไ่ มพ่ งึ พอใจออกได้ ตัวอย่างการเสรมิ แรงทางลบ ด.ญ.โมนา่ รบี ไปท่องสตู รคณู กบั คณุ ครู เพ่อื ท่จี ะไดอ้ อกไปเล่นชิงชา้ กับเพ่อื น การท่องสูตรคูณ อยใู่ นหอ้ งเรียนเป็นสง่ิ เรา้ ทไี่ ม่พึงพอใจ ดังนนั้ การทด่ี .ญ.โมนา่ มพี ฤตกิ รรมรบั ผดิ ชอบงานที่มอบหมาย เพมิ่ ขึ้น คือรบี ไปทอ่ งสตู รคณู กับคุณครูใหเ้ สรจ็ เรียบรอ้ ย ทาใหไ้ ดอ้ อกไปเลน่ ชงิ ช้ากบั เพื่อนได้ ตวั เสริมแรงน้ันอาจแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท ดังน้ี ตัวเสริมแรงปฐมภมู กิ บั ตวั เสริมแรงทุตยิ ภมู ิ 1) ตวั เสริมแรงปฐมภูมิ เป็นตัวเสริมแรงทส่ี ามารถมอี านาจในตนเอง โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการเรยี นรู้ เช่น อาหาร ความอบอุ่น

2) ตวั เสรมิ แรงทุติยภูมิ เป็นตัวเสริมแรงทีต่ ้องผา่ นกระบวนการเรยี นรู้ เช่น คาชมเชย เงินรางวัล การลงโทษ (Punishment) การลงโทษ (Punishment) คือ การทาให้อตั ราการตอบสนองหรือความถ่ีของพฤติกรรม ลดลง การลงโทษมี 2 ทางไดแ้ ก่ 1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) 2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) การลงโทษ (Punishment) การเสรมิ แรงทางลบ และการลงโทษมลี ักษณะที่คลา้ ยคลงึ กันและ มกั จะใชแ้ ทนกันอยู่เสมอ แตก่ ารอธิบายของสกินเนอร์ การเสริมแรงทางลบและการลงโทษต่างกัน โดย เนน้ วา่ การลงโทษเป็นการระงับหรือหยดุ ย้ังพฤติกรรม การใชก้ ารลงโทษ 1. Time-out คอื การเอาตวั เสรมิ แรงทางบวกออกจากบคุ คล แตถ่ ้าพฤติกรรมเด็กหยุด ต้องเอากลับเขา้ มาและเสริมแรงพฤติกรรมใหม่ทนั ที 2. Response Cost หรอื การปรบั สินไหม คอื การดึงสทิ ธ์ิหรอื สงิ่ ของออกจากตัว เชน่ ปรับ เงนิ คนที่ขบั รถผิดกฎ 3. Verbal Reprimand หรือ การตาหนิหลัก คือ หา้ มตาหนิที่ Personality ตอ้ งตาหนิ ที่ Behavior ใช้เสียงและหนา้ ทีเ่ รยี บๆ เชือดเฉือนหวั ใจ 4. Overcorrection คือ การแกไ้ ขเกนิ กว่าท่ีทาผดิ แบง่ ออกเป็น 4.1. Restitutional Overcorrection คือ การทาสิง่ ท่ผี ิดให้ถูก ใช้กบั สิ่งทท่ี าผดิ แล้ว ยังแกไ้ ขได้ เช่น ทาเลอะแล้วต้องเช็ด 4.2. Positive-Practice Overcorrection คอื การฝึกทาส่ิงทถ่ี ูกต้อง ใช้กับสง่ิ ทีท่ า ผดิ แล้วแก้ไขไมไ่ ดอ้ ีก เชน่ ฝึกทิ้งขยะใหล้ งถงั 4.3. Negative-Practice คือ การฝกึ ทาสง่ิ ทผ่ี ิดเพื่อใหเ้ ลิกทาไปเอง

