แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ สระแก้ว สงขลา และนราธวิ าส และศกึ ษาวางผังและออกแบบสถานีขนส่งสินค้าภูมิภาค (เมอื งหลัก) จานวน 5 แห่ง ได้แก่ เชียงใหม่ พิษณุโลก ขอนแก่น นครราชสีมา และสุราษฎร์ธานี เพ่ือเป็นจุดเชื่อมต่อโครงข่ายการ ขนส่งสินค้าทางถนน ทั้งภายในและระหว่างประเทศ และทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า ซึ่งจะ ชว่ ยให้การขนสง่ สนิ คา้ ทางถนนมีประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ 4.3.7 พฒั นำเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ (SEZ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งในพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) และบริเวณใกล้เคียง ให้มีคุณภาพมาตรฐานและสามารถเชื่อมต่อกับโครงข่ายหลักของประเทศ โดยจะดาเนินการในระยะท่ี 2 ตามแผนพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและดา่ นศุลกากร จานวน 77 โครงการ วงเงิน 217,490 ล้านบาท 4.4 ควำมสอดคล้องระหว่ำงผลกำรดำเนินงำนของรัฐบำลกับแผนในระดับนโยบำยและสถำนกำรณ์และ สภำพปญั หำดำ้ นคมนำคมขนส่งของประเทศ ระบบการคมนาคมขนส่งของประเทศมีความเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชวี ิตของประชาชน โดยเป็นตัวกระตุน้ เศรษฐกจิ การสรา้ งงาน การกระจายรายไดแ้ ละสรา้ งความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของ ประชาชน ดังน้ันการจัดสรรงบประมาณเพื่อดาเนินการด้านการคมนาคมขนสง่ ที่มปี ระสิทธิภาพ จงึ เปน็ ตัวแปร ที่สาคัญในการพัฒนาประเทศทั้งในแง่ของการเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความเท่าเทียมกัน ของประชาชนในประเทศ การจัดสรรงบประมาณเพ่ือดาเนินการด้านการคมนาคมขนส่งที่มีประสิทธิภาพ จะต้องดาเนินการ พัฒนาและแก้ไของค์ประกอบของการคมนาคมขนส่งครอบคลุมในทุกประเด็น ได้แก่ 1) ควำมต้องกำร คมนำคมขนส่ง 2) เส้นทำงและโครงข่ำย 3) ยำนพำหนะ 4) สถำนีกำรขนส่ง 5) ผู้ให้บริกำรหรือ ผปู้ ระกอบกำรขนสง่ และ6) กำรกำกับแลดแู ลกำรขนส่ง สานักงบประมาณของรัฐสภาจึงได้วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างการจัดสรรงบประมาณด้านการ คมนาคมขนส่งท่ีผ่านมาเปรียบเทียบกบั แผนในระดับนโยบายและสถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่ง ของประเทศ สรปุ ประเดน็ ได้ ดังน้ี 4.4.1 กำรพัฒนำกำรคมนำคมขนสง่ ทำงถนน รัฐบาลลงทุนเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางถนนภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 667,689.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22.06 ของวงเงินท้ังหมด โดยให้ความสาคัญการขยายช่องจราจรในถนนไปในทุกภูมิภาค ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมอื ง โครงการทางพิเศษในพนื้ ท่กี รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ซึ่งชว่ ยเพิ่มความสามารถในการรองรับ การจราจรของการคมนาคมขนส่งทางถนนได้มากขน้ึ การดาเนินการดังกล่าว ส่งผลประโยชน์ในการเพิ่มความจุของพื้นที่ถนน ซ่ึงจะช่วยบรรเทาปัญหา การจราจรที่ติดขัดที่เป็นเป็นหาท่ีสาคัญของการคมนาคมขนส่งทางถนนได้ในระดับหน่ึง มีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งทางถนนในประเด็นควำมต้องกำรคมนำคมขนส่งและเส้นทำง และโครงข่ำย ที่ยังถือเป็นรูปแบบการขนส่งหลักของประเทศ รวมถึงมีบทบาทสาคัญย่ิงต่อการสนับสนุนการ ให้บริการของระบบขนส่งรูปแบบอื่น ๆ ท้ังหมด ท่ีผลการศึกษา พบว่า ความต้องการการคมนาคมขนส่งทาง ถนนมีปริมาณเพ่ิมข้ึนทุกปี ส่งผลให้ปัญหาการจราจรติดขัดทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างรวดเร็ว สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร - 86 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ จะเห็นไดจ้ ากในปี พ.ศ. 2560 มบี ริเวณเส้นทางถนนทั่วประเทศที่มีค่าดัชนีการจราจรติดขดั สูงกว่า 0.8 จานวน 33 แหง่ แตใ่ นปี พ.ศ. 2561 บริเวณเส้นทางถนนที่มคี า่ ดัชนีการจราจรติดขัดสูงกวา่ 0.80 เพิม่ ขนึ้ เปน็ 316 แห่ง ในส่วนประเด็น ยำนพำหนะ สถำนีขนส่ง ผู้ให้บริกำรหรือผู้ประกอบกำร และกำรกำกับดูแลกำร ขนส่ง น้ัน มีความเกี่ยวข้องกับระบบขนส่งสาธารณะ ดังน้ันการจัดบริการขนส่งสาธารณะทางถนนท่ีมี ประสิทธิภาพจะต้องให้ประชาชนได้รับความสะดวกและปลอดภัย สามารถเข้าถึงได้ง่าย ซ่ึงจะส่งผลให้ ประชาชนใช้บริการขนส่งระบบสาธารณะมากข้ึน ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ดังนั้น การจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีจะต้องคานึงถึง มาตรฐานการให้บริการต่างๆไม่ว่าจะเป็น ด้านยานพาหนะ สถานีขนส่ง ผูใ้ ห้บรกิ ารหรอื ผ้ปู ระกอบการ และการกากับดแู ลการขนสง่ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้นดว้ ย 4.4.2 กำรพฒั นำกำรคมนำคมขนส่งทำงรำง รัฐบาลลงทุนเพื่อพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางรางภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 2,252,723.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 74.44 ของวงเงินท้ังหมด เม่ือพิจารณาถึงสัดส่วนของวงเงินลงทุนถือว่าสอดคล้องกับแผนในระดับนโยบายท่ี มุ่งหวังให้ประเทศปรับเปล่ียนจากการคมนาคมขนส่งทางถนนไปใช้การคมนาคมขนส่งประเภทอ่ืนให้มากข้ึน โดยกาหนดให้การคมนาคมขนส่งทางรางเปน็ หลักในการขนส่งสินค้าและประชาชน จากวงเงินลงทุนดังกล่าว รัฐบาลได้มุ่งเน้นท่ีจะพัฒนาระบบรถไฟเป็นระบบรางคู่ในเส้นทางไปยัง ภูมิภาคในทุกภูมิภาค ซึ่งมคี วามสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งทางถนนในประเด็น ยำนพำหนะและเส้นทำงและโครงข่ำย ท่ีในปัจจุบันทางรถไฟในประเทศส่วนใหญ่ยังเป็นระบบรางเดี่ยวและ สามารถรับน้าหนักบรรทุกได้น้อย เป็นสาเหตุให้ใช้เวลาในการคมนาคมขนส่งค่อนข้างมาก ส่งผลให้มีปริมาณ ความต้องการในการขนส่งคนและสินค้ายังมีจากัด นอกจากน้ันเป็นการใช้งบประมาณเพ่ือก่อสร้างรถไฟ ความเร็วสูง และพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในจังหวัดศูนย์กลางของภูมิภาคต่าง ๆ ซ่ึงจะส่งผลให้ระบบราง เขา้ มามบี ทบาทตอ่ การคมนาคมขนส่งมากข้ึนในอนาคต ในส่วนของประเด็น กำรกำกบั แลดูแลกำรขนส่งนั้น ในปัจจุบันไดม้ ีการจัดตั้งกรมการขนสง่ ทางรางซ่ึง จะต้องดาเนินการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการขนส่งทางราง มาตรฐานด้านความปลอดภัย มาตรฐาน การบารุงทาง มาตรฐานการประกอบกิจการ มาตรฐานผู้ประจาหน้าที่ รวมท้ังกากับดูแลให้เป็นไปตาม มาตรฐานดังกล่าว และกากับดูแลการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางราง ให้ได้มาตรฐานและ กากับดแู ลเพ่อื ให้การคมนาคมขนส่งทางรางเกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ ตอ่ ไป อีกประเด็นที่รัฐบาลต้องให้ความสาคัญ คือ จะต้องจัดสรรงบประมาณเพ่ือส่งเสริมผู้ให้บริกำรหรือ ผู้ประกอบกำรขนส่งในการอานวยความสะดวกเพ่ือลดทุนทุนการขนส่งทางราง เน่ืองจากการขนส่งสินค้าทาง รถไฟนน้ั ไม่สามารถไปส่จู ุดหมายโดยตรง ต้องมีการเปลี่ยนระบบ ซึ่งต้องใชพ้ ้ืนที่ และอุปกรณย์ กขน เป็นสาเหตุ ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายเพื่อ เข้า-ออก ระบบ ซ่ึงอาจจะไม่คุ้มค่าเม่ือเปรียบเทียบกับการขนส่งทางถนน จึงมี ความจาเป็นต้องสร้างลานขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์เพิ่มเติม จากปจั จุบนั ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยมีอยู่ 4 แห่ง ที่ จ. ขอนแก่น จ. อุตรดิตถ์ จ. นคราชสีมา และ จ. สุราษฎรธ์ านี 4.4.3 กำรพัฒนำกำรคมนำคมขนส่งทำงนำ้ รัฐบาลลงทุนเพื่อพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางน้าภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 39,975.54 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.32 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร - 87 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ ของวงเงินท้ังหมด เพ่ือดาเนนิ การพฒั นาเทียบเรือชายฝ่งั แหลมฉบงั ท่าเรือเช่อื มชายฝง่ั ภาคตะวันออก-ตะวนั ตก ก่อสรา้ งทา่ เรือแมน่ า้ เจา้ พระยา เมื่อวิเคราะห์แล้วพบว่างบประมาณในการพัฒนาการขนส่งชายฝ่ังส่วนใหญ่ถูกใช้ในเร่ืองของการขุด ลอกร่องน้าและการศึกษาเพ่ือก่อสร้างท่าเรือแห่งใหม่ ซ่ึงยังไม่สอดคล้องกับและเพียงเพียงพอกับปัญหาด้าน โครงสร้างพ้ืนฐานที่สาคัญ กล่าวคือ ท่าเรือชายฝั่งมีที่ต้ังของท่าเรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่มีร่องน้าเดินเรือลึก ประมาณ 4-5 เมตร ทาให้เรือที่เข้าเทียบท่าเรือมีขนาดไม่เกิน 28 เมตร เรือขนาดใหญ่ต้องรอช่วงน้าข้ึนสูงสุด เกดิ การจราจรท่คี ับค่ัง เกิดอุบัติเหตุไดง้ ่าย การใชเ้ รือขนาดเล็กขนถ่ายต่อไปยังเรือขนาดใหญท่ ่ีจอดทอดสมอรอ ด้านนอกทาให้เกิดการขนส่งสองต่อ (Double Handling) ท่าเรือขาดพื้นท่ีแนวหลังนาเข้า-ส่งออกสินค้าผ่าน ท่าเรือ ขาดนิคมอุตสาหกรรมรองรับ และการคมนาคมท่ีเช่อื มตอ่ ทา่ เรือยงั ไม่เพียงพอ สาหรับการคมนาคมขนส่งทางลาน้าภายในประเทศน้ัน จากการศึกษาพบว่ามีปริมาณสนิ ค้าที่ค่อนข้าง น้อย เนื่องจากอุปสรรคทางกายภาพของลาน้า และสิ่งก่อสร้างที่สรา้ งข้นึ อาทิ สะพาน ประตูน้า ดังน้ัน เพ่ือให้ สอดคล้องกับแผนด้านนโยบายด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ รัฐบาลจึงควรเร่งดาเนินการปรับปรุงกายภาพ ของลาน้า ทา่ เรอื และการเชอื่ มต่อกับการคมนาคมขนส่งในรปู แบบอ่นื ใหส้ มบูรณ์มากข้ึน 4.4.4 กำรพัฒนำกำรคมนำคมขนสง่ ทำงอำกำศ รัฐบาลลงทุนเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางน้าภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 66,021.11 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.18 ของวงเงนิ ทั้งหมด ดาเนินการเพ่ิมขดี ความสามารถในการรองรับผโู้ ดยสารด้วยการ และศักยภาพการให้บริการ การเดินอากาศของไทยเพื่อรองรับปริมาณเท่ียวบินทั่วประเทศเพิ่มสูงข้ึน ด้วยการพัฒนาท่าอากาศยานหลัก ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ปรับปรุงท่าอากาศยานภูมิภาค 7 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานแม่สอด ท่าอากาศยาน กระบ่ี ท่าอากาศยานขอนแก่น และก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานเบตง ซึ่งมีความ สอดคล้องกับ สถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งทางถนนในประเด็นยำนพำหนะ เส้นทำงและ โครงข่ำย และสถำนขี นส่ง ทปี่ ัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางอากาศประสบปญั หาเร่ืองความแออัดเช่นเดียวกับ การขนสง่ ทางถนนเนื่องจากมปี ริมาณผู้โดยสารหนาแนน่ เกินขดี ความสามารถในการรองรบั โดยมปี จั จยั ท่ีสาคัญ มาจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของสายการบินต้นทุนต่า ท่าอากาศยานท่ีประสบปัญหาความแออัดทั้งในส่วน ของทางวิ่ง อาคารผู้โดยสาร และหลุมจอด ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต อุดรธานี สุราษฎร์ธานี อุบลราชธานี กระบ่ี และขอนแก่น เป็นต้น ส่วนท่าอากาศยานที่กาลังจะประสบปัญห าแออัด ตามมาในอนาคต ได้แก่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีท่าอากาศยานท่ีมี จานวนผู้โดยสารกับความจุของท่าอากาศยานในภูมิภาค พบว่า มีท่าอากาศยานที่มีปริมาณผู้โดยสารมากว่า และใกล้เคียงกับความจขุ องทา่ อากาศยาน จานวน 2 ท่าอากาศยาน ได้แก่ ท่าอากาศยานนครศรธี รรมราช และ ทา่ อากาศยานตรัง องค์ประกอบท่ีสาคัญในการพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางอากาศก็คือ กำรกำกับแลดูแลกำรขนส่ง โดยรัฐบาลต้องเร่งจัดทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและการขับเคล่ือนหน่วยงานกากับดูแล โดยปรับตัวให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลง การกากับแลดูแลการขนส่งให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม และเสมอภาค รวมไปถึงการ พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านการกากับดูแล และควำมต้องกำรคมนำคมขนส่ง จะต้องมีมาตรการจูงใจให้ ความตอ้ งการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศเพิ่มขึ้น สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร - 88 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผล เอกสารวิชาการเรื่อง “แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ” เป็นการศึกษาเป็น การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การศึกษาข้อมูลทั้งรูปแบบทุติยภูมิโดยใช้วิธีเก็บรวบรวมเอกสาร (Documentary Research) โดยค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร วารสาร บทความ อินเตอร์เน็ต กฎ จัดทาข้ึนโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้จากการลงทุนด้านคมนาคมขนส่งท่ีผ่านมาของภาครัฐว่ามีความ สอดคล้องกับแผนในระดับนโยบายและสถานการณ์และสภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ มากน้อย เพียงใด โดยทาการศึกษาองค์ประกอบของการการคมนาคมขนส่งครอบคลุมในทุกประเด็น ได้แก่ ควำม ตอ้ งกำรคมนำคมขนส่ง เส้นทำงและโครงข่ำย ยำนพำหนะ สถำนีกำรขนส่ง ผู้ให้บริกำรหรอื ผปู้ ระกอบกำร ขนส่ง และกำรกำกับแลดูแลกำรขนส่ง เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวทางท่ีเหมาะสมสาหรับการจัดสรร งบประมาณด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สานักงบประมาณของรัฐสภาจึงได้ ดาเนนิ การศกึ ษาทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. สถานการณ์และปญั หาด้านการคมนาคมขนส่งในแตล่ ะรูปแบบของประเทศ 2. ความต้องการดา้ นการคมนาคมขนส่ง 3. แผนในระดบั นโยบายทีเ่ กี่ยวข้องกบั ดา้ นการคมนาคมขนสง่ ของประเทศ 4. การจดั สรรงบประมาณด้านการคมนาคมขนสง่ ที่ผา่ นมา 5. ผลการดาเนินงานของรฐั บาลดา้ นคมนาคมขนสง่ ของประเทศ 6. ลกั ษณะของงบประมาณทีด่ ี 7. งานศกึ ษาวิจัยที่เกย่ี วขอ้ งกบั ระบบคมนาคมขนส่งในแตล่ ะรปู แบบ ซง่ึ สามารถสรุปผลการศึกษาได้ ดงั นี้ รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการคมนาคมขนส่งข้ันพื้นฐาน และการลดต้นทุนโลจิสติกส์เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้ดาเนินการผลักดันการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งที่มี ประสิทธิภาพและมีต้นทุนการขนส่งที่ถูกลง โดยได้ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมทัง้ สิ้น 3,026,408.99 ล้านบาท โดยเมื่อพจิ ารณาถึง สัดส่วนเงินลงทุนด้านคมนาคมขนส่งในแต่ละรูปแบบ พบว่ารัฐบาลได้ลงทุนในการคมนาคมขนส่งในระบบราง มากท่ีสดุ ถึงร้อยละ 74.44 ของวงเงนิ ลงทุนทั้งหมด ในสว่ นท่ีเหลือเปน็ การลงทนุ ในการคมนาคมขนส่งทางถนน ทางอากาศ และทางนา้ โดยมสี ัดส่วนร้อยละ 22.06 2.18 และ1.32 ตามลาดบั ซึ่งมีรายละเอยี ด สรปุ ได้ดงั นี้ 5.1.1 กำรคมนำคมขนส่งทำงถนน ประเทศไทยมีโครงข่ายการคมนาคมขนส่งทางถนนท่ีครอบคลุมในเชิงพ้ืนท่ีทั่วประเทศ สามารถ เช่ือมโยงการคมนาคมขนส่งระหว่างกลุ่มเมืองต่าง ๆได้ จนถือได้ว่าไม่มีโครงข่ายที่ขาดหายไป (Missing Link) โดยในอนาคตอีก 10 ปีข้างหนา้ ยงั ไม่มีความจาเปน็ ตอ้ งมีการพัฒนาโครงข่ายการเช่ือมโยงหลักและรองเพมิ่ เติม แต่ในทางกลบั กันยังคงประสบปัญหาการจราจรตดิ ขัดและอุบัตเิ หตุทางถนนทรี่ ุนแรงมาอยา่ งยาวนานและยังคง มีแนวโน้มท่ีจะทวีความรุนแรงข้ึนในอนาคต เน่ืองจากโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และระหว่าง เมืองยังไม่ครอบคลุมท่ัวถึงและยังไม่เชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ ไม่สามารถตอบสนองความต้องการการใช้ ระบบขนส่งสาธารณะของประชาชนได้เพียงพอ ทาให้การขนส่งสินค้าและขนส่งคนยังคงใช้การคมนาคมขนส่ง สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร - 89 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ ทางถนนเป็นหลัก ซ่ึงมีปริมาณมากเกินกว่าที่ความจุถนนท่ีมีอยู่จะรองรับได้ ที่ผ่านมาการจัดสรรงบประมาณ พัฒนาการขนส่งทางถนน มุ่งเน้นท่ีการพัฒนาทางกายภาพ (การพัฒนาเส้นทาง ขยายช่องทางจราจรและ โครงข่ายถนน) มากกว่าการบริหารจัดการและการพัฒนาทางสังคม (การให้ความรู้ สร้างวินัยจราจร การควบคมุ การพัฒนาเมือง และการกากบั ทางกฎหมาย) ทาให้ตอ้ งใชง้ บประมาณค่อนข่างสูงและยงั ไม่สามารถ แกป้ ญั หาได้ไมเ่ ต็มประสทิ ธภิ าพเท่าท่คี วร รัฐบาลลงทุนเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางถนนภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงนิ รวมทั้งสิน 667,689.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22.06 ของวงเงินทั้งหมด โดยให้ความสาคัญการขยายช่องจราจรในถนนไปในทุกภูมิภาค ก่อสร้างทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง โครงการทางพเิ ศษในพืน้ ท่กี รุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการรองรับ การจราจรของการคมนาคมขนส่งทางถนนได้มากขึ้น ซ่ึงสอดคล้องกับสถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคม ขนส่งทางถนนในประเด็นควำมต้องกำรคมนำคมขนส่ง ซึ่งจะช่วยบรรเทาปัญหาการจราจรที่ติดขัดท่ีเป็น ปัญหาที่สาคัญของการคมนาคมขนส่งทางถนนได้ในระดับหนึ่ง สาหรับประเด็นเส้นทำงและโครงข่ำยนั้น ประเทศไทยมีโครงข่ายการคมนาคมขนส่งทางถนนท่ีครอบคลุมในเชิงพ้ืนที่และสามารถเชื่อมโยงการคมนาคม ขนส่งระหวา่ งกลุ่มเมอื งต่าง ๆ จึงถือได้ว่าไม่มีโครงขา่ ยท่ีขาดหายไป แต่ตอ้ งมีการปรับปรุงรักษาโครงข่ายให้อยู่ ในสภาพที่ดี มีสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือรองรับการเดินทางผ่านเข้าออกระหว่างเพอ่ื นบ้าน พร้อมทั้งยกระดับ มาตรฐานความปลอดภัยให้อยู่ในระดับสากลมากข้ึน และสาหรับการพัฒนาเพ่ิมเติมโครงข่ายถนนข้ึนใหม่ใน อนาคต จาเป็นต้องมีการบูรณาการเพ่ือให้เกิดการเดินทางของคนและการขนส่งสินค้าต่อเน่ืองหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการเชอ่ื มต่อระหว่างโครงข่ายถนนและโครงขา่ ยราง (รถไฟ) ในส่วนประเด็นที่รัฐบาลควรจะมกี ารจัดสรรงบประมาณเพ่ิมเติม ได้แก่ การพัฒนายำนพำหนะ สถำนี ขนส่ง ผู้ให้บริกำรหรือผู้ประกอบกำร และกำรกำกับดูแลกำรขนส่ง ในระบบขนส่งสาธารณะให้มีการ จัดบริการขนส่งสาธารณะทางถนนท่ีมีประสิทธิภาพมากข้ึน จะต้องให้ประชาชนได้รับความสะดวกและ ปลอดภัย สามารถเข้าถึงไดง้ ่าย ซ่งึ จะส่งผลให้ประชาชนหนั มาใช้บรกิ ารขนสง่ ระบบสาธารณะมากขน้ึ ลดการใช้ รถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นวิธีการแก้ไขและพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางถนนท่ีมีประสิทธิภาพและประหยัด งบประมาณ 5.1.2 กำรคมนำคมขนสง่ ทำงรำง ปัจจุบันโครงข่ายรถไฟฟ้าเขตเมืองยังมีจากัด ในขณะท่ีรางรถไฟระหว่างเมืองมีสภาพทรุดโทรม เส้นทางส่วนใหญ่ร้อยละ 93.10 ของเส้นทางท้ังหมด เป็นทางเด่ียวทาให้มีข้อจากัดในการเดินรถ รถจักร รถโดยสาร แคร่ ทรดุ โทรม ไม่เพยี งพอ ปัญหาระบบอาณัตสิ ัญญาณ ระบบการจัดการเดินรถยังค่อนข้างล้าสมัย ระบบการคมนาคมทางรางยังต้องพ่ึงพาเทคโนโลยีต่างประเทศ ปัญหาความปลอดภัยบริเวณจุดตัดทางรถไฟ เสมอระดับ การเช่ือมโยงสถานียังไม่สะดวก ทาให้การขนส่งคนและสินค้าในระบบรางยังอยู่ในวงจากัด เป็น อุปสรรคท่ีสาคัญในการเปลี่ยนรูปแบบการคมนาคมขนสง่ ท่ีรฐั บาลมุ่งหวังให้ระบบรางเป็นรูปแบบการคมนาคม ขนส่งหลักของประเทศ ในส่วนของสถานีรถไฟมีระยะห่างของสถานีไม่มากนัก เม่ือเทียบกับสถานีขนส่ง ผโู้ ดยสาร ซง่ึ เป็นจุดได้เปรียบที่สาคญั ในการให้บรกิ ารประชาชนตามแนวเสน้ ทางรถไฟ แต่การเช่ือมต่อระหว่าง เสน้ ทาง และสถานขี อระบบคมนาคมขนส่งรูปแบบอื่นยังคงมีไมเ่ พียงพอ สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร - 90 - สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ รัฐบาลลงทุนเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางรางภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 2,252,723.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 74.44 ของวงเงินทั้งหมด เม่ือพิจารณาถึงสัดส่วนของวงเงินลงทุนถือว่าสอดคล้องกับแผนในระดับนโยบายท่ี มุ่งหวังให้ประเทศปรับเปล่ียนจากการคมนาคมขนส่งทางถนนไปใช้การคมนาคมขนส่งประเภทอื่นให้มากขึ้น โดยกาหนดใหก้ ารคมนาคมขนสง่ ทางรางเป็นหลกั ในการขนสง่ สนิ ค้าและประชาชน จากวงเงินลงทุนดังกล่าว รัฐบาลได้มุ่งเน้นที่จะพัฒนาระบบรถไฟเป็นระบบรางคู่ในเส้นทางไปยัง ภูมิภาคในทุกภูมิภาค ซ่ึงมคี วามสอดคล้องกับสถานการณ์ สภาพปญั หาด้านคมนาคมขนสง่ ทางถนนในประเด็น ยำนพำหนะและเส้นทำงและโครงข่ำย ที่ในปัจจุบันทางรถไฟในประเทศส่วนใหญ่ยังเป็นระบบรางเดี่ยวและ สามารถรับน้าหนักบรรทุกได้น้อย เป็นสาเหตุให้ใช้เวลาในการคมนาคมขนส่งค่อนข้างมาก ส่งผลให้มีปริมาณ ความต้องการในการขนส่งคนและสินค้ายังมีจากัด นอกจากน้ันเป็นการใช้งบประมาณเพื่อก่อสร้างรถไฟ ความเร็วสูง และพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในจังหวัดศูนย์กลางของภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ระบบรางเข้า มามบี ทบาทต่อการคมนาคมขนสง่ มากขนึ้ ในอนาคต ในส่วนของประเด็น กำรกำกบั แลดูแลกำรขนส่งน้ัน ในปัจจุบนั ได้มีการจัดตั้งกรมการขนส่งทางรางซึ่ง จะต้องดาเนินการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการขนส่งทางราง มาตรฐานด้านความปลอดภัย มาตรฐานการ บารุงทาง มาตรฐานการประกอบกิจการ มาตรฐานผู้ประจาหน้าท่ี รวมทั้งกากับดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐาน ดังกล่าว และกากับดูแลการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานการขนส่งทางราง ให้ได้มาตรฐานและกากับดูแล เพอ่ื ใหก้ ารคมนาคมขนสง่ ทางรางเกิดประสทิ ธิภาพสงู สุดต่อไป อีกประเด็นที่รัฐบาลต้องให้ความสาคัญ คือ จะต้องส่งเสริมผู้ให้บริกำรหรือผู้ประกอบกำรขนส่งใน การอานวยความสะดวกเพ่ือลดทุนทุนการขนส่งทางราง เน่ืองจากการขนส่งสินค้าทางรถไฟน้ันไม่สามารถไปสู่ จุดหมายโดยตรง ต้องมีการเปล่ียนระบบ ซึ่งต้องใช้พื้นท่ี และอุปกรณ์ยกขน เป็นสาเหตุให้เสียเวลาและ ค่าใช้จ่ายเพื่อ เข้า-ออก ระบบ ซ่ึงอาจจะไม่คุมค้าเม่ือเปรียบเทียบกับการขนส่งทางถนน จึงมีความจาเป็นต้อง สร้างลานขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์เพ่ิมเติม จากปัจจุบันที่การรถไฟแห่งประเทศไทยมีอยู่ 4 แห่ง ท่ี จังหวัด ขอนแก่น จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ จังหวดั นคราชสมี า และจงั หวดั สุราษฎร์ธานี 5.1.3 กำรคมนำคมขนสง่ ทำงน้ำ การคมนาคมขนส่งทางน้าเป็นรูปแบบการขนส่งที่มีต้นทุนที่ต่าท่ีสุด แต่ปัจจุบันยังคงมีปริมาณการ คมนาคมขนส่งน้อย เน่ืองจากมีข้อจากัดด้านเส้นทางการขนส่งและการเช่ือมต่อกับการขนส่งรูปแบบอื่น นอกจากปัญหาด้านความรวดเร็วในการขนส่งแล้ว ยังมีปัญหาด้านกายภาพของเส้นทางขนส่ง เช่น ปัญหาร่อง นา้ ในด้านความลึก ความกว้าง ความโค้ง ปัญหาความสูงของสะพาน ปญั หาสิ่งแวดล้อม และปัญหาด้านสภาพ อากาศ ด้านปัญหาการเช่ือมต่อกับพื้นที่หลังท่า (hinterland) การขาดโครงข่ายเช่ือมหลังท่าที่ดีจะทาให้การ ขนส่งทางน้าไม่ดึงดูดผู้ใช้บริการ เน่ืองจากต้องเพิ่มต้นทุนค่าขนส่ง เช่น ค่ายกขนตู้สินค้าทับซ้อน (double handling cost) ในการขนถ่ายระหว่างรูปแบบขนส่ง (transshipment) เช่น ระหว่างเรือขนส่งสินค้าใน ประเทศกบั เรอื ระหวา่ งประเทศ และระหว่างเรือขนสง่ สนิ ค้ากับรถไฟหรอื รถบรรทกุ รัฐบาลลงทุนเพ่ือพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางน้าภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งเร่งด่วน (Action Plan) ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมท้ังสิน 39,975.54 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.32 ของวงเงนิ ทัง้ หมด เพ่ือดาเนินการพัฒนาเทยี บเรือชายฝ่งั แหลมฉบงั ท่าเรือเช่ือมชายฝง่ั ภาคตะวันออก-ตะวันตก กอ่ สร้างทา่ เรือแมน่ า้ เจา้ พระยา สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร - 91 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ เมอ่ื วเิ คราะห์แลว้ พบว่างบประมาณในการพัฒนาการขนส่งชายฝ่งั สว่ นใหญถ่ ูกใช้ในเรอื่ งของการพัฒนา ทา่ เรือขนส่งสินค้าหลัก การขุดลอกร่องน้าและการศึกษาเพื่อกอ่ สร้างทา่ เรอื แห่งใหม่ ซ่ึงยังไม่เพียงพอกับปัญหา ด้านโครงสร้างพ้ืนฐานที่สาคัญ คือ ท่าเรือชายฝ่ังมีที่ตั้งของท่าเรือไม่เหมาะสม ส่วนใหญ่มีร่องน้าเดินเรือลึก ประมาณ 4-5 เมตร ทาให้เรือที่เข้าเทียบท่าเรือมีขนาดไม่เกิน 28 เมตร เรือขนาดใหญ่ต้องรอช่วงน้าขึ้นสูงสุด เกิดการจราจรทค่ี ับคั่ง เกิดอบุ ัตเิ หตุไดง้ ่าย การใชเ้ รือขนาดเล็กขนถ่ายตอ่ ไปยังเรือขนาดใหญท่ ี่จอดทอดสมอรอ ด้านนอกทาให้เกิดการขนส่งสองต่อ (Double Handling) ท่าเรือขาดพ้ืนที่แนวหลังนาเข้า-ส่งออกสินค้าผ่าน ท่าเรอื ขาดนคิ มอตุ สาหกรรมรองรบั และการคมนาคมท่ีเชือ่ มต่อท่าเรือยงั ไม่เพียงพอ สาหรบั การคมนาคมขนส่งทางลานา้ ภายในประเทศนนั้ จากการศึกษาพบว่ามีปรมิ าณสินค้าที่ค่อนข้าง น้อย เน่ืองจากอุปสรรคทางกายภาพของลานา้ และส่ิงก่อสร้างที่สร้างขน้ึ อาทิ สะพาน ประตนู ้า ดังนน้ั เพื่อให้ สอดคล้องกับแผนด้านนโยบายด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ ท่ีมุ่งเน้นให้เปลี่ยนรูปแบบการขนส่งสินค้าทาง ถนนสกู่ ารขนสง่ ที่มีต้นทนุ ต่ากว่าทงั้ การขนสง่ ทางน้าและทางราง รัฐบาลจึงควรเร่งดาเนินการปรบั ปรุงกายภาพ ของลานา้ ท่าเรือ และการเชื่อมต่อกบั การคมนาคมขนสง่ ในรปู แบบอื่นให้สมบรู ณ์มากข้ึน 5.1.4 กำรคมนำคมขนสง่ ทำงอำกำศ ปัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางอากาศประสบปัญหาเรื่องความแออัดเช่นเดียวกับการขนส่งทางถนน เนื่องจากมีปริมาณผู้โดยสารหนาแน่นเกินขดี ความสามารถในการรองรับ โดยมปี ัจจัยท่ีสาคัญมาจากการเติบโต อย่างรวดเร็วของสายการบินต้นทนุ ต่า ทาให้ประสบปัญหาความคับค่งั และล่าช้าจากปริมาณการขนส่งทเ่ี พ่ิมข้ึน ในท่าอากาศยานขนาดใหญ่ ในขณะท่ีทา่ อากาศยานขนาดกลาง-เล็กยังใช้ประโยชน์ไมเ่ ต็มที่ โครงสร้างพ้ืนฐาน และสิ่งอานวยความสะดวกด้านการขนส่งทางอากาศและการบินไม่เพียงพอ ขาดการบูรณาการเช่ือมโยง ระหว่างสาขาการขนส่ง ๆ หรือระหว่างท่าอากาศยาน ทาให้การขนส่งสินค้าและการเดินทางล่าช้า ประสิทธิภาพต่าส่งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขัน และการเป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทางอากาศ ขาดการบูรณาการทั้งในส่วนยุทธศาสตร์และการดาเนินการของหน่วยงาน ทาให้การพัฒนาไม่ครบวงจร ล่าช้า ซา้ ซ้อน ไม่ต่อเนื่อง เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาด้านต่าง ๆ ขาดกลยุทธ์เชิงรุกเพ่ือดึงดูดความสนใจผู้ใช้บริการ ทาให้มีผู้ใช้บริการน้อยมีการใช้ประโยชน์ไม่เต็มท่ี กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ขั้นตอนต่าง ๆ ยังไม่เป็น มาตรฐานสากล เพิ่มข้ันตอน เปน็ อุปสรรค เกิดความไมส่ ะดวก ลา่ ช้า สร้างภาระและเพม่ิ ตน้ ทุนใหก้ ับธรุ กจิ การ ขนส่งทางอากาศและการบนิ รัฐบาลลงทุนเพื่อพัฒนาการคมนาคมขนส่งทางอากาศภายใต้แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่ง เร่งด่วน (Action Plan) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559-2561 โดยมีวงเงินรวมทั้งสิน 66,021.11 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.18 ของวงเงินทั้งหมด ดาเนินการเพ่ิมขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสารด้วยการ และศักยภาพการ ให้บริการการเดินอากาศของไทยเพื่อรองรับปริมาณเท่ียวบินทั่วประเทศเพ่ิมสูงข้ึน ด้วยการพัฒนาท่าอากาศ ยานหลัก ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ปรับปรุงท่าอากาศยานภูมิภาค 7 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานแม่สอด ท่าอากาศ ยานกระบี่ ท่าอากาศยานขอนแก่น และก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานเบตง ซ่ึงมีความ สอดคล้องกับ สถานการณ์ สภาพปัญหาด้านคมนาคมขนส่งทางอากาศในประเด็นยำนพำหนะ เส้นทำงและ โครงข่ำย และสถำนีขนสง่ ที่ปจั จุบนั การคมนาคมขนส่งทางอากาศประสบปัญหาเรอื่ งความแออัดเช่นเดียวกับ การขนสง่ ทางถนนเนือ่ งจากมปี ริมาณผ้โู ดยสารหนาแนน่ เกินขีดความสามารถในการรองรับ โดยมีปัจจัยทสี่ าคัญ มาจากการเติบโตอย่างรวดเร็วของสายการบินต้นทุนต่า ท่าอากาศยานที่ประสบปัญหาความแออัดท้ังในส่วน สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร - 92 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ ของทางว่ิง อาคารผู้โดยสาร และหลุมจอด ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานภูเก็ต อุดรธานี สุราษฎร์ธานี อุบลราชธานี กระบ่ี และขอนแก่น เป็นต้น ส่วนท่าอากาศยานท่ีกาลังจะประสบปัญหาแออัด ตามมาในอนาคต ได้แก่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงใหม่ อีกท้ังยังมีท่าอากาศยานที่มี จานวนผู้โดยสารกับความจุของท่าอากาศยานในภูมิภาค พบว่า มีท่าอากาศยานที่มีปริมาณผู้โดยสารมากว่า และใกลเ้ คยี งกับความจุของท่าอากาศยาน จานวน 2 ท่าอากาศยาน ได้แก่ ท่าอากาศยานนครศรธี รรมราช และ ท่าอากาศยานตรงั 5.2 ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาสถานการณ์และปัญหาด้านการคมนาคมขนสง่ แต่ละรปู แบบของประเทศ พบวา่ ปัจจบุ ัน มเี พียงโครงข่ายถนนท่ีมีเส้นทางครอบคลุมท้ังประเทศ ทาใหก้ ารขนส่งคน สินค้า รวมไปถึงความต้องการความ เชื่อมโยงระหว่างพื้นท่ียังคงใช้การคมนาคมขนส่งทางถนนเป็นหลัก โดยมีปริมาณการคมนาคมขนส่งท่ีเพ่ิมข้ึน เร่ือย ๆ ในขณะการเพิ่มพื้นที่ของถนนจากโครงการที่ภาครัฐลงทุนไปไม่เพียงพอ ทาให้เกิดปัญหาการจราจร ติดขดั และอุบัติเหตทุ างถนนอย่างรนุ แรง ส่งผลเสียต่อเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม เปน็ อย่างมาก นโยบายและการจัดสรรงบประมาณเพื่อลงทุนด้านคมนาคมขนส่งจึงมุ่งเน้นในการพัฒนาระบบ คมนาคมขนส่งรูปแบบอน่ื ๆ เพ่ือลดปริมาณการคมนาคมขนส่งทางถนน ใหเ้ ปล่ียนไปใช้การคมนาคมขนส่งที่มี ต้นทุนการขนส่งต่ากว่า ไม่ว่าจะเป็น ราง น้า และอากาศ โดยท่ีผ่านมารัฐบาลได้เร่งพัฒนาทางกายภาพ เช่น การพัฒนาเส้นทางและโครงข่าย สถานกี ารขนสง่ เพ่ือตอบสนองความต้องการคมนาคมขนส่งในทุกรปู แบบ ซ่งึ จะช่วยแก้ไข บรรเทาปัญหาไดใ้ นระดบั หน่ึง แตก่ ารจะแก้ไขปญั หาการคมนาคมขนส่งได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นั้น จาเป็นต้องมีการใช้วิธีบริหารจัดการ การกากับแลดูแลการขนส่ง การสนับสนุนผู้ให้บริการหรือ ผู้ประกอบการขนส่ง การเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งแต่ละรูปแบบ การบริหารจัดการความต้องการคมนาคม ขนส่ง รวมไปถึงการปรับปรุงพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ ให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน สานักงบประมาณของ รัฐสภาจงึ มขี ้อเสนอแนะในการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของประเทศ โดยนาหลกั การ ของงบประมาณที่ดี ซึ่งประกอบด้วย 1) หลักคาดการณ์ไกล (Foresight) 2) หลักประชาธิปไตย (Democracy) 3) หลักดุลยภาพ (Balance) 4) หลักอรรถประโยชน์ (Utility) และ5) หลักความยุติธรรม (Equity) โดยสรุปได้ ดงั นี้ กำรคมนำคมขนสง่ ทำงถนน 1. เร่งพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมืองและระหว่างเมืองให้ครอบคลุมและเช่ือมโยง กันอย่างเป็นระบบไม่ว่าจะเป็นการเช่ือมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity) การเชื่อมโยงตารางเวลา เดินทาง (Schedule Connectivity) และการเชื่อมโยงค่าโดยสาร (Fare Connectivity) เพ่ือเพ่ิมสัดส่วนการ ใช้ระบบขนส่งสาธารณะของประชาชนให้สงู ขน้ึ 2. วางแผนควบคุมการขยายตวั ของเมืองอย่างเป็นระบบ เน่ืองจากในปัจจบุ ันเกิดปัญหาการกระจุกตัว ของเมืองขนาดใหญ่ต่าง ๆ ในภูมิภาค ที่ยังคงมีแนวโน้มการขยายตัวที่กระจุกอยู่ในเมืองเดิมเหล่าน้ันมากขึ้น เรื่อย ๆ ซ่ึงเม่ือปัจจัยสาคัญส่วนหน่ึงเป็นเพราะความจาเป็นต่อความต้องการความเช่ือมโยงและการคมนาคม ขนส่งระหว่างกัน ซึ่งปัจจุบันมีเพียงระบบโครงข่ายถนนเป็นทางเลือกหลัก ดังน้ัน การแก้ปัญหาจึงต้องเริ่มที่ใช้ การคมนาคมขนส่งเป็นเคร่ืองมือในการกระจายการพัฒนาเช่ือมโยงไปสู่พ้ืนท่ีอ่ืน ๆ ในภูมิภาค รวมถึงพ้ืนที่ สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร - 93 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพัฒนำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ ชายแดนโดยรอบประตูการค้าหลัก ควบคู่ไปกับการวางแผนเพื่อควบคุมและชี้นาการพัฒนาพื้นท่ีอย่างเป็น ระบบ 3. เข้มงวดในการกากับ บังคับใช้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการจราจรและการคมนาคมขนส่งทางถนน เพ่ือแก้ไขปัญหาอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางถนนท่ีสูง และมีความรุนแรงในระดับวิกฤติและต่อเน่ือง เนื่องจาก สาเหตุในการเกิดอุบัติเหตุมากที่สุด คือ ขับรถเร็วเกินกาหนดคิดเป็นร้อยละ 64.43 คนหรือรถตัดหน้ากระช้ัน ชิดร้อยละ 12.09 และมีการหลับในร้อยละ 7.88 ซึ่งล้วนเกิดจากปัญหาด้านวินัยจราจรมากกว่าปัญหาด้าน กายภาพของเสน้ ทาง 4. เนื่องจากปัจจุบันมีระบบโครงข่ายทางหลวงครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีและได้มาตรฐานระดับหนึ่งแล้ว แต่ ปัญหาการจราจรตดิ ขดั และปัญหาอุบัติเหตทุ างถนน ยงั คงมเี กิดข้นึ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการพัฒนาโครงข่ายทาง หลวงในอนาคต จึงไม่ควรมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้างทางหลวงเพิ่มข้ึนอย่างไร้ข้อจากัด แต่ควรมุ่งเน้นที่การแก้ไข ปัญหาจราจรท่ีจุดสาคัญ อาทิ การแก้ปัญหาจุดตัดทางหลวงกลับทางรถไฟ การก่อสร้างจุดกลับรถ การติดต้ัง สญั ญาณไฟจราจรในจดุ ท่ีจาเป็น การปรับปรุงพ้ืนผิวจราจร รวมถงึ การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่าง เมืองเพื่อเพม่ิ ความคล่องตัวในการเดนิ ทางและเปน็ ทางเลอื กในการเดินทางให้กับประชาชน 5. ต้องมีการปรับปรุงรักษาโครงข่ายให้อยู่ในสภาพท่ีดี มีสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือรองรับการเดิน ทางผ่านเขา้ ออกระหวา่ งเพ่ือนบ้าน พร้อมทงั้ ยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั ใหอ้ ยใู่ นระดับสากลมากขึ้น และ สาหรับการพัฒนาเพ่ิมเติมโครงข่ายถนนข้ึนใหม่ในอนาคต จาเป็นต้องมีการบูรณาการเพ่ือให้เกิดการเดินทาง ของคนและการขนส่งสินค้าต่อเน่ืองหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการเชื่อมต่อระหว่างโครงข่ายถนนและโครงข่าย ราง 6. เร่งพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนการคมนาคมขนส่งทางถนน อาทิ สถานีขนส่งสินค้า ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า ศูนย์เปล่ียนถ่ายการขนส่ง จุดพักรถบรรทุก บนโครงข่ายทางหลวงสายหลัก รวมไปถึงการพัฒนาการเข้าถึงสถานขี นส่งผู้โดยสาร (Accessibility) โดยเฉพาะในรัศมี 40 กิโลเมตรจากสถานี ซ่งึ จะตอ้ งพิจารณาทง้ั ในเร่อื งของการพัฒนาถนนและการใหบ้ ริการระบบขนส่งสาธารณะในระดบั พนื้ ท่ี 7. บริหารจัดการความต้องการคมนาคมขนส่ง โดยการนามาตรการบริหารจัดการความต้องการ เดนิ ทาง (TDM) มาบังคบั ใช้ในเมอื งใหญ่ทมี่ ีปญั หาการจราจรหนาแนน่ กำรคมนำคมขนส่งทำงรำง 1. พัฒนาความเชื่อมโยงของเมืองควรได้รับการพิจารณาในเชิง “รูปแบบการคมนาคมขนส่ง (Mode of Transport)” เพิ่มเติม ตามข้อเสนอแนะของสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร เพ่ือการเพ่ิม ประสิทธิภาพ ความคล่องตัว ลดต้นทุนและประหยัดพลังงาน โดยเฉพาะการคมนาคมขนส่งระบบราง (รถไฟ) เพื่อเช่ือมโยงระหว่างเมืองหลัก หรือระหว่างเมืองหลักกับกรุงเทพมหานคร หรือการเชื่อมโยงสู่ประตูการค้า สาคัญ โดยแนวเส้นทางการขนส่งระบบราง (รถไฟ) ที่เสนอแนะเพื่อเชื่อมโยงระบบเมืองในการศึกษา ซ่ึงมี จานวน 7 แนวเสน้ ทาง (Alignment Design) ไดแ้ ก่ 1) กรุงเทพมหานคร-นครสวรรค์-เชยี งใหม-่ เชยี งราย (เชียงของ) 2) กรุงเทพมหานคร-จังหวดั นครราชสมี า-ขอนแกน่ -อดุ รธานี-หนองคาย 3) นครราชสีมา-อุบลราชธานี 4) กรงุ เทพมหานคร-ประจวบครี ขี ันธ์ (หวั หนิ )-สรุ าษฏร์ธานี-สงขลา (ปาดังเบซาร)์ 5) กรงุ เทพมหานคร-ชลบรุ ี (พัทยา)-ระยอง สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร - 94 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ 6) เส้นทางเชือ่ มโยงสู่ดา่ นแมส่ อด จังหวัดตาก 7) เส้นทางเช่อื มโยงสดู่ า่ นคลองลกึ จังหวดั สระแกว้ (อรัญประเทศ) 2. ประเทศไทยมุง่ หวังใหก้ ารคมนาคมขนส่งทางรางเป็นรูปแบบหลักในการคมนาคมขนส่งของประเทศ แต่ในปัจจุบันมีประชาชนที่เข้าถึงรัศมีการใหบ้ ริการของสถานีรถไฟยังน้อยกว่าสถานีรถโดยสารประจาทางเม่ือ เปรยี บเทียบในรศั มีท่ีเทา่ กัน ดังน้ันจงึ ควรพัฒนาการเข้าถึงสถานีขนส่งผโู้ ดยสาร (Accessibility) โดยเฉพาะใน รัศมี 40 กิโลเมตรจากสถานีรถไฟ ซึ่งจะต้องพิจารณาทั้งในเรื่องของการพัฒนาถนน การกาหนดเส้นทาง และ ท่ตี ้ังของสถานรี ถไฟ 3. เร่งพัฒนารถไฟทางคู่ที่ยังล่าช้ากว่าแผนท้ังในส่วนของข้ันตอนก่อนการอนุมัติดาเนินการก่อสร้าง และขนั้ ตอนการกอ่ สร้าง 4. จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเพื่อเพ่ิมความสามารถในการเข้าถึง สถานรี ถไฟฟ้า 5. ส่งเสรมิ พัฒนาการเปล่ียนระบบการขนส่งสินค้าออกจากระบบราง ซ่ึงจะส่งผลในการลดต้นทุนการ ขนสง่ ทางรางของผู้ประกอบการ เพื่อสรา้ งแรงจูงใจในการใช้ระบบคมนาคมทางรางในการขนสง่ สินค้ามากข้ึน กำรคมนำคมขนสง่ ทำงน้ำ 1. ปรับปรงุ กายภาพของลานา้ ในประเทศ เพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการขนส่งทางน้าที่ต้นทุนต่า 2. พิจารณาท่ีต้ังท่าเรือชายฝั่งให้เหมาะสม รวมไปถึงการพัฒนาพ้ืนที่แนวหลัง นาเข้า-ส่งออกสินค้า ผา่ นทา่ เรือ 3. พัฒนาการคมนาคมขนส่งเชื่อมต่อท่าเรือ พิจารณาการตั้งนิคมอุตสาหกรรมให้สอดคล้องและ สนับสนุนกนั ในเชิงพ้ืนทีก่ ับท่าเรอื 4. เร่งพัฒนาบุคลากรดา้ นการกากับดูแลการขนสง่ ทางน้า 5. ในปัจจุบันท่าเรือขนส่งสินค้าที่มีอยู่มีพื้นที่ไม่สอดคล้องกับอุปสงค์ ควรดาเนินการเร่งขยายขีด ความสามารถในการรองรับสินค้าท่าเรือท่ีมีปริมาณเข้า-ออก สินค้า เต็มความจุ และควรมีมาตรการจูงใจเพื่อ เพิ่มปริมาณสินค้าในท่าเรือที่มีอุปสงค์ต่ากว่าความสามารถในการรองรับสินค้า เพ่ือให้งบประมาณที่ลงทุนไป เปน็ ไปถูกใช้ประโยชน์ไดเ้ ต็มประสทิ ธิภาพ กำรคมนำคมขนส่งทำงอำกำศ 1. พัฒนาขีดความสามารถในการรองรบั ผู้โดยสารในทา่ อากาศยานท่มี ผี ูโ้ ดยสารเต็มความจุเพิ่มเติมจาก ทีร่ ัฐบาลไดด้ าเนนิ การไปแลว้ เช่น ท่าอากาศยานอุดรธานี สรุ าษฎร์ธานี อบุ ลราชธานี ตรัง และนครศรธี รรมราช 2. เร่งจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งทางอากาศ โดยมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานเพื่อ ขบั เคลอ่ื นนโยบาย กาหนดเป้าหมายจากการกาหนดนโยบายใหช้ ัดเจน มกี ารติดตามและประเมินผลนโยบายท่ี สาคัญ 3. พัฒนาความสามารถในการเข้าถึงท่าอากาศยานของประชาชน กาหนดมาตรการจูงใจในการขนส่ง ในท่าอากาศยานที่ยังมีผู้โดยสาร การขนส่งสินค้า และสายการบิน ท่ีต่ากว่าความสามารถในการรองรับของ ทา่ อากาศยาน สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร - 95 - สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ บรรณำนุกรม กระทรวงคมนาคม. (2557). ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558- 2565. กรงุ เทพฯ. กระทรวงคมนาคม. (2559). แผนยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2560-2564. กรงุ เทพฯ. กระทรวงคมนาคม. (2561). ผลงาน 4 ปี กระทรวงคมนาคม เพื่อความสขุ ของคนไทยทุกคน. กรงุ เทพฯ กรมทางหลวง. (2561). รายงานการวิเคราะห์คานวณดัชนีการจราจรติดขัดและความหนาแน่นการจราจร ปี 2560. กรงุ เทพฯ. กรมทางหลวง. (2562). รายงานการวิเคราะห์คานวณดัชนีการจราจรติดขัดและความหนาแน่นการจราจร ปี 2561. กรุงเทพฯ. กอบกุล โมทนา. (2559). ยุทธศาสตร์และแผนพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558- 2565.รฏั ฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปที ี่ 58 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559. กรงุ เทพฯ จิตติชัย รุจนกนกนาฏ. (2561). ระบบการขนส่ง (TRANSPORTATION SYSTEM). กรุงเทพฯ: สถาบันการ ขนสง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั วิทยา ยามว่ ง. (2559).แผนยุทธศาสตร์การพฒั นากองเรอื พาณิชย์ไทย. กระทรวงคมนาคม. กรุงเทพฯ. วไิ ลรตั น์ ศริ ิโสภณศลิ ป.์ (2561). การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานด้านคมนาคม: เอกสารประกอบการสัมมนารับฟัง ความเห็น Market Sounding คร้งั ท่ี 2 โครงการศึกษาทบทวนความเหมาะสมดา้ นวิศวกรรม เศรษฐกจิ การเงิน และส่ิงแวดลอ้ มโครงการทา่ เรือแหลมฉบัง ขน้ั ท่ี 3. สานักงานนโยบายและแผนการขนสง่ และ จราจร. กรงุ เทพฯ. สถาบันวิจัยเพ่ือพัฒนาประเทศไทย. (2556). การใช้ประโยชน์จากระบบรถไฟท่ีเชื่อมโยงประเทศเพ่ือนบ้าน เพ่ือให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการท่องเท่ียวของภูมิภาค. รายงานทีดีอาร์ไอ ฉบับที่ 96 เดือนตลุ าคม 2556. กรุงเทพฯ. สุนันทา เจริญปัญญาย่ิง. (2559). นโยบายภาครัฐและกฎหมายที่มีผลต่อการขนส่งชายฝั่งของไทย. สถาบัน ขนสง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. กรงุ เทพฯ. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558).การลงทุนเพ่ือวางอนาคตประเทศ ไทย.วารสารเศรษฐกิจและสงั คม ปีที่ 52 ฉบับที่ 2 เมษายน-มถิ นุ ายน 2558. กรุงเทพฯ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ โลจสิ ติกส์ของประเทศไทย ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ. สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร - 96 - สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทำงกำรพฒั นำระบบคมนำคมขนส่งของประเทศ บรรณำนกุ รม (ตอ่ ) สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2557). โครงการศึกษาการพัฒนาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ระบบการขนส่งสินค้าต่อเน่ืองหลายรูปแบบเชื่อมโยงกับเขตพื้นท่ีฐานการผลิตหลักของประเทศ . กรุงเทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2558).รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) การศึกษา จดั ทาโครงการบริหารจัดการความต้องการในการเดินทาง (Demand Management) เพื่อรองรับการ พัฒนาโครงข่ายการจราจรและระบบขนส่งสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2558). แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2559 (Action Plan) เพอ่ื ขับเคลอื่ นการลงทุนดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐานของประเทศ. กรุงเทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2559). แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2560 (Action Plan) เพื่อขบั เคลื่อนการลงทุนด้านโครงสรา้ งพื้นฐานของประเทศ. กรงุ เทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2560). แผนปฏิบัติการด้านคมนาคมขนส่งระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2561 (Action Plan) เพอ่ื ขับเคลือ่ นการลงทุนดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐานของประเทศ. กรุงเทพฯ. สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร - 97 - สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113