๙๗ เอกสารอ้างอิง .............................................................................................................................กองอนุศาสนาจารย์ กรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก, วชิ าการศาสนาและศลี ธรรม สาํ หรบั หลกั สตู ร นายสบิ ชั้นตน้ และหลกั สตู รนายสิบอาวุโส. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร : อมรินทรพ์ รน๊ิ ตง้ิ , ๒๕๔๘.กองทัพบก, คาํ สัง่ ที่ ๒/๒๕๕๗ เร่ือง กําหนดมาตรฐานโต๊ะหมู่บชู าเครือ่ งพร้อมประจาํ หนว่ ย ทหาร ลง ๖ ม.ค. ๒๕๕๗.กองทัพบก, ค่มู อื การปฏบิ ัติศาสนพิธี , กรุงเทพมหานคร : อมรนิ ทร์พรนิ ติ้ง, ๒๕๕๓พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม Dictionary of Buddhism. พมิ พค์ รั้งที่ ๑๖ พ.ศ. ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั เอส. อาร.์ พร้นิ ติง้ แมส โปรดักส์ จํากดั , ๒๕๕๑.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระไตรปฎิ กภาษาไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพม์ หาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.
๙๘ภาคผนวก
๙๙แบบประเมินความร้หู ลังเรยี น
๑๐๐ แบบทดสอบ วชิ าการศาสนาและศีลธรรม หลกั สตู รนายสิบอาวโุ ส--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------คําส่ัง จงกาเคร่ืองหมาย X ทับอกั ษร ก ข ค หรอื ง ท่เี ห็นวา่ ถูกทสี่ ดุ ในแตล่ ะขอ้๑. การศกึ ษาวชิ าการศาสนาและศลี ธรรม มจี ุดม่งุ หมายอยา่ งไร ?ก. เพอ่ื เปน็ หลกั รบั ราชการ ข. เพือ่ ให้รจู้ ักพระพทุ ธศาสนาค. เพื่อเปน็ หลักการครองชีวิต ง. เพือ่ ใหร้ ูห้ ลกั การครองชีวิตและครอบครวั๒. ในการประกาศพระพุทธศาสนานนั้ พระพทุ ธองค์ทรงมีพระพทุ ธประสงคห์ รอื เจตนารมณ์อย่างไร ?ก. เพือ่ ใหพ้ ระพทุ ธศาสนาแพรไ่ ปทว่ั โลก ข. เพอื่ ใหม้ ผี ้เู คารพสกั การะพระองค์มากๆค. เพ่ือใหเ้ กิดการสร้างศาสนวัตถทุ ี่ใหญโ่ ต ง. เพ่อื ประโยชนแ์ ละความสุขของสาธุชน๓. การท่เี ราจะทราบว่า คําสอนใดเปน็ คาํ สอนของพระพุทธองคน์ ัน้ เราตัดสินได้จากการที่คาํ สอนนนั้ .......ก. เป็นไปเพ่ือคลายกาํ หนัด ข. เปน็ ไปเพื่อความมกั นอ้ ยค. เปน็ ไปเพอ่ื ปรารภความเพยี ร ง. ถูกทุกขอ้๔. พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เขา้ ส่ปู ระเทศไทย เมอื่ พ.ศ. ๓๐๐ เป็นพระพุทธศาสนานิกายใด ?ก. นิกายเถรวาท ข. นกิ ายมหายาน ค. มหานิกาย ง. ธรรมยุตกิ นิกาย๕. พระพทุ ธศาสนาได้ถูกนํามาประดิษฐานในประเทศไทยครง้ั แรกในยคุ ที่ ๑ น้ัน ประดิษฐาน ณ ทใี่ ด ?ก. ลพบรุ ี ข. สุวรรณภมู ิ ค. นครศรธี รรมราช ง. สุโขทยั๖. พระเจา้ อโศกมหาราช ทรงส่งพระสาวกรปู ใดมาประกาศพระพุทธศาสนาในประเทศไทยก. พระสารบี ตุ รและพระโมคคัลลานะ ข. พระโกณฑญั ญะและพระอัสสชิค. พระอานนท์และพระราหลุ ง. พระโสณะและพระอุตตระ๗. ยคุ ท่ี ๔ พระสงฆจ์ ากประเทศลงั กาไดเ้ ขา้ มาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทย ณ สถานทใ่ี ด ?ก. นครปฐม ข. นครศรธี รรมราช ค. สโุ ขทยั ง. กรงุ ศรีอยุธยา๘. ประเทศไทยปัจจุบัน นบั ถอื พระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท แบบใด ?ก. แบบอินเดยี ข. แบบสยามวงศ์ ค. แบบลังกาวงศ์ ง. แบบอบุ าลีวงศ์๙. อะไรเปน็ ประจักษ์พยานแหง่ การประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาในยุคที่ ๑ ?ก. เจดยี พ์ ระธาตไุ ชยา ข. พระบรมมหาธาตนุ ครศรีธรรมราชค. พระปฐมเจดีย์ ง. เจดยี ภ์ เู ขาทอง๑๐. คณะสงฆฝ์ ่ายธรรมยุตกิ นิกายเกิดขน้ึ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๗๖ โดยกาํ หนดดว้ ยการฝงั ลูกนมิ ิตผกู พทั ธสมี าใหม่ของวดั สมอราย (วัดราชาธวิ าส) ว่าเปน็ การตั้งคณะธรรมยุต อยากทราบวา่ เกดิ ขึน้ ในรชั กาลใด ?ก. รชั กาลท่ี ๑ ข. รชั กาลท่ี ๒ ค. รชั กาลท่ี ๓ ง. รชั กาลท่ี ๔
๑๐๑๑๑. ปจั จุบนั พระสงฆ์มหี น้าทหี่ ลายดา้ นด้วยกนั เชน่ การปกครองบริหารคณะสงฆ์ การศึกษา อบรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นต้น ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี คือหน้าที่ของพระสงฆต์ ามพุทธดาํ รัสก. การศกึ ษาเล่าเรยี นธรรม ข. การปฏิบตั สิ มถกรรมฐานค. การปฏิบัตวิ ิปัสสนากรรมฐาน ง. ถูกทกุ ขอ้๑๒. การปลูกฝงั ศลี ธรรมในขอ้ ใดเป็นพืน้ ฐานใหเ้ กิดมธี รรมอืน่ ๆ ?ก. ศีล ๕ ข. กศุ ลกรรรมบถ ๑๐ ค. เบญจธรรม ง. ข้อ ก และ ข ถูก๑๓. คําในข้อใด เปน็ คําเรยี กหมายถงึ ศีล ๕ก. มนษุ ยธรรม ข. นจิ ศีล ค. เบญจศลี ง. ถกู ทุกข้อ๑๔. กศุ ลกรรมบถในข้อใด จดั เป็นขอ้ สุดท้ายในกุศลกรรมบถ ๑๐ ?ก. เว้นจากการฆา่ สัตว์ ข. เวน้ จากการกลา่ วเท็จ ค. ไม่คดิ เบยี ดเบยี นผู้อื่น ง. มีความเหน็ ถูกต้อง๑๕. คําว่า “เมื่อยงั หนุ่มเหนือ่ ยอยา่ กลัวเอาตัวบกุ เอาไว้สุขยามแกแ่ ลเหมาะเหม็ง” หมายถงึ ฆราวาสธรรมข้อใด ?ก. สัจจะ ข. ทมะ ค. ขนั ติ ง. จาคะ๑๖. ในบรรดาความสุขของผคู้ รองเรอื นหรือคฤหสั ถ์ ตา่ งกม็ ีความสําคญั ทุกข้อ แต่กม็ ีอย่ขู อ้ หน่งึ ท่สี าํ คัญกว่าขอ้ อนื่ เพราะทําให้เกิดความภาคภมู ใิ จ เอบิ อ่ิมใจ ปราศจากความหวาดระแวงใจ นอนอย่กู ็เป็นสขุไม่ฝันร้ายและตื่นขน้ึ มากเ็ ปน็ สุข อยากทราบวา่ ตรงกับความสขุ ในขอ้ ใด ?ก. อัตถสิ ขุ ข. ปริโภคสุข ค. อนวัชชสุข ง. อนณสุข๑๗. เมือ่ ผู้อนื่ ทําใหเ้ ราขัดใจ เราสามารถสละอารมณ์ร้ายๆ น้นั ออกไปเสยี ได้ แสดงวา่ เรามีฆราวาสธรรมขอ้ ใด ?ก. ทมะ ข. ขนั ติ ค. จาคะ ง. สจั จะ๑๘. ผู้พิพากษาศาลฎีกา พิจารณาฎีกาโดยรอบคอบแล้วตดั สนิ คดีความไปด้วยความยุติธรรม โดยไมเ่ หน็แก่หน้าใคร แสดงว่าท่านมคี ณุ ธรรมขอ้ ใด ?ก. เมตตา ข. กรุณา ค. มุทติ า ง. อุเบกขา๑๙. จงใหค้ วามหมายของคําวา่ “ทมะ”ก. การฝึก ข. การฝกึ ตน ค. ความอดทน ง. การทรมานตน๒๐. โบราณว่า ผูกวัว ควาย ชา้ ง มา้ ใชเ้ ชอื กและโซเ่ ป็นเครอื่ งผกู แต่การผูกใจคนท่านใหผ้ กู ดว้ ยธรรมหมวดใด?ก. พรหมวิหาร ๔ ข. สงั คหวตั ถุ ๔ ค. ฆราวาสธรรม ๔ ง. อิทธิบาท ๔๒๑. จงบอกประโยชนข์ องการฝึกจติ ทถี่ ูกตอ้ ง ?ก. เพ่อื ให้เกดิ ฤทธิ์ ข. เพ่อื ให้เกิดสมาธิค. เพอ่ื ให้บุคคลอืน่ เคารพบูชา ง. เพื่อสุขภาพจติ๒๒. ขนั ติ ความอดทน คณุ ธรรมข้อนีใ้ หเ้ ราอดทนในเร่อื งอะไร ?ก. คาํ ด่า ข. ความรอ้ น ค. ความยากลาํ บาก ง. ถกู ทกุ ข้อ
๑๐๒๒๓. “เปน็ มนุษย์เป็นไดเ้ พราะใจสงู เหมอื นหน่งึ ยงู มดี ที ่แี ววขน ถา้ ใจตา่ํ เปน็ ไดแ้ ต่เพยี งคน ยอ่ มเสียทที ตี่ นไดเ้ กดิ มา” คาํ ประพนั ธ์นี้มงุ่ ให้เราปฏบิ ัติในขอ้ ใด ?ก. รักษาเบญจศลี ข. รกั ษาเบญจธรรม ค. รกั ษาศลี ๘ ง. รกั ษาศีลอุโบสถ๒๔. การดํารงตนม่นั ในความจรงิ ซื่อตรง ซอ่ื สตั ย์ จรงิ ใจ พดู จริง ทาํ จริง ไว้วางใจได้ เป็นความหมายของคณุ ธรรมขอ้ ใด ?ก. ขนั ติ ข. สจั จะ ค. จาคะ ง. ทมะ๒๕. คนทมี่ ุ่งมนั่ ทาํ หน้าทกี่ ารงานโดยไม่ยอ่ ทอ้ บากบน่ั หนกั เอาเบาสู้ แม้จะเหนด็ เหนอ่ื ย รอ้ น หิว กระหายหนาวเหนบ็ เจบ็ ใจอย่างไรกท็ นสู้ เขามีคุณธรรมอะไร ?ก. วริ ยิ ะ ข. ขนั ติ ค. จาคะ ง. ทมะ๒๖. “ฉนั รกั งานรักจรงิ ยิ่งชวี ิต สุขของฉันอยทู่ ่งี านหลอ่ เลย้ี งจติ คิดทําน่ันทํานท่ี กุ เวลา งานยงิ่ มากย่ิงเป็นสุขงานย่งิ ชกุ มันสมองยงิ่ ผอ่ งใส เมื่อทํางานไดเ้ สร็จสาํ เรจ็ ไป ก็สุขใจปลาบปลมื้ ลืมทกุ ขร์ ้อน” คนลกั ษณะอย่างนี้ จดั ว่ามีอปุ นิสัยอย่างไร ?ก. จรงิ ตอ่ หน้าที่ ข. จริงตอ่ การงาน ค. จรงิ ต่อเวลา ง. จรงิ ตอ่ ความดี๒๗. คาํ ว่า “มนษุ ยธรรม” หมายถึง ธรรมทท่ี ําใหเ้ ราเกดิ เป็นมนษุ ย์แลว้ กจ็ ะเปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบรู ณ์ มนษุ ยธรรมหมายถงึ ข้อใด ?ก. กัลยาณธรรม ๕ ข. ศีล ๕ ค. กุศลกรรมบถ ๑๐ ง. อบายมขุ ๖๒๘. การปฏิบตั ิตามเบญจศลี - เบญจธรรม คใู่ ดไม่สัมพันธก์ นั ?ก. อทินนาทาน – สมั มาอาชพี ข. ไมพ่ ดู เทจ็ – สจั จะค. ไม่เสพสุรายาเสพติด – มสี ติสัมปชญั ญะ ง. ของของใคร ใครกร็ กั กห็ วง – เมตตากรณุ า๒๙. การทนี่ ายสิบนักเรียนไมล่ ่วงละเมดิ ศีล ๕ โดยไม่ไดต้ ง้ั ใจไวก้ อ่ น จัดวา่ มีวิรัติในขอ้ ใด ?ก. สมั ปตั ตวริ ตั ิ ข. สมจุ เฉทวิรตั ิ ค. สมาทานวริ ตั ิ ง. มังสวริ ตั ิ๓๐. ใจมคี วามสมั พันธ์กับร่างกาย ถ้าใจคิดช่ัว ยอ่ มส่งผลถึงขอ้ ใด ?ก. ทําใหห้ มดสง่าราศี ข. ทําใหใ้ จเศรา้ หมองค. การกระทําและการพูดชัว่ ง. ทาํ ใหร้ า่ งกายซูบผอม๓๑. คําว่า “อยา่ ชงิ สุกกอ่ นห่าม” มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ?ก. เมตตากรณุ า ข. สมั มาอาชีวะ ค. ปากเปน็ เอกเลขเป็นโท ง. สํารวมในกาม๓๒. ขอ้ ใดไมจ่ ดั เปน็ องคข์ องการฆ่าสัตว์ ?ก. สตั วม์ ีชวี ิต ข. สัตวม์ ีเจา้ ของค. รูว้ ่าสัตวม์ ชี ีวิต ง. สตั วต์ ายเพราะความพยายามน้นั๓๓. “เพอื่ นมาเพราะน้ําใจมี เพือ่ นหนีเพราะนํ้าใจลด เพ่ือนหมดเพราะนํา้ ใจแหง้ ” คนมนี าํ้ ใจ คอื คนทปี่ ฏบิ ัติตามคณุ ธรรมขอ้ ใดก. การต้อนรบั แขก ข. เสยี สละแบง่ ปัน ค. มีนํ้าใจไมตรี ง. สงเคราะห์ชุมชน๓๔. คนทม่ี ีจิตใจคิดริษยา เมอื่ เห็นคนอืน่ ไดด้ ีมีสุข ควรจะแกด้ ว้ ยการปฏิบตั ิธรรมในขอ้ ใด ?
๑๐๓ก.เมตตา ข. กรณุ า ค. มุทิตา ง. อเุ บกขา๓๕. พระธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธเจา้ เมื่อจดั เปน็ ปิฎกได้ ๓ ปฎิ ก เรยี กว่า พระไตรปิฎก, เม่ือจดั เป็นพระธรรมขันธ์ได้ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ,์ เมือ่ จัดเป็นหนงึ่ เดยี วจะตรงกบั ขอ้ ใด ?ก. ความไมป่ ระมาท ข. อริยสจั ค. อริยมรรค ง. โพธิปกั ขิยธรรม๓๖. การร้จู ักสทิ ธิและหนา้ ทข่ี องตน กลา้ เผชิญกับความจริง ปฏิบัตติ ามคาํ แนะนาํ ของเจ้าหนา้ ท่ฝี า่ ยปกครองไม่ละเมดิ คําสง่ั เวรยามและกฎจราจร ไมเ่ ข้าขา้ งคนผดิ ไม่ประพฤติตนเป็นคนนอกกฎหมาย คอื วฒั นธรรมแขนงใด ?ก. คตธิ รรม ข. เนตธิ รรม ค. วตั ถธุ รรม ง. สหธรรม๓๗. คติธรรม คอื ขอ้ ใด ?ก. โบสถ์ ข. พระอรหันต์ ค. ความซือ่ สตั ย์ ง. เจดยี ์๓๘. การนัง่ ฟงั เทศน์ ลักษณะของมอื ควรจะอยูใ่ นลกั ษณะใด ?ก. วางไว้บนหน้าขาท้งั สอง ข. ประนมมือท้ังสองข้างอยู่ระดบั อกค. ยกมือประนมจรดหน้าผาก กม้ ศีรษะเลก็ นอ้ ย ง. วางมอื ท้ังสองให้แนบชดิ ตดิ ลาํ ตัว๓๙. เทยี นแพ - กรวยดอกไม้ ไมใ่ ช้ในกรณีใด ?ก. ขอขมาญาตผิ ู้ใหญ่ ข. ทาํ วตั รอุปัชฌาย์ค. ถวายราชสกั การะ รัชกาลท่ี ๙ ง. บชู าศพ - พระบรมรูปรชั กาลกอ่ น๔๐. สิง่ ใดต่อไปนี้ ใช้บูชาพระธรรมก. ดอกไม้ ข. ธปู ค. เทียน ง. พานพุ่ม๔๑. คาํ วา่ “สพั พะภะยะวนิ าสายะ” เปน็ ส่วนหนง่ึ ของคําอาราธนาอะไร ?ก. อาราธนาศีล ข. อาราธนาธรรม ค. อาราธนาพระปริตร ง. อาราธนาพระพทุ ธ๔๒. ในงานพิธที ําบญุ ผรู้ ่วมพิธเี ร่มิ ใสบ่ าตร เมื่อพระสงฆ์สวดบทใด ?ก. บทมงคลสตู ร ข. บทถวายพรพระ พาหุง...ค. บท ชะยนั โต... ง. บท อติ ิปิ โส ภะคะวา...๔๓. เมือ่ พระสงฆ์อนโุ มทนาถงึ บทวา่ “สัพพตี ิโย...” เจา้ ภาพควรปฏิบัติอยา่ งไร ?ก. เริม่ กรวดนํา้ ข. เทน้ํากรวดใหห้ มดแล้วประนมมือรบั พรค. รบั ประพรมน้าํ พระพุทธมนต์ ง. จุดเทยี นนํา้ มนต์๔๔. เครื่องสกั การะบนโต๊ะหมบู่ ูชา เฉพาะธูป ใช้บูชาส่งิ ใด ?ก. พระพทุ ธ ข. พระธรรม ค. พระสงฆ์ ง. พระรัตนตรัย๔๕. ในการประกอบพธิ ีทั้งงานมงคลและงานอวมงคล ควรตัง้ พระพุทธรูปบนโตะ๊ หมู่บูชาก่อี งค์ ?ก. ๑ องค์ ข. ๒ องค์ ค. ๓ องค์ ง. กี่องค์ก็ได้๔๖. กิงกรณีเยสุ ทักขตา ความขวนขวายในกิจของหมู่ เปน็ ข้อปฏบิ ัติของธรรมหมวดใด ?ก. พรหมวิหารธรรม ข. ฆราวาสธรรม ค. สาราณียธรรม ง. นาถกรณธรรม๔๗. สาธารณโภคี ได้มาแบง่ กนั กินแบ่งกันใช้ เปน็ ขอ้ ปฏบิ ัตขิ องธรรมหมวดใด ?ก. พรหมวิหารธรรม ข. ฆราวาสธรรม ค. สาราณียธรรม ง. นาถกรณธรรม
๑๐๔๔๘. ความม่นั คงของสังคมประเทศชาติ ขึน้ อยู่กบั ความสามคั คีของคนในชาติ ท่านคดิ วา่ อะไรเปน็ สาเหตุสําคญั ทีส่ ดุ ทีท่ ําใหค้ นในชาติขาดความสามัคคีก. ความเหน็ แก่ตวั ข. ความเห็นแกพ่ วกพ้อง ค. ความเหน็ ไม่เสมอกัน ง. ความทะเลาะววิ าท๔๙. อะไรคือสาเหตทุ ่ีทาํ ใหว้ ัฒนธรรมของชาติ เสื่อมสูญไปจากสงั คมก. ประชาชนขาดการศกึ ษาอบรมในวฒั นธรรมของตนเองข. วฒั นธรรมตะวันตกเขา้ มามอี ทิ ธพิ ลต่อวถิ ีชวี ิตของคนไทยค. การครอบงาํ ของลัทธอิ นื่ง. ถกู ทุกขอ้๕๐. ข้อใด คือคณุ ของพระพุทธศาสนาทเ่ี ห็นไดป้ ระจกั ษ์ก. ทาํ ใหผ้ นู้ ับถอื ครองตวั เองได้ ข. ทําใหผ้ นู้ บั ถอื เปน็ คนดีค. ทาํ ใหส้ ังคมสงบสขุ ง. ถกู ทุกข้อ -----------------------------------------เฉลย : ๑. ง ๒. ง ๓. ง. ๔. ก ๕. ข ๖. ง ๗. ข ๘. ค. ๙ ค. ๑๐. ค ๑๑. ง ๑๒. ง ๑๓. ง ๑๔. ง๑๕. ค ๑๖. ค. ๑๗. ค ๑๘. ง ๑๙. ข ๒๐. ข ๒๑. ข ๒๒. ง ๒๓. ก ๒๔. ข ๒๕. ข ๒๖. ข ๒๗. ข๒๘. ง ๒๙. ก ๓๐. ค ๓๑. ง ๓๒. ข ๓๓. ค ๓๔. ค ๓๕. ก ๓๖. ข ๓๗. ค ๓๘. ข ๓๙. ค ๔๐. ค๔๑. ค ๔๒.ข ๔๓. ข ๔๔. ก ๔๕. ก ๔๖. ง ๔๗. ค ๔๘. ค ๔๙. ง ๕๐. ง
๑๐๕คณะกรรมการตรวจชาํ ระตาํ รา
๑๐๖
๑๐๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111