การนาแนวคดิ ของทฤษฎีการวางเงอื่ นไขแบบปฏิบัติการของสกินเนอร์ไปประยุกต์ใช้ใน การจัดการ เรยี นรู้สามารถทาไดด้ ังนี้ 1) ในระหวา่ งที่มกี ารเรยี นการสอน ผูส้ อนควรให้การเสริมแรงแก่ผู้เรยี นทนั ทเี มอ่ื ผเู้ รียนสามารถตอบสนองไดอ้ ยา่ งเหมาะสมซึ่งจะช่วยเพ่มิ อตั ราการตอบสนองในการเรียนรใู้ ห้มากขน้ึ เรื่อยๆ 2)การเปลย่ี นรปู แบบการเสรมิ แรงจะชว่ ยให้การตอบสนองของผเู้ รยี นคงทน เช่น ถา้ ผู้สอนชมผ้เู รียนทตี่ อบถูกว่า “เก่งมาก” ทกุ ครั้ง ผเู้ รยี นจะเห็นความสาคญั ของแรงเสริมนอ้ ยลง ผสู้ อน ควรเปลี่ยนเปน็ แรงเสริมแบบอืน่ บา้ ง เชน่ ยม้ิ พยักหนา้ หรือปรบมอื ให้ 3) การลงโทษทร่ี นุ แรงมีผลเสยี มากกว่าผลดี ผเู้ รยี นอาจไม่ไดเ้ รยี นรู้ส่งิ ทผ่ี ู้สอนตอ้ งการ เลย ผ้สู อนควรใชว้ ิธกี ารงดการเสริมแรงเมอ่ื ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ หรือไมต่ อบสนองตอ่ พฤตกิ รรมนนั้ เม่ือไมม่ ีการตอบสนองผ้เู รียนจะหยดุ พฤตกิ รรมน้ันไปเองในท่สี ุด 4) ถ้าตอ้ งการปลูกคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์แกผ่ ูเ้ รยี น ผสู้ อนควรให้การเสริมแรงแก่ ผู้เรยี นทนั ทีเม่อื ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามที่ผสู้ อนตอ้ งการ เชน่ การใหค้ ะแนน การ ให้ การให้คาชมเชย การใหเ้ กยี รติ การเชิญให้แสดงตัวหนา้ ชน้ั เปน็ ตน้ 4.2 ทฤษฎีการเรยี นร้ใู นกลมุ่ ปัญญาสังคม (Social Cognitive Learning Theory) ทฤษฎีการเรยี นรูก้ ลมุ่ ปัญญาสงั คม เป็นทฤษฎีทีใ่ ห้ความสาคญั ทั้งส่งิ แวดลอ้ มและผ้เู รยี น และ การเรยี นรู้เกดิ จากการปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผูเ้ รยี นและสง่ิ แวดลอ้ ม 4.2.1 ทฤษฎกี ารเรียนร้ทู างปัญญาสังคม (Social Cognitive Learning) Bandura เช่ือว่าการเรยี นรเู้ กิดจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างผ้เู รียนและสงิ่ แวดลอ้ มในสังคม ซึ่งทัง้ ผเู้ รียนและสง่ิ แวดล้อมมีอิทธพิ ลต่อกันและกนั บันดรู า (1969, 1971) จากการทดลองบนั ดรู าพบว่า สาเหตทุ ่ีสาคญั อยา่ งหนึ่งในการเรยี นรู้ดว้ ยการสังเกต คอื ผู้เรยี นจะตอ้ งเลอื กสังเกตสงิ่ ทต่ี อ้ งการเรยี นรู้ โดยเฉพาะ และสิ่งสาคญั อีกอย่างหนึ่งกค็ ือ ผเู้ รียนจะต้องมกี ารเข้ารหัส (Encoding) ในความทรงจา ระยะยาวไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง นอกจากนี้ ผูเ้ รยี นต้องสามารถทจ่ี ะประเมนิ ได้วา่ ตนเลียนแบบไดด้ หี รือไมด่ ี อย่างไร และจะตอ้ งควบคมุ พฤติกรรมของตนเองได้ดว้ ย (metacognitive) บันดูรา Bandura, 1986 จงึ สรปุ วา่ การเรียนรโู้ ดยการสงั เกตจึงเป็นกระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธปิ ัญญา (Cognitive

Processes) การเรียนรโู้ ดยการสงั เกตหรอื การเลียนแบบ (Observational Learning หรือ Modeling) บนั ดูรากลา่ ววา่ คนเรามีปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interact) กับสงิ่ แวดล้อมที่อยรู่ อบๆ ตัวเราอยู่ เสมอการเรยี นรเู้ กดิ จาก ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งผู้เรียนและสง่ิ แวดล้อม ซึ่งทั้งผ้เู รียนและสิง่ แวดล้อมมี อิทธิพลตอ่ กันและกนั พฤตกิ รรมของคนเราส่วนมากจะเปน็ การเรยี นรู้โดยการสังเกต (Observational Learning) หรือการเลยี นแบบจากตัวแบบ (Modeling) สาหรบั ตัวแบบไม่จาเปน็ ตอ้ งเปน็ ตัวแบบท่ีมี ชวี ิตเทา่ น้นั แต่อาจจะเปน็ ตวั สัญลกั ษณ์ เชน่ ตวั แบบทีเ่ ห็นในโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์หรอื อาจจะเป็น รปู ภาพการ์ตนู หนงั สอื กไ็ ด้ นอกจากน้ี คาบอกเลา่ ด้วยคาพดู หรือข้อมลู ที่เขยี นเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรก็ เปน็ ตวั แบบ ผลการวจิ ยั ทไ่ี ด้รบั ความสนใจจากนักจติ วิทยา และมผี ู้นาไปทางานวิจยั โดยใชส้ ถานการณ์ แตกตา่ งไป ผลท่ีไดร้ ับสนับสนนุ ขอ้ สรุปของศาสตราจารยบ์ นั ดูราเก่ยี วกบั การเรี่ยนรโู้ ดยการสงั เกต การทดลองของบันดูรา ร็อส และ รอ็ ส (1963) วธิ กี ารทดลองใชภ้ าพยนตร์แทนของจริง โดย กลุม่ หนง่ึ ดภู าพยนตร์ทีต่ วั แบบ แสดงพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว อีกกลมุ่ หนง่ึ ดูภาพยนตร์ที่ตวั แบบไมแ่ สดง พฤตกิ รรมก้าวร้าว ผลของการทดลองท่ไี ดร้ ับ คือ เด็กท่ดี ูภาพยนตรท์ ่ีมตี วั แบบแสดงพฤติกรรม ก้าวรา้ ว จะแสดงพฤตกิ รรมก้าวรา้ วมากกว่าเดก็ ทอี่ ยูใ่ นกล่มุ ทดี่ ภู าพยนตร์ทต่ี ัวแบบไมแ่ สดงพฤตกิ รรม ทีก่ า้ วรา้ ว บนั ดูรา และเม็นลอฟ (Bandural & Menlove, 1968) ได้ศึกษาเกยี่ วกบั เดก็ ซึ่งมีความกลวั สตั ว์เล้ยี ง เชน่ สนุ ัข พยายามหลกี เล่ียงสตั วเ์ ลย้ี ง บันดรู าและเมน็ ลอฟได้ให้เด็กกลมุ่ หนึง่ ที่มีความกลวั สนุ ขั ได้สังเกตตัวแบบทไี่ มก่ ลวั สุนขั และสามารถจะเล่นกับสนุ ัขไดอ้ ยา่ งสนกุ โดยเริม่ จากการคอ่ ย ๆ ใหต้ ัวแบบเลน่ แตะ และพูดกับสนุ ขั ที่อยู่ในกรง ผลของการทดลองปรากฏวา่ หลังจากสงั เกตตัวแบบที่ ไมก่ ลัวสนุ ขั เด็กจะกล้าเล่นกบั สุนัขโดยไม่กลวั หรือพฤติกรรมของเด็กท่ีกลา้ ท่จี ะเลน่ กับสุนัขเพ่มิ ขน้ึ และพฤติกรรมที่แสดงวา่ กลัวสุนขั จะลดนอ้ ยไป . บนั ดรู าได้ใหค้ วามสาคญั ของการปฏสิ มั พนั ธข์ องอนิ ทรีย์และสิ่งแวดล้อม และถือวา่ การเรยี นรู้ ก็เป็นผลของปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งผเู้ รียนและสง่ิ แวดลอ้ ม โดยผ้เู รยี นและส่ิงแวดลอ้ มมีอิทธพิ ลตอ่ กันและ กัน บนั ดูราได้ถือว่าทั้งบคุ คลทีต่ อ้ งการจะเรยี นรู้และสง่ิ แวดล้อมเปน็ สาเหตุของพฤติกรรมและได้ อธิบายการปฏสิ ัมพนั ธ์ ดงั น้ี

บคุ คล พฤติกรรม (Person) (Behaviour) สง่ิ แวดลอ้ ม (Environment) ขน้ั ตอนการเรยี นรู้โดยการสงั เกตหรือเลยี นแบบมี 2 ขัน้ ข้ันที่ 1 ข้ันการได้รับมาซ่ึงการเรียนรู้ (Acquisition) ทาใหส้ ามารถแสดงพฤตกิ รรมได้ ส่ิงเรา้ หรอื การรบั เข้า > บุคคล (Input) (Person) ขนั้ ที่ 2 เรยี กวา่ ขั้นการกระทา (Performance) ซงึ่ อาจจะกระทาหรือไม่กระทากไ็ ด้ ส่ิงเร้าหรอื การรับเขา้ > บคุ คล (Input) (Person) ปัจจยั ท่ีสาคญั ในการเรียนรู้โดยการสงั เกต 1. กระบวนการความเอาใจใส่ (Attention) ความใสใ่ จของผู้เรยี นเป็นสิง่ สาคัญมาก ถา้ ผ้เู รยี น ไม่มีความใสใ่ จการเรยี นรกู้ ็จะไมเ่ กดิ ขึ้น 2. กระบวนการจดจา (Retention) ผู้เรียนสามารถจดจาส่งิ ทีต่ นเองสงั เกตและไปเลียนแบบ ได้ถงึ แมเ้ วลาจะผา่ นไปกต็ าม 3. กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมอื นตวั อยา่ ง (Reproduction) เปน็ กระบวนการทผ่ี เู้ รยี น สามารถแสดงออกมาเปน็ การการกระทาหรอื แสดงพฤตกิ รรมเหมือนกับตัวแบบ 4. กระบวนการการจงู ใจ (Motivation) แรงจงู ใจของผู้เรยี นท่ีจะแสดงพฤติกรรมเหมือนตวั แบบที่ตนสงั เกต เน่ืองจากความคาดหวังวา่ การเลียนแบบจะนาประโยชนม์ าให้

การให้ความสนใจตอ่ ตัวแบบ (Attention) ความใสใ่ จของผเู้ รยี นเปน็ ส่ิงสาคญั มาก ถ้า ผูเ้ รยี นไมม่ คี วามใสใ่ จในการเรยี นรู้ โดยการสงั เกตหรอื การเลียนแบบกจ็ ะไมเ่ กิดขน้ึ ดงั นน้ั การเรยี นรู้ แบบนี้ความสนใจ ใสใ่ จจึงเปน็ ส่งิ แรกท่ผี เู้ รยี นจะตอ้ งมี การจดจา (Retention)บันดูรา อธบิ ายวา่ การทผ่ี เู้ รยี นหรือผูส้ งั เกตสามารถท่จี ะเลียนแบบ หรือแสดงพฤติกรรมเหมือนตวั แบบได้ก็เป็นเพราะผเู้ รียนบันทึกส่งิ ที่ตนสังเกตจากตัวแบบไว้ใน ความจาระยะยาว สรปุ แลว้ ผู้สังเกตทส่ี ามารถระลึกถงึ สงิ่ ทสี่ ังเกตเป็นภาพพจนใ์ นใจ (Visual Imagery) และสามารถเข้ารหสั ด้วยคาพูดหรอื ถ้อยคา (Verbal Coding) จะเปน็ ผทู้ ่สี ามารถแสดง พฤตกิ รรมเลยี นแบบจากตวั แบบไดแ้ ม้ว่าเวลาจะผ่านไปนาน ๆ และนอกจากน้ถี ้าผู้สงั เกตหรอื ผเู้ รียน มโี อกาสทจ่ี ะได้เห็นตัวแบบแสดงสง่ิ ทีจ่ ะต้องเรียนรู้ซา้ กจ็ ะเป็นการชว่ ยความจาใหด้ ียิง่ ขึน้ กระบวนการ แสดงพฤตกิ รรมเหมอื นกบั ตวั แบบ (Reproduction Process) การแสดงพฤตกิ รรมเหมือนตัวแบบเปน็ กระบวนการทผ่ี เู้ รียน แปรสภาพ (Transform) ภาพพจน์ (Visual Image) หรือส่ิงทจ่ี าไว้เป็นการเขา้ รหสั เป็นถอ้ ยคา (Verbal Coding) ในทส่ี ุดแสดง ออกมาเปน็ การกระทาหรอื แสดงพฤติกรรมเหมือนกบั ตัวแบบ ปัจจัยทส่ี าคญั ของกระบวนการนคี้ ือ ความพรอ้ มทางด้านร่างกายและทกั ษะทจ่ี าเป็นจะตอ้ งใชใ้ นการเลียนแบบของผู้เรยี น ถ้าหากผเู้ รียนไม่ มคี วามพรอ้ มกจ็ ะไมส่ ามารถทีจ่ ะแสดงพฤตกิ รรมเลียนแบบได้ การแสดงพฤตกิ รรมเหมือนตัวแบบ (Reproduction) ของแต่ละบคุ คลจงึ แตกต่างกันไป กงั น้ันผปู้ กครองหรอื ครูควรใชผ้ ลยอ้ นกลบั (Correcting Feedback) เพราะจะเปน็ การช่วยเหลอื ให้ผู้เรยี นหรอื ผู้สงั เกตมีโอกาสทบทวนในใจว่า การแสดงพฤตกิ รรมของตัวแบบ และพยายามแก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง กระบวนการจงู ใจ (Motivation) บนั ดูรา, 1982) อธิบายวา่ แรงจูงใจของผเู้ รยี นทจ่ี ะแสดง พฤติกรรมเหมือนตวั แบบทตี่ นสงั เกต เน่ืองมาจากความคาดหวงั วา่ การเลยี นแบบจะนาประโยชน์มา ใช้ เช่น การได้รับแรงเสริมหรือรางวัล หรืออาจจะนาประโยชนม์ าให้ นกั เรยี นจะเรยี นรูโ้ ดยการ สังเกตและเปน็ แรงจงู ใจให้ผู้เรยี นแสดงพฤติกรรมหรือไม่แสดงพฤติกรรม เวลานักเรยี นแสดงความ ประพฤติดี เช่น นักเรียนคนหนึ่งทาการบ้านเรยี บรอ้ ยถูกต้องแลว้ ได้รับรางวลั ชมเชยจากครู หรอื ให้ สทิ ธิพเิ ศษก็จะเป็นตวั แบบให้แกน่ กั เรยี นคนอ่นื ๆ พยายามทาการบ้านมาส่งครใู หเ้ รยี บร้อย เพราะมี ความคาดหวงั วา่ คงจะไดร้ บั แรงเสริมหรอื รางวลั บ้าง ในทางตรงขา้ มถา้ นกั เรยี นคนหนึง่ ถกู ทาโทษ เน่อื งจากเอาของมารับประทานในหอ้ งเรยี น กจ็ ะเปน็ ตวั แบบของพฤตกิ รรม ทนี่ กั เรียนท้ังช้นั จะไม่ ปฏบิ ัตติ าม

บนั ดรู า ได้แบ่งตัวแบบออกเป็น 4 ประเภทหลัก คอื 1.ตัวแบบทางพฤติกรรม (Behavioral Modeling) หมายถงึ การมตี ัวแบบทีแ่ สดงพฤตกิ รรม ให้ผเู้ รียนเหน็ เช่น ผู้สอนแสดงวธิ กี ารหยิบบลอ็ กไมม้ าใส่กลอ่ ง หรอื สอนวิธีการเลน่ ตัวแบบทาง พฤตกิ รรมมอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากตอ่ การเสรมิ สรา้ งพฤติกรรมใหม่ 2.ตัวแบบทางวาจา (Verbal Modeling) หมายถงึ การมตี ัวแบบท่พี ดู สภุ าพ พูดออกเสยี งชา้ ๆ ให้ผเู้ รยี นพูดตาม การพูดบอกผ้อู ื่นถึงความตอ้ งการข้นั พน้ื ฐาน เชน่ หวิ น้า อยากเข้าหอ้ งน้า บอกช่ือ อปุ กรณ์ของใชใ้ นชวี ิตประจาวนั 3.ตวั แบบสญั ลักษณ์ (Symbolic Modeling) หมายถึง การมตี วั แบบหรือเสียงทีผ่ า่ น ส่อื ตา่ งๆ เชน่ โทรทศั น์ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพทม์ ือถือ ไอแพด ฯลฯ ปจั จุบนั ผเู้ รียนเรยี นรู้ส่ิงตา่ งๆผา่ นสื่อ เหลา่ น้ี 4.ตวั แบบสมั ผสั (Kinesthetic Modeling) หมายถึง การมีตัวแบบโดยใชก้ ารสมั ผัส การเรียนรผู้ ่านตวั แบบ ทาให้เกดิ พฤติกรรมใหม่ การดตู ัวแบบท่ีดี จะช่วยใหเ้ กิดการเรียนร้ทู ่ีดี มปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ตวั กระตุ้นพฤตกิ รรมท่ีสามารถทาไดใ้ ห้แสดงออกมา เชน่ ทกั ษะการชว่ ยเหลอื ตนเอง หรอื ถ้าผเู้ รียนที่มคี วามตอ้ งการพิเศษได้ดวู ธิ กี ารเรียนหรือตัวแบบที่ดีจากเพ่ือน จะทาให้เกดิ การเรียนรู้ และการเรยี นรผู้ า่ นตวั แบบยงั ชว่ ยให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรวู้ ่า จะทาหรอื ไมท่ าพฤตกิ รรมใด เชน่ ผเู้ รยี นเหน็ ตวั แบบทาพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ แลว้ พบว่าตัวแบบถกู ลงโทษ ผู้เรียนก็มแี นวโนม้ ท่ีจะไม่ ทาพฤตกิ รรมนน้ั และพฤติกรรมใดที่ตวั แบบทาแล้วได้รบั การเสริมแรง ผูเ้ รยี นมีแนวโน้มท่ีจะทา พฤตกิ รรม บันดรู ากล่าวถงึ ความสาคัญของแรงเสริมบวกว่ามีผลต่อพฤตกิ รรมทผ่ี ูเ้ รยี นเลยี นแบบตัวแบบ แต่ความหมายของความสาคัญของแรงเสรมิ นน้ั แตกต่างกนั กับของสกนิ เนอร์ (Skinner) ในทฤษฎีการ วางเงือ่ นไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning) แรงเสริมในทฤษฎี การเรียนร้ใู นการสงั เกต เป็นแรงจงู ใจทจ่ี ะทาให้ผูส้ ังเกตแสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวแบบ แต่แรงเสรมิ ในทฤษฎกี ารวางเง่อื นไข แบบโอเปอแรนทน์ ัน้ แรงเสรมิ เป็นตัวทจ่ี ะทาให้ความถี่ของพฤติกรรมที่อินทรีย์ได้แสดงออกอยูแ่ ลว้ ให้ มีเพิ่มขึ้น และในทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการสังเกตถือว่าความคาดหวังของผู้เรียนที่จะได้รับรางวัลหรือ ผลประโยชนจ์ ากพฤติกรรมทแี่ สดงเหมือนเป็นตวั แบบ เปน็ แรงจงู ใจทที่ าใหผ้ ู้สังเกตแสดงออก แต่

สาหรบั การวางเงือ่ นไขแบบโอเปอแรนท์ แรงเสรมิ เป็นสงิ่ ทม่ี าจากภายนอกจะเปน็ อะไรก็ไดไ้ มเ่ กย่ี วกบั ตัวของผู้เรยี น แนวคดิ การกากับตนเองในการเรยี นรู้ มีความสาคญั อย่างยงิ่ ที่จะทาให้พฤติกรรมภายในเกดิ ขึ้น อย่างคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปเพอื่ ควบคุมพฤตกิ รรมภายนอก ซึ่งเกดิ ข้ึนโดยผา่ นการดาเนนิ การของตนเอง และแหล่งอิทธิพลภายนอก รวมถึงกรอบของแรงจงู ใจ สังคมและคณุ ธรรม จากการศึกษาเอกสารและ งานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง พบวา่ การกากบั ตนเองในการเรยี นรูส้ ง่ ผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสูงขน้ึ จงึ มี ความสาคัญท่ีควรส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั ิเพื่อปรับปรงุ และพัฒนาอย่างตอ่ เนือ่ ง การกากบั ตนเอง ในการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 และทฤษฎกี ารเรียนรู้ทางปัญญาสังคมของ Bandura แนวคิดของ การกากับตนเอง (Self-Regulation) Andrea Bell (2016) ใหค้ าจากัดความท่ชี ัดเจนเกย่ี วกบั Self-Regulation คือ “การควบคมุ [ของ ตวั เอง] ดว้ ยตวั เอง” การกากับตนเอง (Self-Regulation) คือ ความตัง้ ใจและความปรารถนาทีจ่ ะเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมของตนเองและจะตอ้ งฝึกฝนกระบวนการการกากบั ตนเอง ซึ่ง ประกอบดว้ ย 3 กระบวนการ คอื 1. กระบวนการสังเกตตนเอง บุคคลจะตอ้ งรวู้ า่ วา่ กาลังทาอะไรอยู่ 2. กระบวนการตดั สิน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจะต้องอาศัยทักษะในการตัดสนิ 3. การแสดงปฏฺกริ ิยาตอบสนอง ทกั ษะในการตดั สนิ จะนาไปสู่การแสดงปฏกฺ ิรยิ าตอบสนอง การกากบั ตนเอง (self-regulation) การกากับตนเองมคี วามหมายถึง กระบวนการปรับปรงุ แก้ไขพฤตกิ รรมของตนเองเพอ่ื ท่จี ะสามารถดารงอยูบ่ นเส้นทางท่ีจะนาไปสเู่ ป้าหมายนัน้ ๆ โดยไม่

จาเป็นว่าจะต้องยับย้งั การตอบสนองอ่นื ๆ หรอื เปน็ เพียงแค่การตอบสนองต่อส่งิ รบกวนภายนอก อกี ทัง้ แรงจูงในในการกากับตนเองนน้ั จะต้องมจี ดุ กาเนดิ มาจากภายในตวั บุคคลนั้นเอง นอกจากน้ี การ กากับตนเองเป็นกระบวนการทเ่ี กิดข้นึ อยา่ งอตั โนมัติและไม่จาเป็นตอ้ งอาศัยการพจิ ารณาอยา่ ง ละเอียดรอบคอบ การควบคุมตนเองตามพฤตกิ รรมคือ “ความสามารถในการดาเนนิ การเพือ่ ผลประโยชนส์ ูงสุด ในระยะยาวของคณุ สอดคล้องกับค่านิยมทล่ี ึกท่ีสดุ ของคุณ” (Stosny, 2011) เปน็ สงิ่ ท่ีทาให้เรารู้สกึ อย่างหนง่ึ แต่ทาอีกอยา่ งหนึ่ง “หากคุณเคยกลัวการตน่ื ไปทางานในตอนเช้า แต่เช่ือมนั่ วา่ ตอ้ งทา ต่อไปหลังจาก คุณมเี ป้าหมายในชวี ติ (เช่น การขึน้ เงินเดือน การเล่ือนตาแหน่ง) หรือความต้องการ พน้ื ฐานของคณุ (เช่น อาหาร ที่อยู่อาศยั ) แสดงวา่ คุณมปี ระสิทธภิ าพ การควบคมุ ตนเองทาง พฤติกรรม” Stuart Shanker (2016) กล่าววา่ : “การกากบั ตนเองเก่ียวกบั การยบั ยัง้ แรงกระตุน้ การกากบั ตนเอง เปน็ การลดความถี่และความรนุ แรงของแรงกระตนุ้ ที่รุนแรง การกากบั ตนเองเปน็ ส่งิ ทที่ าให้ เปน็ ไปได้ คอื การจดั การภาวะความเครียดเพอื่ ใหก้ ลบั สู่ภาวะปกติ ******************************************************************************************* อา้ งอิง จงใจสรุ ธรรมส., ศุภฤกษ์ชัยสกุล (Supparerkchaisakul)น., & ดาสวุ รรณว. (2015). กลวธิ ีการกากับตนเองในการ เรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21. Journal of Behavioral Science for Development, 7(1). Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/29915 ทฤษฎกี ารเรียนรู้. (2553). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.kroobannok.com/35946 ทฤษฎีการเรียนรกู้ ลุ่มพฤตกิ รรมนยิ ม. (ม.ป.ป.). เข้าถงึ ได้ จาก: http://www.novabizz.com /NovaAce/Learning/ Behavioral_Learning_Theories.htm. ทฤษฎกี ารเรียนรู้กลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism). (2558). เขา้ ถงึ ได้ จาก: http://nira mon2244.blog spot.com/2015/07/be haviorism.h tml? m=1. http://waenkaewice2.blogspot.com/2015/09/3-behavioral-theories.html บนั ดรู า, A. (1977). ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางสังคม . Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall

เวป็ ไซด์ http://405404027.blogspot.com/2012/10/ivan-petrovich-pavlov.html http://club.yenta4.com/view_topic.php?type=content&club=Life_Skill&club_id=18028&table_id= 1&cate_id=-1&post_id=139680 https://www.facebook.com/PsychologyChula/posts/1007269599387453:0 http://www.kroobannok.com/35946 https://positivepsychology.com/positive-reinforcement-classroom/ https://positivepsychology.com/positive-reinforcement-psychology/ https://www.simplypsychology.org/operant-conditioning.html http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0% http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/df-skinner.html http://waenalai02.blogspot.com/2012/10/blog-post_3.html http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/pavlov.html http://watcharaphonchai.blogspot.com/2007/08/df-skinner.html http://waenalai02.blogspot.com/2012/10/blog-post_3.html http://youtube.com/watch?v=tvP3k8LKFgk


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook