แบบนาเสนอนวตั กรรมการพฒั นาการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) ระดับ ประถมศึกษา เรอื่ ง การจดั การเรียนการสอนรายวิชาวิทยาการคานวณ ผา่ นสื่อออนไลน์ google Site นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบา้ นโขง้ ตาแหน่งครู อนั ดับ คศ.1 โรงเรยี นวัดมาบมะขาม สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก. คานา นวัตกรรมการจดั การเรียนการสอน เรื่อง “การจัดการเรียนการสอนรายวชิ าวทิ ยาการคานวณผา่ นสือ่ ออนไลน์ google Site” เป็นนวตั กรรมทีค่ ดิ คน้ และพัฒนาขนึ้ เพ่อื ใช้แก้ปญั หาการจดั การเรยี นการสอนในช่วงสถานการณไ์ วรัสโคโรนา ซ่ึงจากการดาเนนิ การอยา่ งต่อเน่ืองในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ สามารถแกป้ ญั หาการจัดการเรยี นการสอนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เป็นที่นา่ พอใจ ซึง่ การจดั ทารายงานนวตั กรรมเลม่ นี้ รายงานตามรูปแบบของกลมุ่ นิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษา นครสวรรค์ เขต ๒ ขอขอบคุณ ผู้บริหาร และบุคลากรโรงเรียนวดั มาบมะขาม และผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องทุกท่าน ทใี่ ห้ความร่วมมือในการ ขับเคลอ่ื นนวัตกรรมจนประสบความสาเร็จ หวังเป็นอยา่ งยิ่งว่านวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง “การจดั การเรียนการสอน รายวชิ าวิทยาการคานวณผา่ นสือ่ ออนไลน์ google Site” จะเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นและหน่วยงานหรือผทู้ ่สี นใจในการนาไป ประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือแกป้ ัญหาการจดั การเรยี นการสอนในช่วงสถานการณ์ไวรสั โคโรนา และด้านอื่นๆ ในโอกาสต่อไป อรอนงค์ ฆอ้ งบ้านโข้ง ผู้จัดทา
ข. สารบญั หน้า ๑ เร่ือง ๑ ชื่อเร่ือง ๔ ๑.ความสาคัญและท่มี าของผลงานนวตั กรรม ๔ ๒.จุดประสงคแ์ ละเป้าหมายของผลงานนวัตกรรม ๘ ๓.กระบวนการหรือข้นั ตอนการผลติ ผลงานหรือนวัตกรรม ๑๐ ๔.ผลการดาเนินงานและประโยชน์ที่ได้รบั จากผลงานหรือนวัตกรรม ๑๐ ๕.ปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินงานผลงานหรือนวตั กรรม ๑๐ ๖.บทเรยี นที่ได้รบั (Lesson Learned) จากการใช้ผลงานหรือนวตั กรรม ๑1 ๗.การเผยแพรก่ ารใชผ้ ลงานหรือนวัตกรรม ภาคผนวกทเ่ี ก่ยี วข้องกับผลงานหรือนวตั กรรม
๑ แบบนาเสนอนวัตกรรมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ระดับ ประถมศึกษา ช่อื ผลงาน การจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าวิทยาการคานวณ ผา่ นส่ือออนไลน์ google Site ชอื่ ผนู้ าเสนอผลงาน นางสาวอรอนงค์ ฆอ้ งบา้ นโข้ง ตาแหนง่ ครู อันดบั คศ.๑ โรงเรยี นวัดมาบมะขาม สงั กดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ โทรศัพท์ 0๙๐-๑๔๘๓๗๗๐ E-mail [email protected] 1. ความเป็นมาและความสาคญั 1.๑ เหตุผล ความจาเปน็ ปัญหาหรือความต้องการทจ่ี ัดทาผลงานนวตั กรรม สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาดในวง กว้าง องค์การอนามัยโลก ได้ประเมนิ สถานการณ์และประกาศให้โรค COVID-19 เปน็ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข ระหว่างประเทศ โดยแนะนาใหท้ ุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและ ป้องกนั ความเสยี่ งจากเชือ้ COVID-19 ซึง่ สถาน ศกึ ษาเป็นสถานท่ีท่มี ีนักเรียนอยรู่ วมกนั จานวนมาก มักจะมคี วามเสย่ี งสูง หากมรี ะบบการจดั การท่ีไมด่ ี อาจจะมีการ แพร่ระบาดของเช้อื COVID-19 ไดใ้ นกลมุ่ เด็ก เนอื่ งจากพบว่าการตดิ เช้ือ COVID-19 สว่ นใหญ่จะไม่คอ่ ยมีอาการ หรือมีอาการแสดง ค่อนขา้ งน้อย ความรุนแรงจะนอ้ ยมาก อาจทาให้การแพรร่ ะบาดเกดิ ขน้ึ ได้อย่างรวดเรว็ ( Super- spread) ไปยงั บุคคลในบ้าน หากมีการระบาดในกลมุ่ นักเรียนขึ้น จะมผี ลกระทบในสงั คมหรือผใู้ กลช้ ดิ เช่น ครู พ่อแม่ ผสู้ ูงอายุ ที่ตดิ เชอื้ จากเด็ก ดังนัน้ หากมีการเปิดเรยี น มโี อกาสสูงทจ่ี ะเกดิ การติดเช้ือ ในกลุ่มเด็กเพ่ิมมากขึน้ ซึ่งเดก็ เปน็ กล่มุ ท่ีต้องได้รบั การดูแลและระมดั ระวังในการกระจายเช้ือเปน็ อยา่ งมาก มาตรการในการเปิดเทอมจงึ มีความ สาคญั มากในการควบคุมการระบาด การวางแผนในการจดั การเรยี นการสอนในเทอมน้ีจึงต้องม่นั ใจวา่ สามารถควบคมุ ไมใ่ ห้เกิดการระบาดของโรคได้ ทา่ นผู้อานวยการและคณะครูโรงเรยี นวดั มาบมะขามได้ตระหนกั ถึงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ท่ยี งั ไมค่ ลี่คลายลง และในจังหวัดนครสวรรคก์ พ็ ้นื ท่สี ีแดงเข้มที่ต้องควบคุมสงู สดุ จงึ ต้องให้ ความสาคัญในการดแู ลนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงได้จัดทาแนวทางการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา 256๔ เปน็ แบบ On-hand และ On–Demand เพื่อใหโ้ รงเรียนใช้เปน็ แนวทาง ในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ พร้อมกบั เตรยี มมาตรการตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกนั ไม่ให้ผเู้ รียนได้รับผลกระทบจากรูปแบบการเรียนที่เปลี่ยนไปจงึ เป็นทม่ี า ของการจัดการเรยี นการสอนผา่ นส่ือออนไลน์ ด้วย Google site น้ีจดั ทาข้ึน เพื่อใหผ้ เู้ รียนเข้ามามีส่วนรว่ มในการจัด กจิ กรรมในชัน้ เรยี น รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ซ่งึ เป็นสง่ิ สาคัญในการท่จี ะช่วยยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาใหด้ ี ยิง่ ขนึ้
๒ ๑.๒ แนวคิดหลักการสาคัญท่ีเกย่ี วขอ้ งกับผลงานหรือนวัตกรรม 1.2.1 เวบ็ ไซต์บรกิ าร google site google Site เปน็ แอปพลิเคช่นั ออนไลนท์ ีท่ าให้การสรา้ งเว็บไซต์กลายเป็นเรอ่ื งงา่ ย เหมือนแก้ไข เอกสาร เม่ือใช้ google Site ผคู้ นสามารถรวบรวมข้อมูลที่หลากหลายไวใ้ นท่เี ดยี วได้ อย่างรวดเรว็ ได้แกว่ ีดีโอ ปฏทิ นิ งานนาเสนอ ไฟล์แนบ ข้อความ และสามารถใช้งานร่วมกับ กลุ่มเล็กๆท้ังองค์กรหรือท้งั โลกเพื่อดูหรือแก้ไขได้อย่าง งา่ ยดาย Google site สามารถใชเ้ ป็นชอ่ งทางในจดั การเรียนการสอนของครู โดยเฉพาะครูผ้สู อนที่ไม่เชยี่ วชาญในด้าน เทคโนโลยีการส่อื สาร โดยเว็บไซตท์ ี่สร้างดว้ ย Google site เป็นเว็บไซตอ์ ย่างง่าย ไม่สลบั ซบั ซ้อน ครผู ู้สอนสามารถ เรียนรู้ใช้งานได้ไม่ยาก อีกทัง้ ครูยังสามารถตรวจผลงานของนักเรียนได้อยา่ งรวดเรว็ ทันใจ การนาเสนอเนื้อหาใน รายวชิ าตา่ ง ๆ เป็นไปไดง้ ่าย ซง่ึ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ ได้พัฒนาไปอย่างรวดเรว็ จากกระแสท่ี มาแรงทาให้หลาย ประเทศทั่วโลกต่างเขา้ สูก่ ารเปลย่ี นแปลงทมี่ กี ารนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาร่วมพฒั นา กจิ กรรม ต่างๆ ของประเทศ ณ วันน้ีเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ โดยเฉพาะบริการ WWW (World Wide Web) ได้ ก้าวมาเปน็ เครื่องมือชิน้ สาคัญในการเปล่ียนแปลงรปู แบบการเรียนการสอนการฝึกอบรม รวมถึงการ ถ่ายทอด วชิ าความรู้ นับเปน็ การเพิ่มชอ่ งทางในการติดตอ่ สื่อสารระหว่างผสู้ อนและผูเ้ รยี นมากย่งิ ขึน้ โปรแกรม Google Site เปน็ หนง่ึ ใน Google Apps for Education ทีถ่ กู พัฒนาขึ้นมาเพื่อสนับ สนบั สนนุ การเรียนการสอน โดยอาศยั คณุ สมบัตแิ ละทรัพยากรของเวิลด์ไวดเ์ วบ็ มาเป็นสอ่ื กลางใน การถ่ายทอดในลักษณะของบทเรียนออนไลน์สามารถ เช่อื มโยงเนือ้ หา และแหลง่ ความรู้ต่างๆ ให้ผเู้ รียนสามารถเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มลู ได้ง่ายย่งิ ขึ้น มบี ริการรปู แบบต่างๆ ทส่ี ามารถเอ้ือประโยชน์ ในการนามาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน 1.2.2 วงจรคณุ ภาพ PDCA วงจรคุณภาพ PDCA วงจรบรหิ ารสี่ข้ันตอนทปี่ ระกอบไปดว้ ย Plan (การวางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) และ Action (การดาเนินการ) วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพใชใ้ นการ ควบคมุ และพฒั นากระบวนการ PDCA ทัง้ ส่ขี ัน้ ตอนเป็น กระบวนการทส่ี ามารถทาซ้าได้ เพ่ือให้ สถานศึกษาสามารถบริหารความเปลย่ี นแปลงได้อย่างประสบความสาเร็จ วงจรการควบคมุ คณุ ภาพมี รายละเอียด ดงั นี้ Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผนการดาเนนิ งานอยา่ งรอบคอบ ครอบคลมุ ถงึ การ กาหนด หัวข้อทตี่ ้องการปรับปรุงเปล่ยี นแปลง ซ่งึ รวมถงึ การพฒั นาสิ่งใหม่ๆ การแกป้ ัญหาทเี่ กิดขึน้ จากการปฏบิ ตั ิงาน อาจประกอบด้วย การกาหนดเปา้ หมายหรอื วัตถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งาน การจัดอันดับความสาคญั ของเป้าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนนิ งาน กาหนดผูร้ ับผิดชอบหรือผ้ดู าเนินการและกาหนดงบประมาณ ท่จี ะใช้ การเขยี นแผนดังกล่าวอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะการดาเนนิ งาน การวางแผนยังชว่ ย ใหเ้ ราสามารถคาดการณส์ ่งิ ที่เกิดขน้ึ ในอนาคต และช่วยลดความสญู เสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ Do (ปฏิบตั ิตามแผน) หมายถงึ การดาเนนิ การตามแผน อาจประกอบดว้ ยการมีโครงสรา้ งรองรบั การดาเนนิ การ มวี ิธกี ารดาเนินการและมผี ลของการดาเนินการ
๓ Check (ตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน) หมายถงึ การประเมนิ แผน อาจประกอบด้วยการประเมิน โครงสร้างที่รองรบั การดาเนินการ การประเมินข้ันตอนการดาเนนิ งาน และการประเมนิ ผล ของการดาเนินงานตาม แผนท่ไี ด้ตง้ั ไว้ โดยในการประเมินดังกลา่ วสามารถทาไดเ้ อง โดย คณะกรรมการท่ีรบั ผิดชอบแผนการดาเนนิ งานนน้ั ๆ ซึง่ เป็นลกั ษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชดุ มาประเมนิ แผน หรือไมจ่ าเป็นต้องคิด เครอ่ื งมือหรือแบบประเมนิ ท่ียงุ่ ยากซบั ซ้อน Act (ปรบั ปรุงแก้ไข) หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบดว้ ยการนาผลการ ประเมนิ มาวเิ คราะหว์ ่ามโี ครงสร้าง หรือข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานใดที่ควรปรับปรงุ หรือพฒั นาสิ่งทดี่ ีอยูแ่ ลว้ ใหด้ ียิ่งขนึ้ ไปอีก และสังเคราะหร์ ูปแบบ การดาเนินการใหม่ทีเ่ หมาะสม สาหรับการ ดาเนนิ การในปตี อ่ ไป ดังน้ันในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การจัดการเรียนการสอน ตอ้ งเป็นไปอย่างตอ่ เนื่องเพื่อเปน็ การกระตนุ้ การเรียนรู้ของผเู้ รยี นทง้ั ในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียน ครผู สู้ อนจึงใช้ วธิ ีการจดั การเรียนการสอนผ่านสอ่ื ออนไลน์ Google Site ท่ีสามารถบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยมี าสนับสนนุ การ จดั การเรียนการสอน ซึ่งแนวคดิ นจี้ งึ เกดิ เปน็ นวัตกรรมน้ีข้ึนมา และใชว้ งจรตรวจสอบคุณภาพ PDCA มาพัฒนา คณุ ภาพของ งานให้มปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซ่ึงจะชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาการเรียนให้มีประสิทธภิ าพ มากขึน้ อกี ทง้ั เหมาะสมกับการจดั การเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21 และการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 กรอบแนวคิดการวิจยั ตัวแปรตาม ตวั แปรต้น - ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น การจัดการเรียนการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์ ในรายวิชาวทิ ยาการคานวณ Google Site รายวิชาวทิ ยาการคานวณ สาหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ ในชว่ งสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ในช่วงสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา - ความพงึ พอใจในการจดั การเรยี นการสอน ผา่ นสอ่ื ออนไลน์เวบ็ ไซต์ Google Site
4 2. วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนนิ งาน 2.1 จุดประสงค์ 2.1.1 เพ่อื สร้างและใช้วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอ่ื ออนไลน์ Google Site รายวิชาวทิ ยาการคานวณ สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในช่วงสถานการณ์โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2.1.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียนในรายวิชาวทิ ยาการคานวณ สาหรับนกั เรยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในช่วงสถานการณโ์ รคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2.1.3 เพื่อประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั การเรยี นการสอนผา่ นสือ่ ออนไลน์ Google Site 2.2 เปา้ หมาย 2.2.1 การจัดการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ Google Site รายวชิ าวทิ ยาการคานวณ สาหรบั นกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ในช่วง สถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ทีส่ ามารถบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยีมาสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการพฒั นาการเรียนให้มปี ระสิทธิภาพทั้งในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น 2.2.2 นักเรียนกลุม่ ตวั อย่างในระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ จานวน 17 คน โรงเรียนวดั มาบมะขาม สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ ปกี ารศึกษา 256๔ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชา วทิ ยาการคานวณสงู ข้นึ 2.2.3 นกั เรยี นและผู้ปกครองมคี วามพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนผ่านสอ่ื ออนไลน์ Google Site รอ้ ยละ 80 3. ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน โรงเรียนวัดมาบมะขาม เป็นโรงเรียนขนาดกลาง นักเรียนมีระดบั ผลการเรียนปานกลาง บรบิ ทสภาพครอบครวั ยากจน ขาดแคลน และสว่ นใหญ่อาศัยอยกู่ บั ตา ยาย และญาตพิ น่ี ้อง นักเรยี นส่วนใหญ่สามารถอา่ นออกเขียนได้ ตามวยั และพัฒนาการ นกั เรยี นบางสว่ นท่ีมปี ัญหาในการดา้ นการเรยี นหรือมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ทางโรงเรียน จะใหก้ ารชว่ ยเหลือเพื่อให้มพี ัฒนาการตามวัยอย่างใกล้ชดิ ตามหลักการของระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนและในชว่ ง สถานการณ์โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนาน้ัน นอกจากจะไดเ้ รยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทยี มแล้ว นักเรียนยงั ได้เรยี นรผู้ ่านการ จดั การเรียนการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์ Google Site ซง่ึ ไดท้ ั้งความร้แู ละไดท้ บทวนความรู้นกั เรียนทกุ คนตอ้ งไดเ้ รียนรู้ อยา่ งทั่วถึงและนักเรยี นสามารถเข้าเรียนผา่ นสือ่ ออนไลน์ Google Site ไดต้ ลอดเวลาอีกดว้ ย โดยมีกระบวนการผลิต นวัตกรรมในชว่ ง สถานการณ์โรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาดังนี้ 3.1 กลุ่มตัวอย่าง นกั เรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนวดั มาบมะขาม ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 256๔ จานวนนักเรยี น 17 คน 3.2 เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการสร้างผลงานนวตั กรรม เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการสรา้ งผลงานนวัตกรรมครั้งน้ี ประกอบด้วย 1. สอ่ื ออนไลน์เวบ็ ไซต์ Google Site รายวิชาวทิ ยาการคานวณ 2. ใบความรู้การจดั การเรยี นการสอนในแต่ละชั่วโมง 3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรยี นและผปู้ กครองในการใช้นวตั กรรม 4. ใบงานการจดั การเรยี นการสอนในแตล่ ะช่วั โมง ดังรายละเอียดดังต่อไปน้ี
ตารางที่ 1 การจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าวิทยาการคานวณ ในแตล่ ะช่ัวโมง 5 ครง้ั ท่ี เรอ่ื ง กิจกรรม จานวน (ช่ัวโมง) 1 หนว่ ยที่ 1 การแกป้ ัญหา ศกึ ษาความรูจ้ ากวดิ โี อ เรอ่ื ง การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ ๑ และทาใบงานเพอื่ สง่ ครผู สู้ อน 1 2 หนว่ ยท่ี 1 การแก้ปญั หา ศึกษาความรจู้ ากวดิ ีโอ 1 เรื่อง การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ ๒ และทาใบงานเพื่อสง่ ครูผ้สู อน 1 3 หนว่ ยท่ี 1 การแก้ปัญหา ศึกษาความรู้จากวิดีโอ เรอ่ื ง การใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ ๓ และทาใบงานเพอ่ื สง่ ครูผสู้ อน 1 4 หน่วยที่ 1 การแก้ปัญหา ศึกษาความร้จู ากวิดโี อ 1 เร่อื ง การใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ ๔ และทาใบงานเพื่อสง่ ครูผสู้ อน 1 5 หนว่ ยที่ 1 การแกป้ ัญหา ศึกษาความรู้จากวิดโี อ เรื่อง การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ๕ และทาใบงานเพือ่ สง่ ครผู สู้ อน 1 6 หนว่ ยท่ี 1 การแกป้ ัญหา ศึกษาความรจู้ ากวดิ ีโอ เรื่อง การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ ๖ และทาใบงานเพื่อสง่ ครผู สู้ อน 7 หน่วยท่ี 1 การแกป้ ัญหา ศกึ ษาความรู้จากวิดโี อ เรอ่ื ง การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ ๗ และทาใบงานเพอื่ สง่ ครผู สู้ อน 3.3 ขนั้ ตอนและกระบวนการสรา้ งผลงานนวัตกรรม แนวคดิ และกระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา PDCA คือ สื่อออนไลน์ เว็บไซต์ Google Site ภาพท่ี 1 กระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา PDCA
6 3.3.1 ข้นั วางแผนปฏบิ ัติงาน (Plan : P) เปน็ ขน้ั ตอนการจัดทาแผนในการดาเนินการสร้างการจดั การ เรยี นการสอนผา่ นส่อื ออนไลน์ Google Site รายวชิ า วทิ ยาการคานวณ สาหรบั นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ดงั นี้ 1. ศึกษาหลักสูตรรายวิชาวทิ ยาการคานวณ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ในด้านสาระการเรยี นรมู้ าตรฐาน การเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ แกนกลางคาอธบิ ายรายวชิ า โครงสร้างรายวิชาและหนว่ ยการเรียนรู้ 2. ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎแี ละวธิ กี ารเขยี นเวบ็ ของ Google Site อยา่ งละเอยี ดเพ่อื สรา้ งสื่อออนไลน์ Google Site 3. เลอื กรายวิชาวิทยาการคานวณ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 การแกป้ ัญหา เรือ่ งการใช้ เหตผุ ลเชิงตรรกะ เพราะเป็นเรอื่ งพื้นฐานท่ีต่อยอดไปยังหน่วยการเรียนรเู้ รื่องอ่นื ๆ 4. วเิ คราะหห์ ลักสตู รวทิ ยาการคานวณ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การแก้ปัญหา เร่ืองการใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะ 5. สร้างเว็บไซต์การจดั การเรียนการสอนผา่ นส่อื ออนไลน์ Google Site รายวชิ าวทิ ยาการคานวณ สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ โดยอพั โหลดวดิ ีโอการสอน DLTV เรอื่ งการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ สปั ดาห์ละ ๑ วิดีโอ ซ่ึงจะ มใี บความรู้พร้อมใบงานอัพโหลดเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นเม่ือได้ศกึ ษาวดิ ีโอและใบความรู้ 6. นารปู แบบการจดั การเรียนการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์ Google Site รายวิชาวิทยาการคานวณ สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ไปขอคาแนะนาจากผบู้ ริหารและคณะครูโรงเรียนวัดมาบมะขามในด้านความเหมาะสม ขององค์ประกอบของ Google Site เพ่ือมาปรับปรงุ แกไ้ ขใหส้ มบรู ณย์ ง่ิ ข้นึ 3.3.2 ขน้ั ตอนการทาตามแผน (DO : D) จัดการเรียนรู้โดยใช้ Google Site รายวชิ าวิทยาการคานวณ กระบวนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ Google Site ดังน้ี 3.3.2.1 การสรา้ งเวบ็ ไซต์ ด้วย Google Site ขน้ั ตอนการสรา้ งมดี ังนี้ 1. หลงั จากท่เี ราสมคั ร Gmail แล้ว ให้ login ด้วย account บญั ชขี อง gmail ท่สี มัครไว้ จากน้นั เขา้ ไปท่เี ว็บ www.google.com พมิ พ์คาวา่ Google site ในชอ่ งค้นหา แล้วคลิก Sign-in หรอื ลงชอื่ เขา้ ใช้งาน
7 ๒. จะปรากฏหนา้ แรกของ site ตามทีเ่ ราเหน็ ให้คลกิ ทปี่ ุ่ม “วา่ ง” ๓. เริ่มสรา้ งหน้าเว็บไซต์ 3.3.2.2 การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ กอ่ นการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ ผ้สู อนควรบอกวิธีการใช้งานเวบ็ ไซต์อยา่ งละเอยี ด เพอ่ื ใหน้ กั เรียนได้ใช้ งานเว็บไซต์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเปน็ การอานวยความสะดวกใหแ้ กน่ กั เรยี นก่อนไดร้ ับการใช้งานซึง่ ล้งิ ในการเข้าใชง้ าน Google Site จะส่งให้ นักเรียน คอื https://sites.google.com/view/onanongblog 3.3.2.3 การอภปิ รายหลงั การจดั การเรยี นการสอน การสร้างเวบ็ ไซตด์ ว้ ย Google Site รายวชิ าวทิ ยาการคานวณ สาหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ อภิปรายไดด้ ังน้ี ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นในรายวิชาวิทยาการคานวณกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นซง่ึ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลงั ได้รับการจดั การเรยี นรูส้ ูงกว่า ก่อนได้รับการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงการได้ใชน้ วตั กรรม google Apps for Education มาเป็นตวั ช่วยใช้ในการเรยี นการสอนคะแนน เฉล่ยี จากการสอนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉล่ียจากการสอนกอ่ นเรียน
8 และผลการประเมินความพงึ พอใจ พบวา่ ความพงึ พอใจของผู้เรยี นทมี่ ตี ่อการจัดการเรยี นรู้โดยใชเ้ วบ็ ไซต์ Google Site รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เมื่อ พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่าการจัด การเรียนรโู้ ดยใชเ้ ว็บไซต์ มีความนา่ สนใจและน่าเรยี นรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.6๕) รองลงมา คอื มีความรคู้ วามเขา้ ใจบทเรยี นกอ่ นการใช้สอ่ื อยใู่ นระดบั มากที่สุด ( = 4.๕๓) และอธบิ ายเนือ้ หาเขา้ ใจง่าย อยู่ในระดบั มาก ( = 4.๔๑) เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเวบ็ ด้วย Google Site ทาใหน้ ักเรยี นเรยี นรู้เน้ือหา ไดอ้ ยา่ งมีความสุข สนกุ สนาน นา่ สนใจสง่ ผลทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความพงึ พอใจและเกิดการเรียนรตู้ ามวตั ถปุ ระสงค์ 3.3.3 ข้นั ตรวจสอบและประเมินผล (Check : C) 1. ประเมนิ ผลนักเรยี น 2. ประเมินความพึงพอใจ 3. เกบ็ ข้อมลู วเิ คราะหข์ ้อมลู แปลความหมาย 4. จดั ทารายงายผลการจัดการเรยี นรู้ ๕. ขัน้ นาผลการประเมินมาปรับปรุง (Action : A ) 4. ผลการดาเนินงานและประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากผลงานหรือนวัตกรรม 4.1 สาหรบั ครู 4.1.1 เป็นส่อื ออนไลนเ์ วบ็ ไซต์ Google Site ในการจดั การเรียนรทู้ ตี่ ้องการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ี ทกั ษะความรู้ ความสามารถในการใชง้ านเทคโนโลยี รายวชิ าวิทยาการคานวณ ครสู ามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ใน ชัน้ เรียนของตนได้หรอื พฒั นาเปน็ นวัตกรรมการเรียนรู้ 4.1.2 เป็นสือ่ ทีใชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ ่สี อดคล้องกับทฤษฎี ได้พัฒนาการใช้นวตั กรรม Google Apps for Education มาเปน็ ตวั ช่วยใชใ้ นการเรียนการสอน คือ บทเรียนอเิ ล็กทรอนิกสม์ ีผลทาให้ คะแนนเฉล่ยี จากการสอนหลังเรยี นสงู กว่าคะแนนเฉลย่ี จากการสอนก่อนเรียน ซงึ่ จะเห็นได้ว่าเมือ่ นาบทเรยี น ทผ่ี ่านสอื่ ออนไลน์ดว้ ย Google Site มาใช้จะทาให้มผี ลการเรียนทเี่ พิ่มสงู ขึ้นอย่างเหน็ ได้ชัด ซ่งึ เปน็ นวตั กรรม ส่ือการเรยี นรู้รูปแบบใหมท่ ี่ออกแบบและสอดแทรกเนือ้ หาบทเรยี นลงไป ใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรฝู้ กึ ปฏบิ ัติ ในการเรยี นร้ดู ้วยตนเองจนผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ได้ในทีส่ ุด 4.1.๓ เปน็ หลักฐานหรือรอ่ งรอยในการพฒั นาผเู้ รียนให้มีกระบวนการคิดในชว่ งสถานการณโ์ รคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา และนวัตกรรมนี้สามารถนามาใช้เพื่อใหน้ กั เรยี นใช้เวลาว่างในการศึกษาไดต้ ลอดเวลาซึง่ ได้ท้ังความรู้ และการไดใ้ ช้เทคโนโลยี 4.1.๔ เป็นสอื่ ทีม่ กี ารนากลวธิ กี ารสอนรูปแบบการจดั การเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นการเรียนรทู้ ี่มุง่ เน้น ให้ผู้เรยี นได้เรยี นรวู้ ่าขณะนเ้ี ทคโนโลยีมีความก้าวหน้าก้าวไกลไปในลกั ษณะรปู แบบไดบา่ งท้ังทางดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์ และ วิธีใหม่ๆใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจ และมีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี 4.1.๕ เปน็ การกระตนุ้ ครูผ้สู อนใหส้ นใจใฝ่ร้สู บื เสาะหาความรเู้ พิ่มเตมิ เพ่อื พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง และนาสง่ิ ใหม่ๆมาใช้เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอนวทิ ยาการคานวณใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
9 4.2 สาหรับนกั เรียน 4.2.1 เป็นส่ือทน่ี ักเรียนสามารถเรยี นรดู้ ว้ ยการลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเองได้ตลอดเวลาเพื่อสร้าง ทกั ษะชวี ติ และทักษะทางสังคม 4.2.2 เปน็ สื่อทส่ี ามารถใชก้ ระบวนการคิดได้อยา่ งหลากหลายโดยเฉพาะการคดิ วิเคราะหแ์ ละ การคิดสรา้ งสรรค์ ซง่ึ เปน็ การคดิ ขัน้ สงู สดุ 4.2.3 นักเรยี นรจู้ กั ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชนส์ าหรับฝกึ ทักษะการอ่านและการคิด 4.2.4 การจัดการเรียนการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์ด้วยเวบ็ ไซต์สาหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่๖ พบว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนในรายวชิ าวทิ ยาการคานวณกอ่ นเรียนและหลังเรียนซ่ึงผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หลังได้รับการจัดการเรยี นรู้สูงกว่าก่อนไดร้ ับการจดั การเรยี นรู้ 4.2.5 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ พบว่า ผู้เรียนมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอน ผ่านสื่อออนไลนด์ ว้ ยเว็บไซต์ Google Site รายวิชาวิทยาการคานวณ ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ความพึงพอใจของผเู้ รียนที่ต่อการจดั การเรียน การสอนผ่านสื่อออนไลนด์ ้วยเวบ็ ไซต์ ปรากฏผลดังตารางท่ี 2 ขอ้ รายการประเมนิ ������ S.D. แปลผล 1 เว็บไซตม์ ีความนา่ สนใจและน่าเรยี นรู้ 4.65 0.49 มากทส่ี ดุ 2 ความรู้ความเข้าใจบทเรยี นหลังการใชส้ ื่อ 4.06 0.66 มาก 3 ความสะดวกในการใชส้ อื่ ออนไลน์ 4.12 0.60 มาก 4 ส่ือเสริมสร้างความเขา้ ใจในบทเรียน 4.12 0.49 มาก 5 สอ่ื กระต้นุ การศึกษาค้นควา้ เพมิ่ เตมิ 4.06 0.66 มาก 6 อธบิ ายเนอ้ื หาเข้าใจง่าย 4.41 0.62 มาก 7 เวบ็ ไซตน์ ีส้ ามารถชว่ ยให้นกั เรยี นจดจาได้ง่ายและนานมากขึ้น 4.12 0.78 มาก 8 เป็นชอ่ งทางในการติดต่อส่ือสารระหวา่ งครูและผ้เู รยี น 4.00 0.79 มาก 9 นกั เรียนส่งงานได้อยา่ งสะดวกรวดเรว็ 4.06 0.66 มาก 10 มีความรู้ความเขา้ ใจบทเรยี นกอ่ นการใชส้ ื่อ 4.53 0.51 4.2๑ 0.๖๕ มากทีส่ ุด รวม มาก 4.3 สาหรับผปู้ กครอง 4.3.1 เป็นส่ือทล่ี ดภาระของผู้ปกครองและเป็นส่ือทส่ี ามารถศึกษาได้ตลอดเวลาในช่วงสถานการณ์ โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 4.3.2 เปน็ สือ่ ทีช่วยกระตุน้ ให้เกิดการเรียนรู้เพ่ิมเติมได้องค์ความร้ทู างวิชาวิทยาการคานวณเกดิ ความสนใจ ใฝ่รู้ รจู้ ักสบื เสาะหาความรู้อยากรูอ้ ยากเห็นไปพร้อมๆกบั บุตรหลาน
10 5. ปจั จยั ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานผลงานหรือนวัตกรรม 5.1 บุคลากรที่มสี ่วนในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนประสบผลสาเรจ็ คอื ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นวัดมาบมะขาม ทม่ี ีการสนับสนนุ และส่งเสรมิ ให้จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายตามศักยภาพของผู้เรียนส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครู ผจู้ ดั ทาส่ือ /นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ ในชว่ งสถานการณโ์ รคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 5.๒ การดาเนนิ การพฒั นานวัตกรรมให้สาเร็จลุลว่ งเกิดสัมฤทธผ์ิ ลอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล น้นั จะตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือทด่ี จี ากทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง ต้องเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาในช่วง สถานการณโ์ รคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา อกี ทง้ั ผูบ้ ริหารครผู ู้สอนและผปู้ กครองมีส่วนสาคญั ท่จี ะต้องค่อยๆ ปลกู ฝงั ให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง 6. บทเรียนทีไ่ ดร้ บั 6.1 ผเู้ รยี นไดศ้ กึ ษาเทคโนโลยี โดยใชค้ วามรู้ด้าน ICT มาประยกุ ต์ใช้ในการเรยี นวิชาวทิ ยาการคานวณ และสามารถศึกษาเรียนรเู้ พิ่มเติมได้ด้วยตนเองไดต้ ลอดเวลาโดยใช้การจัดการเรียนการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์เว็บไซต์ ด้วย Google Site ให้เปน็ ประโยชน์ในการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถ เผยแพร่ใหผ้ ู้อน่ื ไดศ้ ึกษา 6.2 นวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนผ่านสอื่ ออนไลน์เว็บไซต์ด้วย Google Site รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ทาใหน้ ักเรียนมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้เชงิ ปฏบิ ัติอย่างมรี ะบบส่งผลให้พฒั นาคุณภาพนักเรยี นพฒั นาทกั ษะ กระบวนการคิดผสมผสานวทิ ยาการใหม่ในการศึกษาหาความรู้ และพัฒนาเปน็ ความรู้ที่คงทนตลอดไป ในชว่ ง สถานการณ์โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรน่า 6.3 นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์เว็บไซต์ด้วย Google Site รายวชิ าวิทยาการคานวณ เป็นส่ือในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้การปลกู ฝงั ให้ผูเ้ รียนรจู้ ักการอ่าน ฟัง และการเขยี นความรู้เนื้อหาลงบทเรยี น ใบงานทีค่ รผู ู้สอนได้ใหใ้ นแตล่ ะสปั ดาห์ 6.4 ในการนานวตั กรรมไปใช้น้ันครูตอ้ งจดั การเรียนรแู้ บบใหน้ กั เรียนปฏบิ ัตจิ ริง นกั เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง การเรยี นรู้ โดยวธิ กี ารที่หลากหลาย เนน้ วิธสี อนแบบศนู ย์การเรียน ( Learning Center) คอื การสอนท่ีเน้นความสาคัญ ของนักเรียนหรือยดึ นักเรยี นเป็นศูนยก์ ลางและใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรียนการสอนทใี่ ชส้ ื่อประสมเปน็ สงิ่ สาคญั เพอื่ ส่งเสริมให้การเรยี นการสอนมีชีวติ ชวี าช่วยใหผ้ ้เู รียนได้ศึกษาค้นคว้าและเรียนรดู้ ้วยตนเองเพือ่ สง่ เสริมให้ผเู้ รียน แสวงหาความรดู้ ้วย ตนเอง เชน่ การสอน การลงมือปฏิบัติจริงจะชว่ ยใหน้ กั เรยี นเกิดความรู้ (K) ทักษะการทางาน(P) และ เกิดเจตคตทิ ีด่ ี (A) ในการทางานตา่ งๆ ทีค่ รมู อบหมาย 7. การเผยแพร่ การจัดการเรียนการสอนรายวชิ าวทิ ยาการคานวณผา่ นสอื่ ออนไลน์ google Site ในรายวชิ าวทิ ยาการคานวณ ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นวดั มาบมะขาม จงั หวดั นครสวรรค์ สามารถนามาบรู ณาการรว่ มกับกล่มุ สาระอนื่ ๆ ในการจดั การเรียนการสอนผ่านสอ่ื ออนไลน์ของนักเรียนได้ เผยแพร่ผลงานผา่ นทางเว็บไซต์https://sites.google.com/view/onanongblog
11 ภาคผนวกท่ีเกี่ยวข้องกบั ผลงานหรอื นวัตกรรม นวัตกรรม “การจัดการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาการคานวณผ่านสอื่ ออนไลน์ google Site” หน้าหลกั เวบ็ ไซต์ ชอ่ งทางติดต่อเพม่ิ เติมระหวา่ งครผู ู้สอนกับนักเรียนผา่ นทางแอพพลเิ คชน่ั ไลน์
12 การจดั การเรียนการสอนผา่ นสอื่ ออนไลน์ google Site ประกอบด้วยวดี ีโอและใบงานแต่ละสปั ดาห์ การส่งงานตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายในแตล่ ะสปั ดาห์
13 การตดิ ตามการรบั -ส่งใบงานแต่ละสปั ดาห์ ภาพนักเรยี นขณะทาใบงานพร้อมกบั ดูสอ่ื การเรยี นการสอนทางโทรศัพท์
14 แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนและผู้ปกครอง การจัดการเรยี นการสอนรายวิชาวทิ ยาการคานวณผา่ นสือ่ ออนไลน์ google Site” ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมนิ กจิ กรรมโดยทาเครื่องหมาย √ ใหต้ รงกบั ความคิดเห็นของท่านมากท่ีสดุ ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบประเมิน 1.1 เพศ ชาย หญิง 1.2 สถานะ นกั เรยี น ผู้ปกครอง ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจเก่ียวการดาเนนิ งานและการจัดกิจกรรมต่างๆ ระดบั ความพงึ พอใจ 5 = มากทสี่ ุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย และ 1 = นอ้ ยท่ีสุด ระดบั ความพึงพอใจ ข้อที่ รายการประเมิน 54 3 2 1 มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทีส่ ดุ 1 เวบ็ ไซตม์ ีความนา่ สนใจและน่าเรียนรู้ 2 ความร้คู วามเข้าใจบทเรียนหลังการใช้ส่ือ 3 ความสะดวกในการใช้สอื่ ออนไลน์ 4 สื่อเสริมสร้างความเขา้ ใจในบทเรียน 5 สอื่ กระต้นุ การศึกษาค้นควา้ เพิม่ เติม 6 อธิบายเนือ้ หาเขา้ ใจงา่ ย 7 เว็บไซต์นี้สามารถช่วยใหน้ ักเรียนจดจาได้ง่ายและนานขึ้น 8 เป็นช่องทางในการตดิ ต่อสื่อสารระหวา่ งครแู ละผเู้ รียน 9 นักเรียนส่งงานได้อย่างสะดวกรวดเรว็ 10 มีความรู้ความเขา้ ใจบทเรยี นก่อนการใชส้ ื่อ ความคคิดวเหามน็ เแขลา้ ะใจขบ้อทเสเรนียอนแกน่อะนเพกาิ่มรเใตชิม้ส่ือ ............................................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงช่ือ ผรู้ ายงาน (นางสาวอรอนงค์ ฆ้องบ้านโข้ง) ตาแหนง่ ครู อันดบั คศ.๑
๑๕ แบบทดสอบ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ รายวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชัน้ ป.๖ ( ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ) คาช้แี จง ให้นกั เรยี น ลงในกระดาษคาตอบ โดยเลือกขอ้ ที่ถูกต้องทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว 1. นอ้ ยสงู กว่าหวาน แตน่ นุ่ สงู กวา่ นอ้ ย และหวานสงู กว่าเหมยี ว ๖. แหล่งข้อมูลใดน่าเชือ่ ถือมากที่สุด ขอ้ ใดเรยี งลาดับความสูงจากมากไปน้อยไดถ้ กู ต้อง ก. เวบ็ คนรูจริง ก. นุ่น เหมียว น้อย หวาน ข. รายการโฆษณา ข. หวาน นอ้ ย นุน่ เหมียว ค. ข่าวหนงั สือพมิ พ์ ค. นนุ่ น้อย หวาน เหมยี ว ง. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ง. นนุ่ หวาน น้อย เหมยี ว ๗. โปรแกรมทใ่ี ช้ในการสร้างงานเอกสารพิมพ์งาน คอื ข้อใด ๒. ขอ้ ใดเป็นแนวคดิ การทางานแบบลาดับ ก. จะตอ้ งทางานขั้นตอนแรกให้สาเรจ็ กอ่ นจึงจะเขา้ สูข่ ้ันตอน ถัดไป ก. ข. จะต้องทาความเขา้ ใจปญั หาหรอื เง่อื นไขต่าง ๆ ในทกุ ขัน้ ตอนของการ ข. ทางาน ค. มกี ารใหเ้ ง่ือนไขเปน็ ตัวกาหนดการทางาน ค. ง. มกี ารทากจิ กรรมท่ีมลี กั ษณะเดียวกันหลาย ๆ ครง้ั ๓. ในการแขง่ ขันว่ิงแข่งของนกั เรยี น 4 คน ได้แก่ ฟา้ ดิว นุช และ ง. ออ้ ย มีข้อมูลของผลการแข่ง ดงั น้ี ๘. อนิ เตอร์เน็ต หมายถึง 1. ดิววง่ิ เข้าเส้นชัยโดยใช้เวลาน้อยกวา่ อ้อย ก. เครือขา่ ยท่เี ชื่อมโยงกนั ทว่ั โลก 2. นุชสามารถวง่ิ แซงคนทวี่ ง่ิ อยใู่ นลาดับท่ี 2 ไดก้ ่อนเขา้ เส้นชยั ข. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ 3. ฟ้าใช้เวลาในการว่ิงเขา้ เสน้ ชยั มากทส่ี ดุ ค. สามทารถรบั ส่งข้อมูลจากเครือ่ งหนึ่งไปเคร่ืองหนึง่ ได้ ข้อใดเรยี งลาดบั ท่ีของการเข้าเส้นชัยได้ถูกต้อง ง. ถกู ทุกขอ้ ก. นุช , ดิว ,ออ้ ย ฟา้ ดวิ ๙. พฤติกรรมใดเปน็ การใช้อินเทอร์เนต็ ได้อย่างถูกต้องและ ข. ฟา้ , นชุ ออ้ ย ,ดวิ ปลอดภัย ค. ดวิ , อ้อย , นุช ,ฟ้า ก. ส่งขอ้ ความสวสั ดเี พ่อื แชทกบั คณุ ย่า ง. ดิว, นุช , ออ้ ย , ฟ้า ข. กรอกขอ้ มูลส่วนตัวเพอื่ ลุ้นรบั ของรางวัล ๔. บอยมนี า้ หนักมากกวา่ อ้ัม ส่วนใหม่มีน้าหนักมากกวา่ บอย ค. โพสต์ทอ่ี ยู่ของตัวเองในสือ่ สงั คมออนไลน์ และพีทมนี า้ หนกั มากกว่าใหม่ ง. โพสต์รูปเพือ่ นที่มีการตกแต่งเพ่มิ เตมิ ลงในสื่อสังคมออนไลน์ ขอ้ ใดเรียงลาดบั จากมากไปน้อยได้ถูกต้อง ๑0. ใครไม่ระวังในการใช้อินเตอร์เนต็ ก. บอย พที อั้ม ใหม่ ก. แกว้ ตามักจะดูการ์ตนู ผา่ นอนิ เตอรเ์ น็ตเสมอ ข. อมั้ บอย ใหม่ พที ข. ขวญั ใจใชอ้ นิ เตอรเนต็ ในการทางานส่งครู ค. ใหม่ พที อั้ม บอย ค. ภูผาแชทคยุ กบั เพ่ือนในห้องผา่ นไลน์ ง. พที ใหม่ บอย อ้ัม ง. แสนดมี ักจะแชรท์ ี่อยขู่ องตนเองในเฟสบ๊คุ เสมอ ๕. ถ้าตองการค้นหาขอ้ มูลทางอินเทอร์เนต็ วา่ ไขห้ วัดแตกตา่ งจาก ไขห้ วดั ใหญ่อย่างไร ควรใชค้ าคน้ ใดจึงจะพบข้อมูลท่ตี ้องการได้ตรง ก. ไขห้ วัด ข. ไขห้ วดั นก ค. ไขห้ วัดใหญ่ ง. ความแตกต่างของไข้หวัด
16 ตารางคะแนนแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ โดยใชก้ ารจดั การเรียนการสอนผ่านส่อื ออนไลนด์ ้วยเว็บไซต์ Google Site ที่ ชือ่ -สกลุ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ 1 เดก็ ชายดษิ ณ์กร กิจสอาด กอ่ นเรยี น (๑0) หลังเรยี น (๑0) 2 เดก็ ชายสรุ ิชัย อ่มิ หริ ญั 4 7 3 เดก็ ชายนิตภิ มู ิ จันทรา 4 6 4 เดก็ ชายบรรณวฒั น์ วงกันหา 5 7 5 เดก็ ชายราเชนทร์ สามล 6 8 6 เดก็ ชายธนกฤติ สารินนั 6 9 7 เด็กชายชินภทั ร พุทธชาติ 6 1๐ 8 เด็กชายพาณิภัค ทองสุขดี 7 1๐ 9 เดก็ ชายกนั ตพัฒน์ ปานาง 6 9 10 เดก็ ชายยทุ ธนา ธรรมบญุ สุข 3 7 11 เดก็ หญงิ พรพิมล อทุ มุ พันธ์ 5 8 12 เด็กหญงิ ชลธิชา แตงดารา 3 7 13 เด็กหญิงวิรยิ า ภ่ฉู ตั ร 4 7 14 เด็กหญิงนดั ดา ดเี หมือน 4 8 15 เด็กหญิงพรรณภัทร พลโสภา 5 9 16 เด็กหญิงพราวรวี คงทัศน์ 4 8 17 เด็กหญิงกัลยกร พานิชพัฒน์ 5 9 4 8
17 ภาคผนวก คู่มอื การใช้งาน
ภาคผนวก แผนการสอนยดึ ตามหลักสตู รแกนกลางของแผนการสอน DLTV
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: